00be8a42 Solar Rooftop Revolution A Green and Just Recovery For Thailand 2021 2023

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 60

ปฎิวัติ

พลังงานบนหลังคา

ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรม
ผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)
Solar Rooftop Revolution : A Green and Just Recovery for Thailand 2021-2023
รายงานปฎิวัติพลังงานบนหลังคา
ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรม
ผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (ปี 2564-2566)
Thailand Solar Rooftop Revolution
for Green and Just Economic Recovery 2021-2023

คณะวิจัย
ดร.เดชรัต สุขก�ำเนิด มูลนิธินโยบายสุขภาวะ
รศ.ดร.ชาลี เจริญลาภนพรัตน์ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผศ.ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผศ.ประสาท มีแต้ม กองทุนแสงอาทิตย์
ศุภกิจ นันทะวรการ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ
อิฐบูรณ์ อ้นวงษา อนุกรรมการด้านพลังงาน คณะกรรมการองค์การอิสระ
เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค ภาคประชาชน
ทีมสนับสนุนข้อมูล
ธีรภัทร เขมะธีรรัตน์, บุญยืน ศิริธรรม, รสนา โตสิสกุล, ดร.สมพร ช่วยอารีย์, สารี อ๋องสมหวัง

บรรณาธิการ
ดร.เดชรัต สุขก�ำเนิด, ธารา บัวค�ำศรี, จริยา เสนพงศ์

กองบรรณาธิการ
กรวรรณ บัวดอกตูม, วริษา สี่หิรัญวงศ์, ศุภางค์ จตุจินดา, สมฤดี ปานะศุทธะ

ออกแบบรูปเล่ม / ภาพ
รตยา อยู่บ้านคลอง

ออกแบบกราฟฟิค
อสมาภรณ์ ขุนจันทร์

จัดท�ำโดย กองทุนแสงอาทิตย์, สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ และกรีนพีซ ประเทศไทย

กรกฎาคม 2563
July 2020

ภาพปก© Greenpeace / Arnaud Vittet


สารบัญ
Executive Summary
4
บทคัดย่อภาษาไทย

18 บทที่ 1 พัฒนาการของโซลาร์เซลล์และรูฟท็อปทั่วโลก

22 บทที่ 2 พัฒนาการของการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ในประเทศไทย

28 บทที่ 3 ปัญหาของการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้ง
บนหลังคา (Solar PV Rooftop) ในประเทศไทย

34 บทที่ 4 ความแตกต่างระหว่างระบบหักลบยอดบิล
กับระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า
38 บทที่ 5 โซลาร์รูฟท็อปกับความมั่นคงของระบบไฟฟ้า

42 บทที่ 6 ระบบการสนับสนุนทางการเงินส�ำหรับโซลาร์รูฟท็อป

46 บทที่ 7 ต้นทุนแฝงของโซลาร์รูฟท็อป: แพงจริงหรือไม่?

50 บทที่ 8 การจัดการกับแผงโซลาร์เซลล์ในช่วงปลายอายุการใช้งาน

54 บทที่ 9 ข้อเสนอและเป้าหมายเชิงนโยบาย

© เริงชัย คงเมือง / กรีนพีซ


EXECUTIVE
SUMMARY
By the end of 2018, the total number
of solar panels installed worldwide produced
500,000 megawatts (MW) of electricity, a 24%
increase from the previous year. This number,
however, was only 2.6% of the total electricity
consumed worldwide that year.
The three countries with the highest
proportion of electricity generated from solar
panels in 2018 are Honduras (14.0%), Germany
(7.9%), and Greece (7.5%). Thailand ranks lower
than the average world rate, at only 2.3%.
What is more concerning is that more
than 90% of solar power installations in
Thailand are large-scale solar farms instead
of solar rooftops on households. This is true
despite technology advancements giving
consumers the ability to produce electricity
in their rooftops. Besides helping homeowners
minimise the cost of electricity bills, solar
rooftop electricity can also become a means
of income through sales, turning consumers
into prosumers.
The most viable policy solution to support
installing solar panels is using the 'Net metering'
system. This simple method requires the least
amount of investment and cuts the need to buy
additional meters, equipment to prevent reflux,
or install batteries.
Net metering is an electricity billing
mechanism that allows the flow of electricity
produced from the solar cells into the transmission
© เริงชัย คงเมือง / กรีนพีซ

line during the day when most house owners


are not home. Electricity from the transmission
line can flow back into the house during the
night when the owners are back home. The
net usage is then calculated monthly as per
the meter reading.

4 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


Many countries, wealthy and poor, low-income households in the long run.
like the European Union, Australia, the United It will also add 1,500 MW installed
States, Canada, India, Pakistan, and Kenya, capacity into the system at an investment of
have widely adopted the net metering policy. 60,000 million baht. The 10,403 million baht
However, Thailand is yet to build a favourable these households will save per year will result
policy environment for it. Although Thailand in the return of investment within 5.77 years.
has promoted household solar power for more
than a decade, the installation challenges have Scheme 2: Installation of solar rooftop
caused delays in the progress of solar rooftop panels in state hospitals
systems. T h i s s c h e m e p ro p o s e s t h a t t h e
This report emphasises the need for a g ove r n m e n t i nve s t i n t h e i n s t a l l a t i o n
net metering system in Thailand, with the aim of solar systems on state hospitals' rooftops,
of installing a 3,000-MW solar rooftop system in three size categories:
within three years, followed by analyses of 1,000 kW for approximately 120 large-
far-reaching economic, social, and environmental size hospitals at a total investment of 3,600
benefits. It will also address the concerns million baht. This will help the hospitals save
regarding solar rooftop systems and suggest electricity costs of 6,935,000 baht per year
solutions to enhance the security of power per hospital.
systems, electricity costs, and the management 100 kW for approximately 800 district
of expired solar panels. hospitals at a total investment of 2,400 million
baht. This will help the hospitals save electricity
Policy Proposal costs of 693,500 baht per year per hospital.
5 kW for approximately 7,250 sub-
The policy proposal in this report focuses district health promotion hospitals at a total
on using the net metering system to buy investment of 1,450 million baht. This will help
solar-generated electricity from households the hospitals save electricity costs of 34,675
with installed solar rooftop systems, making baht per year per hospital.
them the producers and consumers of electricity Overall, this scheme will help 8,170
at the same time. hospitals increase the installed capacity of
Besides, this report proposes three 236 MW at a total investment of 7,450 million
essential schemes to drive the policy: baht, and will help the hospitals save a total
of 1,638 million baht per year with a return of
Scheme 1: Installation of solar rooftop investment within 4.55 years
system of one million households
This scheme proposes that the govern- Scheme 3: Installation of solar rooftop
ment invest in solar panel systems for power panels in schools
generation for one million households in three This scheme proposes that the government
years. Such an investment would generate invest in the installation of solar systems on
1.5 kilowatts (kW) of electricity at the cost of schools' rooftops, in four size categories:
60,000 baht per household.
This scheme will enable each household (1) 100 kW for approximately 720
to produce approximately 225 units of electricity extra-large-size schools at a total investment
at a value of 855 baht per month. The remaining of 2,160 million baht. This will help the schools
electricity (after use) can be sold back to the save electricity costs and earn an income at
electrical system, producing extra income for a total of 693,500 baht per year per school.

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 5


(2) 100 kW for approximately 1,982
large-size schools at a total investment of 5,946
million baht. This will help the schools save
electricity costs and earn an income at a total
of 693,500 baht per year per school.
(3) 30 kW for approximately 12,933
medium-size schools at a total investment of
11,640 million baht. This will help the schools
save electricity costs and earn an income at a
total of 208,050 baht per year per school.
4) 5 kW for approximately 15,368
small-size schools at a total investment of 3,077
million baht. This will help the schools save
electricity costs and earn an income at a total
of 34,675 baht per year per school.

This scheme will help 31,021 schools


increase the installed capacity by 735.12 MW
at an investment of 22,823 million baht. It will
help the schools save the budgets and earn
additional income at a total of 5,098 million
baht per year with a return of investment
within 4.48 years.

The cumulative total installed capacities


of all three schemes will be 2,778 MW with
an investment of 98,859 million baht in three
years. Moreover, electricity costs worth 18,628
million baht per year will be saved with additional
incomes for households, hospitals, and schools
with a payback period of 5.31 years. Over a
25 year timeframe, the benefits to the public
generated by the three schemes will amount
to 465,689 million baht.

