Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

ตัวอย่างการวิเคราะห์

ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อน
ตัวอย่างการวิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยี

1. ระบบการทางานของเครื่องซักผ้าฝาหน้า
2. ระบบการทางานของกังหันนาชัยพัฒนา
3. ระบบเติมอากาศในการบาบัดนาเสีย
4. ระบบการทางานของโรงไฟฟ้าพลังนา
5. ระบบการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก
6. ระบบโรงงานผลิตกระดาษ
7. ระบบโรงงานผลิตแป้งมันสาปะหลัง
8. ระบบวิธีการตรวจนิฟตีหรือ NIFTY test
ระบบการทางานของเครื่องซักผ้าฝาหน้า

เครื่องซักผ้าแบบฝาหน้าสามารถทางานได้โดย
อั ต โนมั ติ มี ร ะบบซั ก และปั่ น หมาดในถั ง เดี ย ว ภายใน
เครื่องมีถัง 2 ชั้นติดตั้งอยู่ในแกนนอน ถังชั้นนอกเป็น
ถั ง ที่ อ ยู่ กั บ ที่ ท าหน้ า ที่ เ ก็ บ กั ก น้ า ถั ง ชั้ น ในท าหน้ า ที่
หมุนรอบแกนให้ผ้าเสียดสีกันและอุ้มน้าไว้ในขณะที่หมุน
ซักผ้า สามารถตั้งโปรแกรมการซักได้หลากหลาย และ
เครื่องสามารถคานวณปริมาณน้าที่จะใช้โดยอัติโนมัติให้
เหมาะสมกั บ ปริ ม าณผ้ า โดยเราเลื อ กชนิ ด ของผ้ า ที่
ต้องการซัก และยังสามารถซักน้าร้อนหรือน้าเย็นได้
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของเครื่องซักผ้าฝาหน้า

ตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process)


น้า ไฟฟ้า ผ้าที่ การหมุนรอบแกนทาให้ผ้า ผลผลิต (Output)
สกปรก ผงซักฟอก เสียดสีกัน การแช่น้ายา ผ้าที่สะอาด
น้ายาปรับผ้านุ่ม ปรับผ้านุ่ม การปั่นหมาด
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของเครื่องซักผ้าฝาหน้า

กระบวนการที่ 1
เซ็นเซอร์จะตรวจจับน้าหนักของเสื้อผ้าโดยอัตโนมัติ และเลือกระดับน้า

กระบวนการที่ 2
วาล์วน้าเปิดเพื่อให้น้าไหลเข้าตัวถังและช่องเก็บผงซักฟอก

ตัวป้อน กระบวนการที่ 3
น้า ไฟฟ้า ผ้าที่ มอเตอร์เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล
ผลผลิต
สกปรก ผงซักฟอก กระบวนการที่ 4
ผ้าที่สะอาด
ขับเคลื่อนเพลาและสายพานที่ติดกับตัวถัง ทาให้ถังซักหมุนตามเวลาที่กาหนด
น้ายาปรับผ้านุ่ม และเปิดท่อน้าทิ้ง ได้ผ้าที่ซักสะอาด
กระบวนการที่ 5
วาล์วเปิดน้าให้น้าไหลมาช่องเก็บน้ายาปรับผ้านุ่มและถังซัก เพื่อแช่ผ้าตามเวลา
ตามที่กาหนด
กระบวนการที่ 6
เปิดท่อน้าทิ้ง เมื่อน้าหมด มอเตอร์จะขับเคลื่อนตัวถัง เข้าสู่โปรแกรมปั่นหมาด
ตามเวลาที่กาหนด
ระบบการทางานของกังหันนาชัยพัฒนา

