D 2 FCF 6665922

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 14

โครงการ ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขัน
ทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลก
ระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็ นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของ
ประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่ วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจาก
สังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็ นปัญหา เช่น พฤติกรรมการ
บริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต
เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็ นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มี
องค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็ น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และ
ชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้ าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคให้แก่
ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็ นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่
สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทย
ห่างไกลโรค มีเป้ าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
ในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การ
ดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแล
ตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลัง
การตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำ
โครงการใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายได้รับความรู้และ
สามารถนำไปปฏิบัติ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะ
เสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะ
แทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง
3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพด้วย ๓ อ. ๒ ส.
4. เพื่อลดอัตราป่ วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

เป้ าหมาย
- เจ้าหน้าที่และ อสม.จำนวน ๒๔ คน
- กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จำนวน ๑๕๐ คน
- กลุ่มเสี่ยงที่ต้องติดตามต่อเนื่อง จำนวน ๔๐ คน

วิธีดำเนินการ
๑. ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจ
กลุ่มเป้ าหมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์
๒. สำรวจกลุ่มเป้ าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
๓. จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้าน
กลาง
๔. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม
๕. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้ าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดัน
โลหิตสูง
๖. จัดกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้ าหมายอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป
พร้อมแจ้งผลการคัดกรองให้กลุ่มเป้ าหมายทราบ
๗. สรุป จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และส่งต่อกลุ่มสงสัย
ป่ วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเข้าสู่ระบบส่อต่อของโรงพยาบาลปะนาเระ
๘. ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มที่เสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้าร่วมกิจกรรมปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
๙. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดัน
โลหิตสูง
๑๐. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

ระยะเวลาดำเนินการ
ตุลาคม ๒๕๕๙ – กันยายน ๒๕๖๐

งบประมาณและทรัพยากร
ขอรับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัด
ปัตตานี โดยมีรายละเอียดการทำกิจกรรมดังนี้

กิจกรรม รวมงบประมาณ
ที่ ชื่อกิจกรรม รายละเอียดกิจกรรมและการใช้งบประมาณ ทั้งหมด

๑ ตรวจคัดกรองโรคเบา -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑ มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๖๐๐ บาท


ห ว า น แ ล ะ ค ว า ม ดัน ๒๔ ชุด รวมเป็นเงิน ๖๐๐ บาท
โลหิตสูง
๒ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท ๙,๐๐๐ บาท
สุ ขภาพสำ หรั บกลุ่ ม จำนวน ๑๐๐ ชุด รวมเป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท
เสี่ยง -ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อๆละ ๔๐ บาท จำนวน ๑๐๐ ชุด
รวมเป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท
๓ ติดตามระดับน้ำตาลใน -ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๑,๘๐๐ บาท
เลือด ระดับความดัน ๒๐ ชุด เป็นเงิน ๑,๐๐๐ บาท
โลหิตของกลุ่มเสี่ยงที่ -ค่าอาหารกลางวัน ๑ มื้อๆละ ๔๐ บาท จำนวน ๒๐ ชุด
ได้รับการปรับเปลี่ยน รวมเป็นเงิน ๘๐๐ บาท
พฤติกรรมสุขภาพ และ
ประเมินผลโครงการ
รวมเป็ นเงินทั้งสิ้น ๑๑,๔๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นหนึ่งพันสี่ร้อยบาทถ้วน )
หมายเหตุ ถัวเฉลี่ยทุกรายการ

การประเมินผล
๑. จากทะเบียนการคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง กลุ่มอายุ ๓๕ ปี
ขึ้นไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง
๒. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๓อ.๒ส. ของโรง
พยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปี ละ ๑ ครั้ง
๒. ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน
๓. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
๔. อัตราป่ วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง

...............................................ผู้เขียนโครงการ
(.............................................)
............................................

………………………………….ผู้สนับสนุนโครงการ
(............................................)
……………………………………….

.................................................ผู้เห็นขอบโครงการ
(...............................................)
.............................................
.................................................ผู้อนุมัติโครงการ
(..............................................)
................................................

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลบ้านกลาง

เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการ “ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิต


สูง”
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลบ้านกลาง
ด้ว ย โ ร ง พ ย า บ า ล ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ตำ บ ล บ้า น ก ล า ง มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์จ ะ จัด ทำ แ ผ น
งาน/โครงการ/กิจกรรม “ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง” ในปี งบประมาณ 2560 โดย
ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง เป็ นเงิน 11,400 บาท โดยมี
รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

ส่วนที่ 1 : รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียด)


หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด
การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถี
ชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่
เจ็บป่ วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม
และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็ นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรม
การออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็ นต้น ดังนั้น การ
ดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็ นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และ
ทักษะที่จำเป็ น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม
กลุ่มประชากรเป้ าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และ
ชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็ นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิด
ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้ า
หมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้
กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค ซึ่งเป็ นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคน
ไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ.2 ส. เป็ นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรอง
ความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จึงได้จัดทำโครงการ
ใส่ใจสุขภาพ ห่างไกลโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เพื่อให้กลุ่มเป้ าหมายได้รับความรู้และสามารถนำ
ไปปฏิบัติ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

1. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยง
ของโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูง
2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของ
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
3. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพด้วย 3 อ.2 ส.
4. เพื่อเพื่อลดอัตราป่ วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน

2. วิธีดำเนินการ
1. ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านกลางและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้ า
หมาย และชี้แจงวัตถุประสงค์
2. สำรวจกลุ่มเป้ าหมายที่มีอยู่จริงในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
3. จัดทำโครงการเสนอและขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง
4. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่จัดกิจกรรม
5. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้ าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
6. จัดกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้ าหมายอายุ 35 ปี ขึ้นไป พร้อม
แจ้งผลการคัดกรองให้กลุ่มเป้ าหมายทราบ
7. สรุป จัดทำทะเบียนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และส่งต่อกลุ่มสงสัยป่ วยด้วย
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้าสู่ระบบส่งต่อของ รพ.ปะนาเระ
8. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มที่เสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพ
9. จัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
10. ติดตาม และประเมินผลการดำเนินโครงการ

3. ระยะเวลาดำเนินการ
ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560
4. สถานที่ดำเนินการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง
5. งบประมาณ
จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบ้านกลาง จำนวน 11,400 บาท รายละเอียด ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 24 ชุด เป็นเงิน 600 บาท

กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสำหรับกลุ่มเสี่ยง
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน 100 ชุด เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 40 บาท จำนวน 100 ชุด เป็นเงิน 4,000 บาท
กิจกรรมที่ 3 การติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บาท จำนวน เป็นเงิน 1,000 บาท
20 ชุด
- ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 40 บาท จำนวน 20 ชุด เป็นเงิน 800 บาท

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง
2. ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
4.อัตราป่ วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
7. สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
(ผู้เสนอฯ ลงรายละเอียด โดยในแต่ละข้อย่อยให้เลือกเพียง 1 รายการที่เป็ นรายการหลักสำหรับใช้ในการ
จำแนกประเภทเท่านั้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ อปท. บันทึกข้อมูลลงโปรแกรมกองทุนฯ เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว)

7.1 หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯ พ.ศ. 2557


ข้อ 7)
ชื่อหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน
...........................................................................................................................
/ 7.1.1 หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
 7.1.2 หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
 7.1.3 หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.
 7.1.4 หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
 7.1.5 กลุ่มหรือองค์กรประชาชน

7.2 ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันฯ พ.ศ. 2557 ข้อ 7)


/ 7.2.1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข [ข้อ
7(1)]
 7.2.2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
[ข้อ 7(2)]
 7.2.3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ [ข้อ 7(3)]
 7.2.4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]
 7.2.5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ [ข้อ 7(5)]

7.3 กลุ่มเป้ าหมายหลัก (ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้ องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)


 7.3.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
 7.3.2 กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
 7.3.3 กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
/ 7.3.4 กลุ่มวัยทำงาน
 7.3.5.1 กลุ่มผู้สูงอายุ
 7.3.5.2 กลุ่มผู้ป่ วยโรคเรื้อรัง
 7.3.6 กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
/ 7.3.7 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง

7.4 กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้ าหมายหลัก

 7.4.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
 7.4.1.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.1.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.1.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพก่อนคลอดและหลังคลอด
 7.4.1.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.1.5 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
 7.4.1.6 การคัดกรองและดูแลรักษามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
 7.4.1.7 การส่งสริมสุขภาพช่องปาก
 7.4.1.8 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................
 7.4.2 กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
 7.4.2.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.2.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
 7.4.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.2.5 การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและ
อารมณ์
 7.4.2.6 การส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้ องกันโรคตามวัย
 7.4.2.7 การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
 7.4.2.8 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................

 7.4.3 กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
 7.4.3.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.3.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.3.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
 7.4.3.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.3.5 การส่งสริมพัฒนาการตามวัย/กระบวนการเรียนรู้/ความฉลาดทางปัญญาและ
อารมณ์
 7.4.3.6 การส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้ องกันโรคตามวัย
 7.4.3.7 การป้ องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม
 7.4.3.8 การป้ องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์
 7.4.3.9 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................

 7.4.4 กลุ่มวัยทำงาน
 7.4.4.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
/ 7.4.4.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.4.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
/ 7.4.4.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.4.5 การส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงานและการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมใน
การทำงาน
 7.4.4.6 การส่งเสริมการดูแลสุขภาพจิตแก่กลุ่มวัยทำงาน
 7.4.4.7 การป้ องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์/การตั้งครรภ์ไม่พร้อม
 7.4.4.8 การป้ องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์
 7.4.4.9 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................
 7.4.5.1 กลุ่มผู้สูงอายุ
 7.4.5.1.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.5.1.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.5.1.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
 7.4.5.1.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.5.1.5 การส่งเสริมพัฒนาทักษะทางกายและใจ
 7.4.5.1.6 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า
 7.4.5.1.7 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อม
 7.4.5.1.8 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................