When combined with the fourth scheme,


the installation of approximately 222 MW of solar
rooftop systems will increase the production
capacity by 3,000 MW. This can be achieved In
© เริงชัย คงเมือง / กรีนพีซ

three years, using 74,000 households at 3 kW


each as well as the net metering system.

6 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


Social and environmental benefits

The installation of rooftop solar systems is expected


to deploy 38,333 people for the installation work for over
three years, and 15,000 people will get maintenance jobs.
Together, these installations will create more than 50,000
jobs.
From an environmental perspective, the solar
rooftop systems will help reduce electricity generated by
natural gas power plants and greenhouse gas emissions
by approximately 1.48 million tonnes per year. In the
scenario that Thailand uses coal for power generation,
the installation of solar rooftop systems will offset
4.52 million tonnes of greenhouse gas per year. Such a
reduction of carbon dioxide, when compared to electricity
produced from natural gas, is equivalent to the absorption
capacity of one million rais (395,368.61 acres) of forest
areas with multipurpose plants (at 100 plants per rai
and 1.47 tonnes per rai per year of carbon dioxide
absorption rate).
If compared to electricity produced from coal, the
installation of solar rooftop systems will offset carbon
dioxide equivalent to the absorption capacity of 3 million
rais of forest areas with multipurpose plants. Additionally,
the electricity generated by solar rooftop systems will also
offset 804 tonnes of nitrogen oxides (NOx) emissions per
year that electricity production from natural gas would
emit. Similarly, in the scenario that Thailand uses coal for
electricity production, the installation of solar rooftop
systems will offset 10,098 tonnes of NOx per year.

Management of the security in electrical


systems over the next three years

As of October 2019, the total power generation


in Thailand is 44,443 MW, whereas the peak power
demand for the year 2019 is 30,853 MW. This means
that the country still has a reserve of 13,590 MW
electricity generating capacity. This reserve capacity is
44% of the peak power demand, which is 29% or 8,962
MW more than the recommended standard reserve of

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 7


15%. These backup power plants can, therefore, The EGAT manages the fluctuation of about
help produce enough electricity for years to 10,000 MW of electricity usage every week.
come.
Currently, the construction of a large-scale
power plant is ongoing. According to the Power
Development Plan 2018 (PDP 2018), the Thai
government will build seven more plants in
the next five years (2020-2024). These plants
include natural gas power plants as well as a
large hydropower dam in Lao PDR, increasing
the electricity generation capacity by 7,600
MW.
Since the beginning, the Electricity
Generating Authority of Thailand (EGAT),
together with the Metropolitan Electricity
• A decrease of 6,700 MW of electricity usage
Authority (MEA) and the Provincial Electricity
during 21.00 hrs. of Sunday 15 September until
Authority (PEA), has been responsible for the 4.00 hrs. of Monday 16 September
operations and management of the production • An increase of 7,200 MW of electricity usage
and power transmission lines. during 4.00 hrs. of Monday 16 September until
According to their data, the difference 11.00 hrs.
in electricity usage during Saturdays-Sundays • An additional increase of 2,000 MW of electricity
(weekends) vs. Mondays-Fridays (weekdays) usage during 11.00 hrs. - 19.00 hrs.

amounts to several thousand MW less.


In particular, during the early hours of
Sunday evening until the dawn of Monday,
electricity usage is significantly reduced. As
shown in the graph, a reduced electricity usage
of approximately 6,700 MW occurs during
21.00 hrs. - 04.00 hrs.
© Greenpeace / Arnaud Vittet

8 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


On Monday mornings, during 4.00 hrs. - Solution 3: To adjust the electricity rates as
11.00 hrs., there is a rapid increase in electricity per the Time of Use (TOU), making the rates
usage by about 7,200 MW. The fluctuations cheaper during the day and more expensive
continue with an additional increase of around during the night. This will be relevant, especially
2,000 MW after 11.00 hrs until 19.00 hrs. when in the early evenings, which should have the
the peak is reached. most expensive rate. Under this scheme, large
power users, as well as other groups of users,
All three electricity authorities (EGAT, will be able to adjust their electricity usage
MEA, and PEA) have been managing the appropriately according to the TOU. To proceed
fluctuations in the power consumption, which with this, the government may introduce a
requires management in the production 'voluntary experimental electricity charge system'
and the transmission line systems of about and make it mandatory at the right time.
10,000 MW every week. Hence, it is expected Solution 4: Is to design and manage electric
that the management of the reduction and vehicles in such a way as to respond to electrical
increase of 3,000 MW solar-generated electricity system security. Upon returning to their
in the next three years will not pose any homes in early evenings or at night, the electric
additional challenges to the security of the vehicles will be able to plug into the electrical
electrical systems. system and supply the remaining electricity
for use in the houses from the batteries. This
Building long-term electrical system can be done by developing an application
security technology that will enable the electricity transfer
from the electric vehicles to homes or sell to the
This report proposes two groups of electrical system. This will enhance the stability
solutions regarding the concerns about the and security of the electrical system during
operations in the case of increased solar-gen- the peak hours from evening until late at night
erated electricity, i.e., of more than 5,000 MW. when the power demand decreases and is good
for charging electric car batteries again. With
1) Security in the national transmission such management, the more electric vehicles
system we have, the more security in the electricity
Solution 1: To manage the power plants that system in the evenings.
are flexible to be more efficient. Pumped- Solution 5: Is storing electrical power in
storage hydropower plants, biogas power batteries by either investing in small batteries
plants and small hydropower plants can increase in households or buildings or investing in large
or reduce the power generation without batteries at the power transmission line level
additional costs. Their systems could be while the costs of storing electric power in
repurposed, with some incentives to enable batteries are continuously decreasing.
reduction or pauses in production when there Solution 6: It stores electrical energy in cold
is solar power and to increase the production or heat forms, which has a lower cost of power
during the evening and night times. storage than in a battery. For example, keeping
Solution 2: To invest in increasing the flexibility electricity as 'chill' in a mini-PCM refrigerator
of suitable large power plants, especially costs approximately 1.7 baht per electrical
natural gas power plants to enable the increase unit. Likewise, storing electricity as hot water
and reduction of power generation faster and in a small dT 40K water heater costs about 0.4
at a lower cost. baht per electrical unit only.

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 9


2) Security in the transmission line system Guidelines for managing solar panels
in each area throughout the lifespan
Solution 1: Is to match the demands between
solar rooftop electricity producers and Lastly, this report proposes a guideline
daytime electricity users such as shopping malls, for managing solar panels in three phases
convenience stores, community malls, hospitals, according to the life cycle of their usage.
schools, etc., within the community. This demand • Reduce: The most fundamental principle
matching can allow the remaining electricity from of reducing the use of solar panels is
the solar rooftops to be more efficiently utilised optimising the solar panels. This will reduce
in nearby areas rather than sending to faraway the amount of new/unused solar panels
areas incurring higher costs and losses of in the future by default. Also, proper
electricity in transmission lines. maintenance procedures will enable
Solution 2: Is to invest in connecting the power the lifetime of the solar panel to be as
distribution system in each area (feeder) expected (i.e., around 25-30 years).
together from the original straight-line system • Reuse: After 25-30 years of use, the solar
(similar to a herringbone system). Connecting panels will be less effective, but can still
more and more feeder ends (into a loop system) be used continuously. Thus, reusing these
with an on-off switch can greatly increase the old solar panels for other purposes, such
stability of the electrical system. as pumping water for agriculture, will help
Since the concerned electricity authorities reduce the amount of new solar panels.
already allocate billions of baht of earnings as Besides, some damaged solar panels can
investments in developing electricity transmission be fixed for reuse or sold to help build a
systems, they should also plan and schedule market for second-hand solar panels.
investment to develop transmission lines as • Recycle: At the final stage of the lifespan
per these guidelines with a time frame that will of solar panels, they can be recycled to
cover various areas throughout the country. salvage materials such as glass, aluminium,
Solution 3: Is to adjust the transformers, either copper, etc. Approximately 85% of the
change the settings or replace the units with materials can be reclaimed. In the long
overcurrent. term, the International Renewable Energy
Implementing and developing these Agency (IRENA) is working on the research
various approaches will enable more efficient and development to find efficient ways
management of the power fluctuations generated for more materials in the solar panels to
by solar and other renewable energy. In the be recycled. Solar panel recycling plants
long run, it will help maintain the stability and will also be developed in response to the
security of the electrical system in the transition increased number of expired solar panels
towards 100% renewable energy usage. by 2030.