หลักการทางานของการบาบัดนาเสียด้วยกังหัน
นาชัยพัฒนา คือการนาน้าเสียที่ต้องการบาบัดวิดขึ้นไป
สาดกระจายให้เป็นฝอยในอากาศด้วยใบพัด ทาให้น้าเสีย
ผสมกับอากาศได้อย่างทั่วถึง ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจน
ในอากาศสามารถละลายเข้าไปในน้าเสียได้อย่างรวดเร็ว
เป็นผลให้ได้น้าสะอาดที่ผ่านการบาบัด แต่เมื่อ ทาการ
ตรวจสอบคุณภาพน้าแล้วพบว่าค่าคุณภาพน้าที่ผ่านการ
บาบัดยังไม่เป็นไปตามที่ต้องการ จะต้องมีการปรับปรุง
กระบวนการทางานของเครื่องกลเติมอากาศใหม่ ที่มา : https://techsauce.co/tech-and-biz/how-to-build-the-product-the-lesson-learned-from-
chaipattana/attachment/chaipattana-mechanic/
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของกังหันนาชัยพัฒนา

ตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output)


น้าเสียที่ต้องการ กังหันวิดน้าขึ้นไปสาด น้าสะอาดที่ผ่าน
บาบัด กระจายให้เป็นฝอยในอากาศ การบาบัด

ข้อมูลย้อนกลับ
(Feedback)
ผลการตรวจสอบคุณภาพน้า
วิเคราะห์ระบบย่อยของกังหันนาชัยพัฒนา
ระบบย่อยที่ 1
กระบวนการ ผลผลิต
ตัวป้อน เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานกลจาก
ไฟฟ้า มอเตอร์ พลังงานกล มอเตอร์

ข้อมูลย้อนกลับ
ความเร็วในการ
หมุนของมอเตอร์
ระบบย่อยที่ 2
ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต
พลังงานกลจาก มอเตอร์ขับเคลื่อนเฟือง ใบพัดของ
มอเตอร์ ให้ใบพัดหมุน กังหันน้าหมุน
ข้อมูลย้อนกลับ
ความเร็วในการ
หมุนของใบพัด
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของกังหันนาชัยพัฒนา
ข้อมูลย้อนกลับ
ผลการตรวจสอบคุณภาพน้า
กระบวนการ ผลผลิต
กังหันวิดน้าขึ้นไปสาดกระจายให้ น้าสะอาดที่ผ่าน
เป็นฝอยในอากาศ การบาบัด

ตัวป้อน กระบวนการที่ 2 ผลผลิต


พลังงานกล มอเตอร์ขับเคลื่อน ใบพัดของ
ตัวป้อน จากมอเตอร์ เฟืองให้ใบพัดหมุน กังหันน้าหมุน
น้าเสียที่ต้องการ
ข้อมูลย้อนกลับ
บาบัด ความเร็วในการหมุนของใบพัด

กระบวนการที่ 1 ผลผลิต
ตัวป้อน เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า พลังงานกล
ไฟฟ้า มอเตอร์ เป็นพลังงานกล จากมอเตอร์

ข้อมูลย้อนกลับ
ความเร็วในการหมุนของมอเตอร์
ระบบเติมอากาศในการบาบัดนาเสีย
กระบวนการทางาน (process) กระบวนการทางาน (process) ผลผลิต
1. น้าเสียไหลเข้าสู่บ่อเติมอากาศ (output)
2. เติมออกซิเจนลงไปในน้าด้วยเครื่องเติมอากาศ น้าที่ผ่านการ
ท าให้ เ กิ ด การผสมกั น ของตะกอนจุ ลิ น ทรี ย์ บาบัด มีค่า
ออกซิเจนที่ละลายในน้า และน้าเสีย มาตรฐานตรง
3. ส่ ง น้ าเสี ย จากบ่ อ เติ ม อากาศไปที่ บ่ อ บ่ ม เพื่ อ ตามค่าควบคุม
ตกตะกอน การระบายน้า
4. ส่ ง น้ าที่ แ ยกตะกอนจากบ่ อ บ่ ม ไปที่ บ่ อ เติ ม ทิ้ง ของกรม
คลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค ควบคุม
มลพิษ
กระทรวง
ตัวป้อน (input)
ทรัพยากร
น้าเสีย เติมอากาศ
ธรรมชาติและ
คลอรีน จุลินทรีย์
สิ่งแวดล้อม