 7.4.5.2 กลุ่มผู้ป่ วยโรคเรื้อรัง


 7.4.5.2.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.5.2.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.5.2.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
 7.4.5.2.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.5.2.5 การคัดกรองและดูแลผู้ป่ วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 7.4.5.2.6 การคัดกรองและดูแลผู้ป่ วยโรคหัวใจ
 7.4.5.2.7 การคัดกรองและดูแลผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง
 7.4.5.2.8 การคัดกรองและดูแลผู้ป่ วยโรคมะเร็ง
 7.4.5.2.9 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................

 7.4.6 กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
 7.4.6.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.6.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.6.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
 7.4.6.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
 7.4.6.5 การส่งเสริมพัฒนาทักษะทางกายและใจ
 7.4.6.6 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า
 7.4.6.7 การคัดกรองและดูแลผู้มีภาวะข้อเข่าเสื่อม
 7.4.6.8 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................

 7.4.7 กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
 7.4.7.1 การสำรวจข้อมูลสุขภาพ การจัดทำทะเบียนและฐานข้อมูลสุขภาพ
 7.4.7.2 การตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสุขภาพ และการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยง
 7.4.7.3 การเยี่ยมติดตามดูแลสุขภาพ
/ 7.4.7.4 การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้
/ 7.4.7.5 การส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ
 7.4.7.6 อื่นๆ
(ระบุ) .................................................................................................................

ลงชื่อ ............................................................... ผู้เสนอแผน


งาน/โครงการ/กิจกรรม
(นายอัมราน เบ็ญอิสริยา)
ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน
วันที่-เดือน-พ.ศ. ................................................

ลงชื่อ.................................................................ผู้อนุมัติแผนงาน/
โครงการ
(................................................................................)
ตำแหน่ง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บ้านกลาง
วันที่-เดือน-พ.ศ...................................................
อนุมัติตามมติการประชุม ครั้งที่............./....................เมื่อวันที่............................
ส่วนที่ 2 : ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (สำหรับเจ้าหน้าที่ อปท. ที่ได้รับมอบหมายลงรายละเอียด)

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกัน
สุขภาพ...........................................................................
ครั้งที่ ........... / 25…………… เมื่อวันที่ ............................................ ผลการพิจารณาแผน
งาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
 อนุมัติงบประมาณ เพื่อสนับสนุนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จำนวน
.............................................. บาท
เพราะ
.........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
.........
 ไม่อนุมัติงบประมาณ เพื่อสนับสนุนแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
เพราะ
.........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
.........

หมายเหตุเพิ่มเติม (ถ้า
มี) ...................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...........
..............................................................................................................................................................................
...........

 ให้รายงานผลความสำเร็จของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแบบฟอร์ม (ส่วนที่ 3) ภายในวันที่


………………………………………………….........

ลงชื่อ ....................................................................
(นายนิอามะ แวมามะ)
ตำแหน่ง ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล
บ้านกลาง
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ส่วนที่ 3 : แบบรายงานผลการดำเนินแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุน
หลักประกันสุขภาพ (สำหรับผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ลงรายละเอียดเมื่อเสร็จสิ้นการ
ดำเนินงาน)

ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม “เข้าถึง เข้าใจ ดูแลผู้ป่ วยโรคเรื้อรัง”

1. ผลการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมชี้แจงโครงการ
- จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ รพ.สต.และ อสม.ในพื้นที่ จำนวนทั้งสิ้น 20
คน
กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง
และความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้ดูแลและอสม.
- จัดอบรมให้ความรู้แก่อสม.และผู้ดูแลจำนวนทั้งสิ้น 40 คน
กิจกรรมที่ 3 เยี่ยมบ้านผู้ป่ วยโรคเรื้อรังพร้อมผู้ดูแลที่ผ่านการคัดเลือก
- ออกเยี่ยมกลุ่มเป้ าหมายที่ต้องดูแลร่วมกับ อสม.และผู้ดูแล ที่ผ่านการคัดเลือก 4 ครั้ง/ปี

2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
 บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
 ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะ
..........................................................................................
..
.............................................................................................................................................................................
...........
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................................................. บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ................................................. บาท คิดเป็นร้อยละ
..............................
....
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ................................................. บาท คิดเป็นร้อยละ
..............................
...
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
 ไม่มี
 มี
ปัญหา/อุปสรรค
(ระบุ) ........................................................................................................................
.........
.............................................................................................................................................................................
...........
.............................................................................................................................................................................
...........
แนวทางการแก้ไข
(ระบุ) ......................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
...........
.............................................................................................................................................................................
...........

ลงชื่อ ......................................................................... ผู้รายงาน


(นายอัมราน เบ็ญอิสริยา)
ตำแหน่ง จพ.สาธารณสุขชำนาญงาน
วันที่-เดือน-พ.ศ. 30 กันยายน 2559

You might also like