10 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 11
© Greenpeace / Arnaud Vittet

บทคัดย่อ
นับถึงสิ้นปี 2561 ทั่วโลกมีการติดตั้งแผง เจ้าของบ้านส่วนใหญ่ไม่อยู่บ้าน) สามารถไหลเข้าสู่
โซลาร์เซลล์แล้วจ�ำนวน 500,000 เมกะวัตต์ โดย สายส่งได้ก่อน และในเวลากลางคืน (เจ้าของบ้าน
เพิ่มขึ้นจากปีก่อนถึงร้อยละ 24 แต่หากคิดสัดส่วน กลับมา) ไฟฟ้าจากสายส่งจึงไหลกลับเข้าบ้าน จากนัน

พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากโซลาร์เซลล์เมื่อเทียบกับ เมื่อครบเดือนจึงค�ำนวณการใช้สุทธิ (net) ตามที่
พลังงานไฟฟ้าที่ทั่วโลกบริโภคในปี 2561 พบว่ามี ปรากฏในมิเตอร์
เพียงร้อยละ 2.6 เท่านั้น โดย 3 ประเทศที่มีสัดส่วน
สูงสุดคือ ฮอนดูรส ั (ร้อยละ 14.0) เยอรมนี (ร้อยละ ปั จ จุ บั น หลายประเทศได้ น� ำ นโยบาย Net
7.9) และกรีซ (ร้อยละ 7.5) ในขณะที่ประเทศไทยมี metering ไปใช้อย่างกว้างขวางทัง ้ ในประเทศร�ำ่ รวย
สัดส่วนต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย
่ ของโลกคือร้อยละ 2.3 เท่านัน
้ และประเทศยากจน เช่น สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย
สหรั ฐ อเมริ ก า แคนาดา อิ น เดี ย ปากี ส ถาน และ
ที่น่าเสียดายยิ่งกว่านั้นก็คือเกินกว่าร้อยละ เคนยา เป็นต้น แต่ประเทศไทยเรายังไม่มีนโยบายนี้
90 ของการติดตัง ้ พลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย เลย นอกจากนี้ แม้วา่ รัฐบาลไทยจะมีการส่งเสริมการ
เป็นแบบโซลาร์ฟาร์มขนาดใหญ่ แทนที่จะเป็นหลังคา ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในบ้านเรือนมากกว่า 10 ปี แต่
บ้านส�ำหรับที่อยู่อาศัย ทั้ง ๆ ที่ในปัจจุบัน ด้วยความ ก็มีปัญหาอุปสรรคหลายประการในการติดตั้ง จน
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีทผ ี่ บ
ู้ ริโภคสามารถผลิตไฟฟ้า ท�ำให้ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคา หรือ โซลาร์รฟ ู ท็อป
จากหลังคาบ้านตนเองได้แล้ว และสามารถลดจ�ำนวน ในประเทศไทยมีความคืบหน้าช้ามาก ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว
เงินที่เคยไหลออกอย่างเดียวให้ลดลงได้ หรือถ้าดี
กว่ า นี้ อีกก็สามารถท�ำให้เงินไหลเข้ากระเป๋าตนเอง รายงานฉบับนี้ จึงเน้นย�้ำถึงความจ�ำเป็นใน
ได้ดว้ ย จนมีการกล่าวกันว่า ผูบ ้ ริโภค หรือ consumer การน�ำระบบ Net metering มาใช้ในประเทศไทย โดย
ได้กลายเป็น “prosumer” แล้ว ตั้งเป้าหมายที่จะมีระบบโซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะ-
วัตต์ ภายในระยะเวลา 3 ปี จากนั้นจะวิเคราะห์ผล
นโยบายการสนับสนุนการติดตัง ้ โซลาร์เซลล์ ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่จะ
ทีไ่ ด้รบ
ั ความนิยมมากทีส
่ ด
ุ ง่ายทีส
่ ด
ุ ลงทุนน้อยทีส่ ด
ุ เกิดขึน
้ จากการด�ำเนินการดังกล่าว รวมถึงแนวทาง
โดยไม่ต้องซื้อมิเตอร์เพิ่มเติม ไม่ต้องติดอุปกรณ์ ในการรับมือกับความห่วงกังวลต่างๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องกับ
ป้องกันไฟฟ้าไหลย้อน และไม่ต้องซื้อแบตเตอรี่ ก็คือ การน�ำระบบโซลาร์รฟ ู ท็อปมาใช้ ไม่วา่ จะเป็นในแง่ของ
นโยบาย “Net metering” คือการอนุญาตให้กระแส ความมัน ่ คงในระบบไฟฟ้า ผลกระทบต่อค่าไฟฟ้า และ
ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซลาร์เซลล์ (ในตอนกลางวันซึ่ง การจัดการกับแผงโซลาร์เซลล์ทห ี่ มดอายุการใช้งาน

12 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 13
ข้อเสนอเชิงนโยบาย (3) ขนาด 5 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงพยาบาล
สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพระดั บ ต� ำ บล จ� ำ นวนประมาณ
ข้ อ เสนอเชิ ง นโยบายของรายงานฉบั บ นี้ จะเน้ น 7,250 แห่ง คิดเป็นเงินลงทุนทั้งหมด 1,450 ล้าน
ที่ ก ารน� ำ ระบบ Net metering มาใช้ ใ นการรั บ บาท ซึ่งจะช่วยให้โรงพยาบาลประหยัดค่าไฟฟ้าได้
ซื้อไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ เพื่อส่งเสริมและให้เกิด ปีละ 34,675 บาทต่อแห่ง
ความเป็นธรรมกับครัวเรือนที่ติดตั้งระบบโซลาร์- รวมแล้ ว มาตรการที่ 2 นี้ จ ะช่ ว ยให้ โ รง-
รู ฟ ท็ อ ป ซึ่ ง เป็ น ทั้ ง ผู ้ ผ ลิ ต และผู ้ บ ริ โ ภคไฟฟ้ า ใน พยาบาล 8,170 แห่ง มีกำ� ลังการผลิตติดตัง ้ เพิม
่ ขึน