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก http://www.pcd.go.th/info_serv/water_wt.html#


วิเคราะห์ระบบย่อยของระบบเติมอากาศในการบาบัดนาเสีย
กระบวนการ
ระบบย่อยที่ 1 เติมออกซิเจนลงไปในน้าด้วยเครื่องเติม ผลผลิต
ตัวป้อน น้าที่ผ่าน
อากาศ ทาให้เกิดการผสมกันของ
น้าเสีย จุลินทรีย์ กระบวนการเติม
ตะกอนจุลินทรีย์ ออกซิเจนที่ละลายใน
ออกซิเจน น้า และน้าเสีย (สระเติมอากาศ) อากาศ

ระบบย่อยที่ 2
ตัวป้อน ผลผลิต
กระบวนการ
น้าเสียที่ผ่าน น้าที่ผ่านการ
ตกตะกอนจุลินทรีย์ (บ่อบม)
กระบวนการเติม ตกตะกอน
อากาศ

ระบบย่อยที่ 3
ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต
น้าที่ผ่านการ เติมคลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค น้าที่ผ่านการฆ่าเชื้อโรค
ตกตะกอน (บ่อเติมคลอรีน) พร้อมปล่อยสู่
คลอรีน สิ่งแวดล้อม
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของระบบเติมอากาศในการบาบัดนาเสีย

กระบวนการที่ 1
ตัวป้อน เติมออกซิเจนลงไปในน้าด้วย ผลผลิต
น้าเสีย เติมอากาศ เครื่องเติมอากาศ ทาให้เกิดการ น้าที่ผ่าน
ผสมกันของตะกอนจุลินทรีย์ กระบวนการที่ 2
กระบวนการ
คลอรีน จุลินทรีย์ ออกซิเจนทีล่ ะลายในน้า และน้า ตกตะกอนจุลินทรีย์ (บ่อบม)
เติมอากาศ
เสีย (สระเติมอากาศ)

ผลผลิต (Output)
กระบวนการที่ 3 ผลผลิต
ข้อมูลย้อนกลับ น้าที่ผ่านการบาบัด มีค่า
เติมคลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อโรค น้าที่ผ่านการ
ผลการตรวจสอบ มาตรฐานตรงตามค่า (บ่อเติมคลอรีน) ตกตะกอน
คุณภาพน้า ควบคุมการระบายน้าทิ้ง

ตัวป้อน
คลอรีน
ระบบการทางานของโรงไฟฟ้าพลังนา
ไฟฟ้าพลังนา คือ ไฟฟ้าที่เกิดจากพลังน้า โดยใช้พลังงานจลน์ของน้าซึ่ง
เกิดจากการปล่อยน้าจากที่สูงหรือการไหลของน้า หรือการขึ้น -ลงของคลื่น
ไปหมุนกังหันน้า (Turbine) และเครื่องกาเนิดไฟฟ้า โดยพลังงานที่ได้จาก
ไฟฟ้ า พลั ง น้ านี้ ขึ้ น อยู่ กั บ ปริ ม าณน้ า ความแตกต่ า งของระดั บ น้ า และ
ประสิทธิภาพของกังหันน้าและเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
หลักการทางาน
1. สร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้า ให้มีระดับน้าสูงกว่าระดับของโรงไฟฟ้า
2. ปล่ อ ยน้ าไปตามท่ อ ส่ ง น้ า เพื่ อ ไปยั ง โรงไฟฟ้ า ที่ อ ยู่ ต่ ากว่ า เกิ ด
พลังงานจลน์
3. พลังงานจลน์ไปหมุนกังหันน้าได้พลังงานกลออกมา
4. พลังงานกลที่ได้ไปเหนี่ยวนาเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ผลิตพลังไฟฟ้าที่มี
กระแสสูงและความต่างศักย์ต่า
5. ไฟฟ้ากระแสสูง ความต่างศักย์ต่าจะถูกเปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสต่า
ความต่างศักย์สูงด้วยหม้อแปลงไฟฟ้า
6. ไฟฟ้ากระแสต่า ความต่างศักย์สูงจะถูกส่งต่อไปสายส่งไฟฟ้า ที่มา : http://www.reca.or.th/library-hydro-power.aspx
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของโรงไฟฟ้าพลังนา
ระบบทางเทคโนโลยีของโรงไฟฟ้าพลังนา

กระบวนการ (Process)
พลังงานจลน์ของน้าที่เกิด
ตัวป้อน (Input) จากการปล่อยน้าหรือการ ผลผลิต (Output)
น้าที่มีพลังงานจลน์ ไหลของน้าจากที่สูงลงสู่ที่ พลังงานไฟฟ้า
ต่าไปหมุนกังหันน้า และ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
ปริมาณน้า ความแตกต่างของ
ระดับน้า ประสิทธิภาพของกังหัน
น้าและเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของโรงไฟฟ้าพลังนา
กังหันน้า ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานจลน์เป็นพลังงานกล เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็น
พลังงานไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสูง ความต่างศักย์ต่า

ตัวป้อน กระบวนการที่ 1 กระบวนการที่ 2


ผลผลิต
พลังงานจลน์ของน้าที่เกิดจากการ พลังงานจลน์ไปหมุน พลังงานกล
พลังงานกลไปหมุน
ปล่อยน้าจากที่สูงลงสู่ที่ต่า ใบพัดของกังหันน้า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า

ข้อมูลย้อนกลับ
ปริมาณน้า ความ ผลผลิต กระบวนการที่ 3 ผลผลิต
แตกต่างของระดับน้า ไฟฟ้ากระแสต่า แปลงไฟฟ้ากระแสสูงและ ไฟฟ้ากระแสสูง
ความต่างศักย์ต่า ความต่างศักย์ต่า
ประสิทธิภาพของกังหัน ความต่างศักย์สูง
น้า และเครื่องกาเนิด
ไฟฟ้า
หม้อแปลงไฟฟ้า ทาหน้าที่เปลี่ยนไฟฟ้ากระแสสูง
ความต่างศักย์ต่า เป็นไฟฟ้ากระแสต่า ความต่างศักย์สูง
ระบบการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก
การฉีดขึนรูป (Injection Molding)
อุ ต สาหกรรมพลาสติ ก เป็ น อุ ต สาหกรรม
หนึ่งที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากปจจุบันการใช
ชีวิตประจาวันของมนุษย์เกี่ยวของกับสินคาอุปโภค
และบริโภค ที่มีการใช้ผลิตภัณฑ์จากพลาสติกทั้ง
ทางตรงและทางอ อม การผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์
พลาสติกจะนาเม็ดพลาสติกมาแปรรูปในรูปแบบ
ต่าง ๆ ซึ่ง กระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกมี
หลายประเภทโดยกระบวนการผลิตหลักที่ ใช้ได้แก่
การผลิตแผ่นฟิล์ม (Film extrusion) การเป่าขึ้น
รูป (Blow Molding) การฉีดขึ้นรูป (Injection
Molding) แ ล ะ ก า ร ขึ้ น รู ป ด้ ว ย ค ว า ม ร้ อ น
(Thermoforming)
ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.pjw.co.th/molding.php
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก

กระบวนการ (Process)
ให้ความร้อนแก่เม็ดพลาสติกจนเม็ด ผลผลิต (Output)
ตัวป้อน (Input)
พลาสติกละลาย จากนั้นใส่ลงไปในแม่พิมพ์ พลาสติกที่มีรูปร่างตาม
เม็ดพลาสติก สีผสม
รอจนพลาสติกเย็นตัว แล้วนาออกจาก ต้องการ
แม่พิมพ์ออก