เวลาเดียวกัน 236 เมกะวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุนรวมกัน 7,450 ล้าน
นอกจากนี้ รายงานฉบั บ นี้ ยั ง เสนอ 3 บาท โดยจะช่วยให้โรงพยาบาลประหยัดงบประมาณ
มาตรการส�ำคัญในการผลักดันเชิงนโยบายได้แก่ ได้ทงั้ หมด 1,638 ล้านบาทต่อปี หรือสามารถคืนทุน
ได้ภายในเวลา 4.55 ปี
มาตรการที่ 1 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บน
หลังคาบ้านเรือนประชาชนหนึ่งล้านครัวเรือน มาตรการที่ 3 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บน
มาตรการนีเ้ สนอให้รฐ ั บาลลงทุนติดตัง้ แผง หลังคาโรงเรียนของรัฐ
ผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยระบบโซลาร์เซลล์ขนาดครัว- มาตรการนี้ เ สนอให้ รั ฐ บาลลงทุ น ติ ด ตั้ ง
เรือนละ 1.5 กิโลวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุน 60,000 บาท ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาส�ำหรับโรงเรียนของรัฐ
ต่อหลัง โดยจะติดตัง้ ได้ 1,000,000 ล้านครัวเรือนใน โดยแยกตามขนาดของโรงเรียนดังนี้
ระยะเวลา 3 ปี (1) ขนาด 100 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงเรียน
ผลลัพธ์ของมาตรการนี้ จะท�ำให้แต่ละครัวเรือน ขนาดใหญ่ พิ เ ศษ จ� ำ นวนประมาณ 720 แห่ ง คิ ด
สามารถผลิตไฟฟ้าใช้ได้เองประมาณ 225 หน่วยต่อ เป็นเงินลงทุนทั้งหมด 2,160 ล้านบาท ซึ่งจะช่วย
เดือน คิดเป็นมูลค่า 855 บาทต่อเดือน ไฟฟ้าทีเ่ หลือ ให้โรงเรียนประหยัดค่าไฟฟ้าและมีรายได้เพิ่ม ปีละ
จากการใช้งานสามารถขายคืนให้ระบบไฟฟ้า เพือ ่ เป็น 693,500 บาทต่อแห่ง
รายได้เสริมของครัวเรือนทีม ่ รี ายได้นอ
้ ยในระยะยาว (2) ขนาด 100 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงเรียน
มาตรการที่ 1 นี้ จะท�ำให้ได้ก�ำลังการผลิต ขนาดใหญ่ จ�ำนวนประมาณ 1,982 แห่ง คิดเป็นเงิน
ติดตั้งในระบบ 1,500 เมกะวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุน ลงทุนทัง ้ หมด 5,946 ล้านบาท ซึง ่ จะช่วยให้โรงเรียน
รวมกั น 60,000 ล้ า นบาท และช่ ว ยให้ ค รั ว เรื อ น ประหยั ด ค่ า ไฟฟ้ า และมี ร ายได้ เ พิ่ ม ปี ล ะ 693,500
ประหยัดค่าใช้จ่ายได้ทั้งหมด 10,403 ล้านบาทต่อปี บาทต่อแห่ง
หรือสามารถคืนทุนได้ภายในเวลา 5.77 ปี (3) ขนาด 30 กิ โ ลวั ต ต์ ส� ำ หรั บ โรงเรี ย น
ขนาดกลาง จ� ำ นวนประมาณ 12,933 แห่ ง คิ ด
มาตรการที่ 2 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บน เป็นเงินลงทุนทั้งหมด 11,640 ล้านบาท ซึ่งจะช่วย
หลังคาโรงพยาบาลของรัฐ ให้โรงเรียนประหยัดค่าไฟฟ้าและมีรายได้เพิ่ม ปีละ
มาตรการนีเ้ สนอให้รฐ
ั บาลลงทุนติดตัง ้ ระบบ 208,050 บาทต่อแห่ง
โซลาร์เซลล์บนหลังคาส�ำหรับโรงพยาบาลของรัฐ (4) ขนาด 5 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงเรียนขนาด
โดยแยกตามขนาดของโรงพยาบาลดังนี้ เล็ ก จ� ำ นวนประมาณ 15,368 แห่ ง คิ ด เป็ น เงิ น
(1) ขนาด 1,000 กิ โ ลวั ต ต์ ส� ำ หรั บ โรง- ลงทุนทั้งหมด 3,077 ล้านบาทซึ่งจะช่วยให้โรงเรียน
พยาบาลขนาดใหญ่ จ�ำนวนประมาณ 120 แห่ง คิด ประหยัดค่าไฟฟ้าและมีรายได้เพิ่ม ปีละ 34,675 บาท
เป็นเงินลงทุนทั้งหมด 3,600 ล้านบาท ซึ่งจะช่วย ต่อแห่ง
ให้โรงพยาบาลประหยัดค่าไฟฟ้าได้ปีละ 6,935,000
บาทต่อแห่ง รวมแล้วมาตรการที่ 3 นี้จะช่วยให้โรงเรียน
(2) ขนาด 1,000 กิ โ ลวั ต ต์ ส� ำ หรั บ โรง 31,021 แห่ ง มี ก� ำ ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม ขึ้ น
พยาบาลขนาดใหญ่ จ�ำนวนประมาณ 800 แห่ง คิด 735.12 เมกะวั ต ต์ คิ ด เป็ น เงิ น ลงทุ น รวมกั น
เป็นเงินลงทุนทั้งหมด 2,400 ล้านบาท ซึ่งจะช่วยให้ 22,823 ล้านบาท โดยจะช่วยให้โรงเรียนประหยัดงบ
โรงพยาบาลประหยัดค่าไฟฟ้าได้ปีละ 693,500 บาท ประมาณและมีรายได้เพิม่ ทัง
้ หมด 5,098 ล้านบาทต่อปี
ต่อแห่ง หรือสามารถคืนทุนได้ภายในเวลา 4.48 ปี

14 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


เมื่ อ รวมทั้ ง 3 มาตรการนี้ จะท� ำ ให้ ร ะบบ เลยทีเดียว นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์-
โซลาร์เซลล์แบบบนหลังคามีก�ำลังการผลิตติดตั้ง รูฟท็อปยังช่วยลดการปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจน
เพิ่ ม ขึ้ น 2,778 เมกะวั ต ต์ ด้ ว ยเงิ น ลงทุ น รวมกั น (NOx) จากการผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติลงได้
98,859 ล้ า นบาท (ในระยะเวลา 3 ปี ) และช่ ว ย 804 ตันต่อปี ในท�ำนองเดียวกันหรือหากประเมินว่า
ประหยัดค่าไฟฟ้า (และสร้างรายได้เพิม ่ ) ให้กบ
ั บ้านเรือน ประเทศไทยจะใช้ถา่ นหินในการผลิตไฟฟ้า การติดตัง

โรงพยาบาล โรงเรียน ได้ 18,628 ล้านบาทต่อปี โซลาร์รูฟท็อปแทนดังกล่าวข้างต้นจะลดการปล่อย
เพราะฉะนัน ้ จะคืนทุนในระยะเวลาประมาณ 5.31 ปี และ ออกไซด์ของไนโตรเจนลงได้ประมาณ 10,098 ตัน
หากค�ำนวณตลอดอายุการใช้งาน 25 ปี มาตรการ ต่อปี
ทัง
้ สามนีจ ้ ะให้ประโยชน์แก่ประชาชน 465,689 ล้านบาท
การบริหารจัดการความมั่นคง
มาตรการที่ 4 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บน
ในระบบไฟฟ้าในช่วง 3 ปีข้างหน้า
หลังคาบ้านเรือนทั่วไปอีกประมาณ 222 เมกะวัตต์
โดยจะติ ด ตั้ ง ครั ว เรื อ นละราว 3 กิ โ ลวั ต ต์
ข้ อ มู ล ก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ทั้ ง หมด ณ เดื อ น
จ�ำนวน 74,000 หลัง โดยระบบการรับซือ ้ ไฟฟ้าแบบ
ตุลาคม 2562 เท่ากับ 44,443 เมกะวัตต์ ในขณะที่
Net-metering ก็จะท�ำให้ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคา
ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดหรือพีค ของปี 2562
ในประเทศไทยมี ก� ำ ลั ง การผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น 3,000
เท่ า กั บ 30,853 เมกะวั ต ต์ จึ ง มี ก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า
เมกะวัตต์ในระยะเวลา 3 ปี ตามที่ได้วางแผนไว้
ส�ำรองของประเทศสูงถึง 13,590 เมกะวัตต์ หรือ
ร้อยละ 44 ของพีค ซึ่งสูงกว่ามาตรฐานร้อยละ 15
ผลประโยชน์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม มากถึง 8,962 เมกะวัตต์ จึงสามารถสั่งเดินเครื่อง
โรงไฟฟ้าส�ำรองเหล่านี้ เพือ ่ ผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอได้
การติ ด ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปคาดว่ า จะท� ำ ให้ เ กิ ด อีกหลายปี
การจ้างงานประมาณ 38,333 คนในการติดตั้ง ทั้ ง นี้ ยั ง มี โ รงไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ ที่ ก� ำ ลั ง
ตลอดช่วงเวลา 3 ปี และยังท�ำให้เกิดการจ้างงาน ก่อสร้าง และรัฐก�ำหนดให้สร้างเพิม ่ ขึน ้ ในช่วง 5 ปีขา้ ง
ประมาณ 15,000 คนในการดูแลรักษา หรือรวม หน้า ปี 2563-2567 ตามแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า
กันแล้วท�ำให้เกิดการจ้างงานมากกว่า 50,000 PDP2018 อีก 7 โรง ทัง ้ โรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ และ
ต�ำแหน่งงาน เขือ
่ นขนาดใหญ่ในประเทศลาว รวมแล้วจะมีกำ� ลังผลิต
เพิม่ ขึน
้ อีกมากถึง 7,600 เมกะวัตต์
ในด้านสิ่งแวดล้อม ระบบโซลาร์รูฟท็อปจะ ในด้านการบริหารจัดการระบบการผลิตและ
ช่วยลดการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ สายส่งไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ลงได้และช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงได้ (กฟผ.) ร่วมกับ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และ
ประมาณ 1.48 ล้านตันต่อปี หรือหากประเมินว่า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ด�ำเนินการมาตลอด
ประเทศไทยจะใช้ถ่านหินในการผลิตไฟฟ้า การติด จนถึงปัจจุบน ั ในแต่ละสัปดาห์ การใช้ไฟฟ้าช่วงวันเสาร์
ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปแทนดั ง กล่ า วข้ า งต้ น จะลดการ และวั น อาทิ ต ย์ จะลดลงกว่ า วั น จั น ทร์ ถึ ง วั น ศุ ก ร์
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงได้ประมาณ 4.52 ล้านตัน หลายพันเมกะวัตต์ โดยเฉพาะในช่วงหัวค�่ำของวัน
ต่อปี ทั้งนี้ปริมาณการลดคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลด อาทิตย์ ถึงเช้ามืดของวันจันทร์มีการใช้ไฟฟ้าที่ลด
ลงดังกล่าว เมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตไฟฟ้าด้วย ลงมาก ดั ง เช่ น ข้ อ มู ล ในภาพ การใช้ ไ ฟฟ้ า ลดลง
ก๊าซธรรมชาติเทียบเท่ากับการดูดซับของพื้นที่ป่า ประมาณ 6,700 เมกะวัตต์ในช่วง 21.00–04.00 น.
ไม้ที่มีพรรณไม้อเนกประสงค์ (อัตราปลูก 100 ต้น พอถึงเช้าวันจันทร์ การใช้ไฟฟ้าก็เพิ่มสูงขึ้นอย่าง
ต่อไร่ และดูดซับคาร์บอนได้ออกไซด์ได้ 1.47 ตัน รวดเร็ ว ดั ง เช่ น ในช่ ว ง 04.00–11.00 น. มี ก าร
ต่อไร่ต่อปี) เท่ากับ 1 ล้านไร่ เลยทีเดียว หรือหาก ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นประมาณ 7,200 เมกะวัตต์ แล้วก็
เทียบกับการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหินปริมาณการลด ผั น ผวนลดลงและเพิ่ ม ขึ้ น ระหว่ า งวั น จนมี ก ารใช้
คาร์บอนไดออกไซด์ทล ี่ ดลงดังกล่าวจากการติดตัง ้ สูงสุดในช่วงหนึ่งทุ่ม
โซลาร์รูฟท็อปแทนเทียบเท่ากับการดูดซับของพื้นที่ ทั้ ง สามหน่ ว ยงานการไฟฟ้ า ฯ ก็ บ ริ ห าร
ป่ า ไม้ ที่ มี พ รรณไม้ อ เนกประสงค์ เ ท่ า กั บ 3 ล้ า นไร่ จั ด การการใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ล ดลงและเพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง จ� ำ เป็ น