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
ความร้อนที่ให้แก่เม็ดพลาสติก
ปริมาณพลาสติกที่ใส่ลงในแม่พิมพ์
ระยะเวลาในการขึ้นรูป
ความสะอาดของแม่พิมพ์
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก
กระบวนการ (Process)
1. นาเม็ดพลาสติกและสีมาชั่งน้าหนักตามสัดส่วนที่กาหนด แล้วนาเข้าสู่
เครื่องอบเม็ดพลาสติก เพื่อโม่ผสมเม็ดพลาสติกกับสี

ผลผลิต
ตัวป้อน 2. นาเม็ดพลาสติกที่ได้เข้าเครื่องอัดรีดหรือหลอม โดยมีอุณหภูมิในการหลอม
พลาสติกที่มีรูปร่าง
เม็ดพลาสติก สีผสม เท่ากับประเภทของพลาสติก
ตามต้องการ
3. พลาสติกที่หลอมแล้วนาเข้าสู่แม่พิมพ์ที่มีรูปร่างตามต้องการ เพื่อขึ้นรูป

4. ถอดแม่พิมพ์ออกเมื่อพลาสติกแข็งตัว เพื่อให้ได้ชิ้นงานออกมา

ข้อมูลย้อนกลับ
ความร้อนที่ให้แก่เม็ดพลาสติก
ปริมาณพลาสติกที่ใส่ลงในแม่พิมพ์
ระยะเวลาในการขึ้นรูป
ความสะอาดของแม่พิมพ์
ระบบทางเทคโนโลยีของโรงงานผลิตกระดาษ

การผลิตกระดาษนั้นจะเริ่มกระบวนการตั้งแต่การนาไม้
ไปสับ และบดละเอียดเพื่อให้ได้เส้นใยออกมา แล้วจึงนา
เยื่อ ที่ได้ไปผสมกับ สารเติมแต่งในอั ต ราส่วนต่าง ๆ เพื่ อ
ปรับสมบัติกระดาษให้ได้ตรงความต้องการใช้งาน จากนั้น
นาไปขึ้นรูปเป็นแผ่น

ที่มา : http://www.engineerfriend.com/
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของโรงงานผลิตกระดาษ

ตัวป้อน (Input)
ผลผลิต (Output)
ไม้ น้า ความร้อน กระบวนการ (Process)
กระดาษที่มีรูปร่าง
สารเคมี (สารฟอกขาว สับไม้ให้ละเอียด ต้มเยื่อ ตีเยื่อ รีดน้า
ลักษณะและขนาดตาม
คลอรีนไดออกไซด์) ขึ้นรูป ปรับปรุง และตัดแผ่นกระดาษที่ได้
ต้องการ
แก๊สออกซิเจน

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
สีและความสว่างของเยื่อกระดาษ
ที่ต้องการ
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของโรงงานผลิตกระดาษ
กระบวนการ (Process)
ตัวป้อน
ไม้ น้า ความร้อน 1. ตัดไม้เป็นท่อน ๆ แล้วลอกเปลือกออก จากนั้น
ทาความสะอาด สับเป็นชิ้น ๆ ผลผลิต
สารเคมี
(สารฟอกขาว 2. ต้มชิ้นไม้ที่ได้กับสารฟอกขาวเพื่อกาจัดสีของเนื้อไม้
กระดาษที่มีรูปร่าง
คลอรีนไดออกไซด์) ที่อุณหภูมิประมาณ 155 °C เป็นเวลา 4-5 ชั่วโมง ลักษณะและขนาด
แก๊สออกซิเจน
ได้เยื่อกระดาษออกมา ตามต้องการ
3. นาเยื่อกระดาษที่ได้มาฟอกขาวอีกรอบด้วยแก๊ส
ออกซิเจน คลอรีนไดออกไซด์ และน้า ได้เยื่อกระดาษที่มี
ความสว่าง 90 %
4. นาเยื่อที่ได้มาตีเยื่อให้เยื่อมีความสม่าเสมอ เพื่อนาไป
บดให้เป็นเส้นใย
5. นาเยื่อน้าที่ได้ปล่อยลงในสายพานที่มีตะแกรงเพื่อแยก
น้าออก และมีลูกกลิ้งร้อนรีดน้าและขึ้นรูปกระดาษให้เป็นแผ่น
ข้อมูลย้อนกลับ
6. ตัดแต่งกระดาษที่แห้งได้ตามต้องการ
สีและความสว่างของ
ที่มา : ดัดแปลงจากกบนอกกะลา REPLAY : กระดาษไม่มีวันตาย (1)
เยื่อกระดาษที่ต้องการ
ระบบทางเทคโนโลยีของโรงงานผลิตแป้งมันสาปะหลัง