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 15


ต้องบริหารจัดการการผลิตไฟฟ้าและระบบสายส่ง ได้โดยไม่มีปัญหาและไม่มีต้นทุนเพิ่ม ได้แก่ โรงไฟฟ้า
ไฟฟ้าให้ลดลงและเพิม ่ ขึน
้ ประมาณ 10,000 เมกะวัตต์ พลังน�้ำสูบกลับ โรงไฟฟ้าแก๊สชีวภาพ และโรงไฟฟ้า
อยู่แล้วทุกๆ สัปดาห์ ดังนั้นการบริหารจัดการการ พลังน�้ำขนาดเล็ก โดยออกแบบระบบและแรงจูงใจ
ลดลงและเพิม ่ ขึน
้ ของไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ทจ ี่ ะเพิม
่ ให้ลดหรือหยุดผลิตในช่วงที่มีแสงอาทิตย์และเพิ่ม
มากขึ้น 3,000 เมกะวัตต์ ใน 3 ปีข้างหน้า จึงไม่มี ก�ำลังผลิตในช่วงเย็นและค�่ำ
ปั ญ หาในด� ำ เนิ น การรั ก ษาความมั่ น คงของระบบ แนวทางที่ ส อง คื อ การลงทุ น ปรั บ ความ
ไฟฟ้าแต่อย่างใด ยื ด หยุ ่ น ของโรงไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว ให้ มี
ความยื ด หยุ ่ น มากขึ้ น กว่ า ปั จ จุ บั น โดยเฉพาะโรง
การไฟฟ้าฯ บริหารจัดการการใช้ไฟฟ้าที่ลดลง ไฟฟ้ า ก๊ า ซธรรมชาติ ใ ห้ ส ามารถเพิ่ ม และลดก� ำ ลั ง
และเพิ่มขึ้นประมาณหนึ่งหมื่นเมกะวัตต์อยู่แล้ว ผลิตไฟฟ้าได้มากขึ้นและรวดเร็วขึ้น โดยมีต้นทุนใน
ทุกๆ สัปดาห์ การด�ำเนินการผลิตไฟฟ้าที่ต�่ำลงกว่าเดิม
แนวทางที่สาม การปรับระบบค่าไฟฟ้าที่คิด
ตามช่วงเวลา (Time of Use หรือ TOU) ให้ค่าไฟฟ้า
มี ร าคาถู ก ลงในช่ ว งกลางวั น และแพงขึ้ น ในช่ ว ง
กลางคืน โดยเฉพาะในช่วงหัวค�่ำซึ่งควรจะแพงที่สุด
เพื่อให้ผู้ใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ จะพิจารณาลงทุนเพื่อ
ปรับการใช้ไฟฟ้าของตนเองให้เหมาะสม (Demand
Response) รวมทั้ ง ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ ากลุ ่ ม ต่ า งๆ อาจจะ
บริหารจัดการให้เหมาะสมมากขึ้น ทั้งนี้ รัฐอาจจะ
ด�ำเนินการแบบ “ระบบค่าไฟฟ้าทดลองตามความ
สมัครใจ” จนเมื่อเหมาะสมแล้วจึงบังคับใช้เป็นระบบ
ค่าไฟฟ้าต่อไป
แนวทางที่สี่ การออกแบบและบริหารจัดการ
รถยนต์ไฟฟ้าที่ก�ำลังเพิ่มมากขึ้นให้ตอบโจทย์ความ
• วันอาทิตย์ 15 ก.ย. 21.00 น. ถึงวันจันทร์ 16 ก.ย. 04.00 น. มั่นคงของระบบไฟฟ้า เนื่องจากรถยนต์ไฟฟ้าทุก
การใช้ไฟฟ้าลดลง 6,700 เมกะวัตต์ คั น มี แ บตเตอรี่ เมื่ อ กลั บ มาถึ ง ที่ พั ก โดยเฉพาะใน
• วันจันทร์ 16 ก.ย. 04.00 น. ถึง 11.00 น. การใช้ไฟฟ้า
ช่วงเย็นหรือหัวค�่ำ ในเมื่อแบตเตอรี่ในรถยังมีไฟฟ้า
เพิ่มขึ้น 7,200 เมกะวัตต์
• วันจันทร์ 11.น. ถึง 19.00 น. การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีก
เหลืออยู่บ้าง จึงควรออกแบบระบบแอปพลิเคชั่นให้
2,000 เมกะวัตต์ สามารถจ่ า ยไฟฟ้ า จากรถยนต์ ไ ฟฟ้ า มาใช้ ใ นบ้ า น
หรือส่งขายเข้าระบบไฟฟ้าได้ เพื่อช่วยเสริมความ
มั่นคงของระบบไฟฟ้าในช่วงค�่ำที่มีการใช้ไฟฟ้าเพิ่ม
การสร้างความมั่นคง สูงขึ้นมาก จนเมื่อถึงช่วงดึกที่การใช้ไฟฟ้าในระบบ
ของระบบไฟฟ้าในระยะยาว น้อยลง จึงค่อยใช้ไฟฟ้าจากระบบไปชาร์จรถยนต์
ไฟฟ้า หากมีการบริหารจัดการในแนวทางนี้ จะท�ำให้
ส่วนความห่วงกังวลทีห่ ลายฝ่ายเป็นห่วงว่า จ�ำนวนรถยนต์ไฟฟ้ายิ่งมีมากขึ้นเท่าไรก็จะยิ่งช่วย
เมือ่ มีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มากขึน ้ เสริ ม ความมั่ น คงของระบบไฟฟ้ า ในช่ ว งเย็ น และ
เรือ
่ ยๆ เช่น มากกว่า 5,000 เมกะวัตต์ จะด�ำเนินการ หัวค�่ำได้มากยิ่งขึ้น
อย่างไร? รายงานฉบับนีไ้ ด้เสนอแนวทางในการเตรียม แนวทางที่ ห ้ า การเก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า ใน
การเป็น 2 กลุม ่ ด้วยกันคือ แบตเตอรี่ ทั้งการลงทุนแบตเตอรี่ขนาดเล็กในแต่ละ
บ้านแต่ละอาคารหรือการลงทุนแบตเตอรีข ่ นาดใหญ่
1) ความมั่ น คงในระบบสายส่ ง รวมของ ระดับสายส่งไฟฟ้า ถึงแม้ว่าต้นทุนการเก็บพลังงาน
ประเทศ ไฟฟ้าในแบตเตอรี่จะลดลงอย่างต่อเนื่อง
แนวทางแรก คือ การบริหารจัดการโรงไฟฟ้า แนวทางที่หก การเก็บพลังงานไฟฟ้าเป็น
ที่ มี ค วามยื ด หยุ ่ น ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น โดย ความเย็นหรือเก็บเป็นความร้อน ซึ่งมีต้นทุนในการ
โรงไฟฟ้าเหล่านีส ้ ามารถเพิม ่ และลดก�ำลังผลิตไฟฟ้า เก็บพลังงานถูกกว่าการเก็บในแบตเตอรี่ ตัวอย่าง