ขั้นตอนในการผลิตแป้งมันสาปะหลังมีหลายขั้นตอน
ด้วยกัน เริ่มจากนาหัวมันสาปะหลังไปวัดเปอร์เซ็นต์ของแป้ง
ที่มีในหัวมัน จากนั้นนาหัวมันสดเข้าสู่เครื่องร่อนเปลือก ดิน
ทราย ลาเลี ย งเข้ า สู่เครื่ องล้ างเพื่ อท าความสะอาดหั ว มั น
และเข้ า เครื่ อ งโม่ หั ว มั น ให้ มี ลั ก ษณะเป็ น ขุ ย แล้ ว ส่ ง เข้ า
เครื่องสกัดแยกเอากากและน้าแป้งออกจากกัน น้าแป้งที่ได้
นามาผ่านกระบวนการทาน้าแป้งให้บริสุทธิ์ ด้วยเครื่องแยก
เหวี่ ย งแยกเอาสิ่ ง เจื อ ปน (กากอ่ อ น) ออกจากน้ าแป้ ง
น้าแป้งที่ได้จะนาไปผ่านเครื่องสกัดเหวี่ยงแยกน้าออกก่อน ที่มา : http://www.sapthip.com/products-services/production/

เข้าสู่เครื่องอบแห้งได้เป็นผงแป้งมันบริสุทธิ์
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของโรงงานผลิตแป้งมันสาปะหลัง

กระบวนการ (Process)
ตัวป้อน (Input) ทาความสะอาดหัวมัน และนามาร่อนเปลือก ผลผลิต (Output)
มันสาปะหลัง น้า ดิน ทรายออก จากนั้นนาเข้าสู่เครื่องโม่ แป้งมันสาปะหลัง
สกัดแยกเอากากและน้าแป้งออกจากกัน
น้าแป้งที่ได้นามาทาแห้ง

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
เปอร์เซ็นต์ของแป้งที่มีในหัวมัน
สิ่งเจือปนในแป้ง
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของโรงงานผลิตแป้งมันสาปะหลัง

ข้อมูลย้อนกลับ หมายเหตุ - ข้อมูลย้อนกลับสิ่งเจือปนในแป้งจะต้องทาการตรวจสอบทุกขั้นตอน


เปอร์เซ็นต์ของแป้งที่มีในหัวมัน - ผลผลิตในแต่ละกระบวนการจะเป็นตัวป้อนในกระบวนการถัดไป

กระบวนการที่ 1 ผลผลิต กระบวนการที่ 2 ผลผลิต


ตัวป้อน วัดเปอร์เซ็นต์ของแป้งทีม่ ี มันสาปะหลังที่ ร่อนเปลือกมัน ดิน หัวมันที่ไม่มีสิ่ง
มันสาปะหลัง น้า ในหัวมัน ผ่านเกณฑ์ ทรายออก ปนเปื้อน
ข้อมูลย้อนกลับ
สิ่งเจือปนในแป้ง
กระบวนการที่ 5 กระบวนการที่ 4 กระบวนการที่ 3
ผลผลิต ผลผลิต
สกัดแยกกากและน้า โม่หัวมัน ให้มี ล้างเพื่อทาความ
น้าแป้ง หัวมันที่สะอาด
แป้งออกจากกัน ลักษณะเป็นขุย สะอาดหัวมัน