16 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


เช่น การเก็บไฟฟ้าเป็นความเย็นในตู้เย็นขนาดเล็ก
แบบ PCM มี ต ้ น ทุ น ประมาณ 1.7 บาทต่ อ หน่ ว ย แนวทางการจัดการแผงโซลาร์เซลล์
ไฟฟ้า ส่วนการเก็บไฟฟ้าเป็นน�้ำร้อนในเครื่องท�ำน�ำ้ ตลอดช่วงอายุใช้งาน
ร้อนขนาดเล็ก dT 40K มีต้นทุนประมาณ 0.4 บาท
ต่อหน่วยไฟฟ้าเท่านั้น สุดท้าย รายงานฉบับนี้ ได้เสนอแนะแนวทางใน
การจัดการแผงโซลาร์เซลล์ตลอดช่วยอายุการใช้งาน
2) ความมั่ น คงในระบบสายส่ ง ย่ อ ยในแต่ ล ะ ออกเป็น 3 ขัน ้ ตอนตามวงจรชีวต ิ การใช้งาน คือ
พื้นที่ การลดการใช้ (Reduce) หลักการพื้นฐานที่สุด
แนวทางแรก การจับคู่ (Demand Matching) ของการลดการใช้ แ ผงโซลาร์ เ ซลล์ คื อ การเพิ่ ม
ระหว่างกลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รูฟท็อปกับผู้ใช้ ประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์ ซึ่งจะเป็นการลด
ไฟฟ้าช่วงกลางวัน เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซือ ้ ปริมาณการใช้แผงโซลาร์เซลล์เหลือใช้ในอนาคตไป
คอมมูนิตี้มอลล์ โรงพยาบาล โรงเรียน ฯลฯ เพื่อให้ โดยปริยาย นอกจากนั้น กระบวนการในการดูแล
ไฟฟ้าทีเ่ หลือใช้จากระบบโซลาร์รฟ ู ท็อป ถูกใช้ในพืน
้ ที่ รักษาอย่างเหมาะสม ก็จะท�ำให้อายุการใช้งานของ
บริเวณใกล้เคียง ไม่ต้องถูกส่งผ่านสายส่งไฟฟ้า ไป แผงโซลาร์ เ ซลล์ เ ป็ น ไปตามที่ ค าดการณ์ ไ ว้ (คื อ
ใช้ในพื้นที่ไกลออกไป ประมาณ 25-30 ปี)
แนวทางที่สอง การลงทุนเชื่อมระบบจ่าย การใช้ ซ�้ ำ (Reuse) ภายหลั ง จากการใช้ ง าน
ไฟฟ้าในแต่ละพื้นที่ (Feeder) เข้าด้วยกัน จากแต่ 25-30 ปี แผงโซลาร์เซลล์จะมีประสิทธิภาพน้อยลง
เดิมที่เป็นระบบเส้นตรงกระจายออกไป (คล้ายระบบ แต่ ยั ง สามารถใช้ ง านได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง นั้ น
ก้างปลา) โดยเชื่อมต่อปลาย Feeder เข้าด้วยกัน การน�ำแผงโซลาร์เซลล์ที่เปลี่ยนแล้วไปใช้งานซ�้ำใน
มากขึ้นๆ เรื่อยๆ (ให้กลายเป็นระบบวง loop) และ วัตถุประสงค์อื่นๆ เช่น การสูบน�้ำเพื่อการเกษตร
มี ส วิ ต ช์ เ ปิ ด –ปิ ด ก็ จ ะเพิ่ ม ความมั่ น คงของระบบ ก็จะสามารถลดปริมาณแผงโซลาร์เซลล์ที่เป็นของ
ไฟฟ้าได้มาก ซึ่งในแต่ละปีหน่วยงานการไฟฟ้าได้ เสียลงได้ นอกจากนี้ การซ่อมแซมแผงโซลาร์เซลล์
จั ด สรรค่ า ไฟฟ้ า ที่ เ ราจ่ า ย ไปลงทุ น พั ฒ นาระบบ ที่เสียหายบางส่วน ก็สามารถน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ และ
สายส่งไฟฟ้าปีละหลายหมื่นล้านบาทอยู่แล้ว ก็ควร สร้างสร้างตลาดโซลาร์เซลล์มือสองได้เช่นกัน
จะวางแผนและก� ำ หนดการลงทุ น พั ฒ นาสายส่ ง การรีไซเคิล (Recycle) ในขั้นตอนสุดท้ายของ
ไฟฟ้ า ตามแนวทางนี้ ใ ห้ ชั ด เจน มี ก รอบเวลาที่ จ ะ การใช้งานตลอดช่วงอายุของแผงโซลาร์เซลล์ เรา
ครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ สามารถที่จะรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อให้ได้วัสดุ
แนวทางทีส ่ าม การปรับหม้อแปลง โดยปรับ เช่น กระจก อลูมีเนียม ทองแดง กลับมาใช้ใหม่ได้
การตั้งค่าที่หม้อแปลง หรือเปลี่ยนหม้อแปลงเฉพาะ ในอัตราประมาณร้อยละ 85 ของวัสดุทั้งหมด ทั้งนี้
บางตัวที่แรงดันล้นเกิน ในระยะยาวทบวงการพลั ง งานหมุ น เวี ย นระหว่ า ง
การด� ำ เนิ น การและพั ฒ นาแนวทางต่ า งๆ ประเทศ International Renewable Energy
เหล่านี้ร่วมกัน จะท�ำให้เราสามารถบริหารจัดการ Agency, IRENA) จะมี ก ารวิ จั ย และพั ฒ นาเพื่ อ
การผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และลดลงของพลั ง งาน ให้สามารถน�ำวัสดุต่างๆ ในแผงโซลาร์เซลล์กลับ
แสงอาทิตย์และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ได้อย่างมี มาใช้ให้ได้มากขึ้น และพัฒนาโรงงานรีไซเคิลแผง
ประสิทธิภาพมากขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ ง จึงสามารถรักษา โซลาร์ เ ซลล์ เพื่ อ ให้ ส ามารถรองรั บ ปริ ม าณแผง
ความมั่นคงของระบบไฟฟ้าในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ โซลาร์เซลล์หมดอายุที่จะมีมากขึ้นในปี 2573
การใช้พลังงานหมุนเวียนทัง ้ หมด 100 เปอร์เซ็นต์ใน
ระยะยาวได้เป็นอย่างดี