ผลผลิต กระบวนการที่ 6 ผลผลิต กระบวนการที่ 7 ผลผลิต (Output)


น้าแป้ง และ อบแห้ง
เหวี่ยงแยกน้าออก แป้งที่เปียก แป้งมันบริสุทธิ์
กากของเสีย
ระบบทางเทคโนโลยีของวิธีการตรวจนิฟตีหรือ NIFTY test

การตรวจนิฟตี้ หรือ NIFTY test คือวิธีการตรวจกรองหา


ลักษณะความผิดปกติของโครโมโซมทารกในครรภ์มารดาโดยไม่
ต้องเจาะน้าคร่าเพียงเจาะเลือดคุณแม่ 10 มิลลิลิตร ก็สามารถ
ตรวจลักษณะทางพันธุกรรมของลูกได้ โดยคุณแม่สามารถเข้ารับ
การตรวจได้ เ มื่ อ มี อ ายุ ค รรภ์ ตั้ ง แต่ 10 สั ป ดาห์ ขึ้ น ไป ซึ่ ง ใน
ระหว่างการตั้ งครรภ์ รกจะปล่อ ยชิ้นส่ว นของดี เ อ็ นเอปริมาณ
เล็กน้อยปนมาในกระแสเลือดของคุณแม่ ทาให้ตัวอย่างเลือดของ
คุ ณ แม่ มี ทั้ ง ดี เ อ็ น เอของจากรกคุ ณ แม่ อ ยู่ ร วมกั น โดยท าการ
วิเคราะห์ปริมาณชิ้นส่วนดี เอ็นเอของรกในกระแสเลือ ดมารดา
เพื่อตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม คู่ที่ 21 18 และ 13
และนอกจากนี้ยังสามารถตรวจความผิด ปกติ อื่ น ๆ ได้ อี ก เช่ น
ที่มา : https://www.bumrungrad.com/th/treatments/non-invasive-prenatal-
ความผิดปกติของโครโมโซมเพศ screening-nipt
วิเคราะห์ระบบทางเทคโนโลยีของวิธีการตรวจนิฟตีหรือ NIFTY test

กระบวนการ (Process)
วิเคราะห์ปริมาณชิ้นส่วนดีเอ็นเอของรกในกระแส
เลือด ด้วยเทคนิค Verifi prenatal test เป็นการนา ผลผลิต (Output)
ตัวป้อน (Input) เลือดคุณแม่มาตรวจวิเคราะห์สารพันธุกรรมดีเอ็นเอ ผลตรวจความผิดปกติ
เลือด ของทารกที่ปล่อยสู่กระแสเลือดแม่ โดยใช้เทคโนโลยี ของโครโมโซม
การหาลาดับเบสของดีเอ็นเอ และการวิเคราะห์ คู่ที่ 21 18 และ 13
โครโมโซมเพื่อตรวจหาภาวะการขาด หรือเกินของ
โครโมโซมทารก

ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback)
ปริมาณดีเอ็นเอของรกที่อยู่ใน
เลือด อายุครรภ์
ระบบทางเทคโนโลยีที่ซับซ้อนของวิธีการตรวจนิฟตีหรือ NIFTY test

กระบวนการ (Process)

1. เจาะเลือดปริมาณ 10 มิลลิลิตร
ผลผลิต
ตัวป้อน ผลตรวจความ
เลือด 2. ส่งเลือดวิเคราะห์ด้วยเทคนิค Verifi prenatal test (การตรวจคัดกรอง
ความผิดปกติของโครโมโซมทารกในครรภ์) โดยใช้วิธีการหาลาดับเบสของ ผิดปกติของ
ดีเอ็นเอ และการวิเคราะห์โครโมโซม โครโมโซม คู่ที่ 21
18 และ 13
3. ผลตรวจลาดับดีเอ็นเอ และโครโมโซม

ข้อมูลย้อนกลับ
ปริมาณดีเอ็นเอของรกที่อยู่ในเลือด
อายุครรภ์

You might also like