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 17


บทที่ 1
พัฒนาการของโซลาร์เซลล์
และรูฟท็อปทั่วโลก
1.1 การผลิตไฟฟ้าด้วยกังหันไอน�ำ้ กับการผลิต
ไฟฟ้าด้วยโซลาร์เซลล์
แม้ว่าผู้บริโภคส่วนมากไม่ได้เป็นผู้เชีย ่ วชาญ
เรื่ อ งการผลิ ต ไฟฟ้ า แต่ ก็ พ อจะทราบในหลั ก การ
เบื้องต้นว่ากระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวนการ
ผลิตไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หรือน�้ำมัน
เป็ น เชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ ต้ ม น�้ ำ ให้ เ ดื อ ดจนเป็ น ไอ แล้ ว ใช้
พลังไอน�้ำนั้นไปหมุนกังหันไอน�้ำ (steam turbine)
ซึ่งประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกเมื่อประมาณ 120 ปีที่แล้ว
แล้ ว ใช้ เ พลาของกั ง หั น ไปหมุ น เครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า
(ไดนาโม-เป็นการหมุนขดลวดตัดสนามแม่เหล็ก) จน
ท�ำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่แล้วไหลเป็นกระแสไฟฟ้า
เพื่อน�ำไปใช้เป็นพลังงานตามวัตถุประสงค์
กระบวนการผลิตดังกล่าวยังไม่ได้นบ ั รวมถึง
การได้มาของเชื้อเพลิงที่ใช้เผาไหม้ ซึ่งต้องเปิดหน้า
ดิน ขุด เจาะลึกนับพันเมตร และขนส่งซึ่งส่วนมาก
เป็นการขนส่งเป็นระยะทางไกลๆ ข้ามน�้ำ ข้ามทวีป
กว่าจะไปถึงโรงไฟฟ้า
หากกล่ า วถึ ง เฉพาะขั้ น ตอนการผลิ ต ใน
บริเวณโรงไฟฟ้า นักวิทยาศาสตร์ประเมินว่าประมาณ
ร้อยละ 60 ของพลังงานทั้งหมดได้สูญเสียไปเป็น
ความร้อน ซึ่งพลังงานที่เราต้องการใช้จริงๆ คือ
พลังงานไฟฟ้านัน ้ จะเหลืออยูเ่ พียงร้อยละ 40 เท่านัน ้
เมื่ อ นั บ รวมกระบวนการผลิ ต ทั้ ง หมด ตั้ ง แต่ ก าร
ส�ำรวจหาแหล่งเชือ ้ เพลิงจนถึงได้กระแสไฟฟ้า และส่ง
กระแสไฟฟ้าไปให้ผใู้ ช้งานถึงบ้าน จึงเป็นกระบวนการ
© บารมี เต็มบุญเกียรติ / กรีนพีซ

ที่ไม่น่าจะเรียกได้ว่ามีประสิทธิภาพสูง เมื่อเทียบกับ
กระบวนการผลิตที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ คือการผลิต
ไฟฟ้าด้วยโซลาร์เซลล์ โดยเฉพาะอย่างยิง ่ โซลาร์เซลล์
บนหลังคา (solar rooftop)

18 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


กระบวนการผลิ ต ไฟฟ้ า ด้ ว ยโซลาร์ เ ซลล์ เรียกว่า "แผงโซลาร์เซลล์" (photovoltaic solar
ไม่ มี ขั้ น ตอนอะไรมากมายเหมื อ นกั บ การผลิ ต แบบ panel) เมือ
่ ต่อเส้นทางให้อเิ ล็กตรอนจ�ำนวนมหาศาล
เดิ ม คือ ไม่ตอ ้ งใช้เชือ
้ เพลิงเพือ
่ เผาไหม้เพือ ่ ต้มน�ำ้ จืด และมีพลังงานสูงทีห ่ ลุดออกมานีก ้ บ
ั เส้นลวดตัวน�ำก็
ไม่ต้องใช้น�้ำหล่อเย็น ไม่ใช้ไดนาโม เพียงแค่มีแสง จะเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าที่เราต้องการ
อาทิตย์ก็สามารถผลิตไฟฟ้าได้ ซึ่งในแสงอาทิตย์
ที่ ส ่ อ งลงมานั้ น มี อ นุ ภ าคที่ เ รี ย กว่ า “โฟตอน” 1.2 ท�ำไมแผงโซลาร์เซลล์จึงมีราคาถูกลง
(photon) นั บ หลายล้ า นล้ า นอนุ ภ าคต่ อ วิ น าที สารกึ่ งตั ว น� ำ ก็ คื อ วั ส ดุ ที่ มี คุ ณสมบั ติ ทาง
อนุ ภ าคโฟตอนจะเป็ น ผู ้ ไ ป “เตะ” อิ เ ล็ ก ตรอน การน�ำไฟฟ้าอยูร่ ะหว่างฉนวน (insulator) ซึง ่ มีความ
วงนอกสุดของแผ่นรับแสงที่ผลิตจากสารกึ่งตัวน�ำ สามารถในการน�ำไฟฟ้าได้ตำ�่ มาก และตัวน�ำ (conductor)
(semiconductor) แผ่ น รั บ แสงอาทิ ต ย์ ดั ง กล่ า ว ซึง่ มีความสามารถในการน�ำไฟฟ้าได้สง ู เช่น ทองแดง
สารกึ่งตัวน�ำที่นิยมน�ำมาผลิตแผงโซลาร์เซลล์ก็คือ
ซิลค ิ อน (silicon) ซึง ่ เป็นธาตุทถ ี่ ลุงได้จากทราย และ
เป็นธาตุทม ี่ ม
ี ากทีส ่ ด
ุ ในโลกชนิดหนึง ่ ดังนัน ้ อุปกรณ์
ทีผ ่ ลิตด้วยสารกึง ่ ตัวน�ำ เช่น แผงวงจรคอมพิวเตอร์
ชิน
้ ส่วนวงจรในโทรศัพท์มอ ื ถือ และแผงโซลาร์เซลล์ จึง
มีราคาถูก และจะยิ่งมีราคาถูกลงอีกมากหากตลาด
ขยายตัวมากขึน ้
กลับมาทีก ่ ารผลิตไฟฟ้า หากพิเคราะห์กน ั ให้
ลึกๆ เราจะพบว่าทั้งการผลิตแบบเดิมและการผลิต
ด้วยโซลาร์เซลล์ตา่ งก็ใช้ “พลังงาน” จากดวงอาทิตย์
เหมือนกัน เพราะถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติและน�ำ้ มัน ต่าง
ก็เกิดมาจากการสังเคราะห์แสงของพืชทีต ่ อ ้ งใช้แสง
อาทิตย์ ถ่านหินก็มาจากพืช ก๊าซธรรมชาติกม ็ าจาก
ซากไดโนเสาร์ซง ึ่ กินพืชเป็นอาหาร พลังงานฟอสซิล
จึงเป็นพลังงานจากดวงอาทิตย์ทถ ี่ กู สะสมไว้เมือ ่ 200
ล้านปีมาแล้ว ในขณะที่อนุภาคโฟตอนที่กระทบแผง
โซลาร์ เ ซลล์ เป็ น พลั งงานจากดวงอาทิ ต ย์ ที่ “สด
ทุ ก วั น ” และไม่มีวันหมด จึงถูกจัดให้อยู่ในประเภท
พลั ง งานหมุ น เวี ย น ในขณะที่ พ ลั ง งานฟอสซิ ล มี
จ�ำนวนจ�ำกัดและถูกผูกขาดด้วยคนจ�ำนวนน้อย
ทฤษฎี แ ละเทคโนโลยี ที่ ใ ช้ ใ นการผลิ ต ไฟฟ้ า
ด้วยพลังงานฟอสซิลถูกจัดอยู่ในประเภท “ฟิสิกส์
ดัง ้ เดิม” (Classical Physics) ในขณะทีก ่ ารผลิตไฟฟ้า
ด้วยโซลาร์เซลล์ถก ู จัดอยูใ่ นประเภท “ฟิสก ิ ส์ควอนตัม”
(Quantum Physics) หรือฟิสิกส์ยุคใหม่
พัฒนาการของฟิสิกส์ควอนตัมได้ส่งผลให้
นักวิทยาศาสตร์หลายคนได้รับรางวัลโนเบลสาขา
ฟิ สิ ก ส์ สองผลงานที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ดั ง กล่ า วคื อ
ผลงานของ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (ผู้ที่สามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์ โ ฟโตอิ เ ล็ ก ทริ ก , Photoelectric
Effect - รั บ รางวั ล ปี 2462) และ “ผลงานวิ จั ย
เรื่ อ งสารกึ่ ง ตั ว น� ำ และการค้ น พบปรากฎการณ์
ทรานซิสเตอร์" (ผลงานร่วมของสามนักวิทยาศาสตร์
ชาวสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกาเมือ ่ ปี 2499)

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 19


ว่าไปแล้วกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์- 1.4 สถิติโลกที่น่าสนใจ
เซลล์จะคล้ายกับกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช นั บ ถึ ง สิ้ น ปี 2561 ทั่ ว ทั้ ง โลกมี ก ารติ ด ตั้ ง
(Photosynthesis) คือกระบวนการที่ใช้พลังงาน แผงโซลาร์เซลล์แล้วจ�ำนวน 500,000 เมกะวัตต์ โดย
จากแสงอาทิตย์เพื่อมาเปลี่ยนน�้ำ (ที่ผ่านทางราก) เพิม
่ ขึน
้ จากปีกอ ่ นร้อยละ 24 และ 3 ประเทศทีต ่ ดิ ตัง

กั บ ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ใ นอากาศให้ เ ป็ น แป้ ง มากทีส ่ ดุ คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน (ร้อยละ 35.2)
เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นแบบ “สดทุกวัน” เช่นกัน สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 12.4) และญีป ่ น
ุ่ (ร้อยละ 11.2)1
ปัจจุบน ั เราต่างยอมรับกันว่า ความก้าวหน้า หากคิ ด สั ด ส่ ว นพลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต จาก
ทางเทคโนโลยีได้ท�ำให้วิถีชีวิตของเราต้องเปลี่ยน โซลาร์ เ ซลล์ เ มื่ อ เที ย บกั บ พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ช าวโลก
ไปอย่างรวดเร็ว การสื่อสารทางโทรทัศน์ถูกแทนที่ บริโภคในปี 2561 พบว่ามีเพียงร้อยละ 2.6 เท่านั้น
ด้วยโทรศัพท์มือถือที่ทุกคนสามารถรับและส่งสาร โดย 3 ประเทศที่มีสัดส่วนสูงสุดคือ ฮอนดูรัส (ร้อย
เองได้อย่างง่ายดายและต้นทุนต�ำ่ แล้วท�ำไมในวงการ ละ 14) เยอรมนี (ร้อยละ 7.9) และกรีซ (ร้อยละ 7.5)
พลังงานจึงเปลี่ยนแปลงค่อนข้างช้า ในขณะทีป ่ ระเทศไทยมีสด ั ส่วนต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย่ ของโลก
การเปลี่ ย นผ่ า นพลั ง งานจากการพึ่ ง พา คือร้อยละ 2.3 เท่านัน ้ และเกินกว่าร้อยละ 90 ของการ
เชือ้ เพลิงฟอสซิลสูก ่ ารใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ใน ติดตั้งในประเทศไทยเป็นแบบโซลาร์ฟาร์มขนาดใหญ่
การผลิตไฟฟ้าจึงเป็นความก้าวหน้าของเทคโนโลยี แทนที่จะเป็นหลังคาบ้านส�ำหรับที่อยู่อาศัย
ที่ จ ะน� ำ มาใช้ ใ นการสร้ า งแนวโน้ ม การผลิ ต และใช้ หากคิดจ�ำนวนการติดตั้งโซลาร์เซลล์เฉลี่ย
พลังงานที่ยั่งยืนมากขึ้น ต่อประชากรหนึ่งคน พบว่า 3 ประเทศที่มีจ�ำนวน
สูงสุดคือ เยอรมนี ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น คือ 548,
1.3 คิดใหม่เรื่องพลังงาน 459 และ 442 วัตต์ต่อคน ตามล�ำดับ2
การผลิตไฟฟ้าด้วยแผงโซลาร์เซลล์ นอกจาก ถ้ า เปรี ย บเที ย บศั ก ยภาพของพลั ง งาน
จะมีความแตกต่างทีส ่ ำ� คัญจากการผลิตแบบเดิมแล้ว แสงอาทิตย์เหนือพืน ้ ทีป
่ ระเทศเยอรมนีกบ ั ประเทศไทย
ยังลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อน ั จะส่งผล ใครๆ ก็ ค งจะทราบว่ า ประเทศไทยเรามี ศั ก ยภาพ
ต่ อ วิ ก ฤตการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ ช่ ว ย มากกว่าอย่างแน่นอน แต่ความจริงก็คือในปี 2561
ลดความเหลื่อมล�้ำและเป็น “ประชาธิปไตยพลังงาน” ประเทศเยอรมนีสามารถผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์
(Energy Democracy) อีกด้วย อธิบายง่ายๆ คือ ได้ถึง 46,300 ล้านหน่วย คิดเป็นร้อยละ 7.7 ของ
ผู ้ บ ริ โ ภคที่ เ คยถู ก ท� ำ ให้ เ ป็ น ผู ้ ซื้ อ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว ไฟฟ้าทีป ่ ระเทศนีบ ้ ริโภค3 โดยมีกำ� ลังการติดตัง ้ ด้วย
หากเข้าถึงการผลิตพลังงานได้เองก็จะกลายเป็นทัง ้ แผงโซลาร์เซลล์ 45,400 เมกะวัตต์
ผูผ้ ลิตและผูบ ้ ริโภคไปด้วยในตัวคนเดียวกัน ทีเ่ รียกว่า พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ป ระเทศเยอรมนี ผ ลิ ต
Prosumer จากโซลาร์เซลล์นี้ คิดเป็นร้อยละ 23 ของไฟฟ้าที่
ด้วยเหตุนี้ ดร.เฮอร์มานน์ เชียร์ (Hermann ประเทศไทยผลิตจากเชื้อเพลิงทั้งหมดในปีเดียวกัน
Scheer) อดี ต ประธานองค์ ก ร “Eurosolar” ผู ้ มี กล่ า วอี ก อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ ประเทศไทยสามารถใช้
บทบาทส�ำคัญมากในการส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน แสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าแทนการซื้อเชื้อเพลิงฟอสซิล
โลกจึ ง ได้ ส รุ ป ว่ า “การถกเถี ย งประเด็ น พลั ง งาน จากต่างประเทศได้ถึงร้อยละ 23 ถ้าคิดเป็นมูลค่า
ตามล�ำพังแบบแยกส่วน คือการลวงทางปัญญา” ไฟฟ้าก็กว่าหนึ่งแสนล้านบาท
สอดคล้องกับรายงานเรื่อง “Rethinking Energy
2017” โดยทบวงการพลังงานหมุนเวียนระหว่าง
ประเทศที่ วิ พ ากษ์ เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น
(Sustainable Development Goals, SDGs)
ขององค์ ก ารสหประชาชาติ ว ่ า “เป้ า หมายที่ 7
คื อ พลั ง งานหมุ น เวี ย นที่ ส ะอาดสามารถจ่ า ยได้
คือศูนย์กลางหรือสาเหตุของอีก 16 เป้าหมาย”
1 Task 1 – Strategy PV Analysis and Outreach, April 2019 , IEA – PVSP
2 อ้างแล้วใน 2
3 https://www.volker-quaschning.de/datserv/ren-Strom-D/index_e.php

20 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


© Greenpeace / Arnaud Vittet

1.5 นโยบายที่ ส ามารถท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคเป็ น 1.6 “อย่าปล่อยให้การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ อยู่ใน


“Prosumer” ได้ มือของเจ้าของอุตสาหกรรมการผลิตบุหรี่”
ตามหลักวิชาฟิสิกส์แล้ว ไฟฟ้าสามารถไหล ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า วัตถุดิบที่น�ำมาผลิต
ผ่านสายส่งไฟฟ้าได้ 2 ทาง คือจากโรงไฟฟ้าไปสู่ โซลาร์ เ ซลล์ กั บ การผลิ ต โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ต่ า งก็ ม า
บ้านเรือนหรือจากบ้านเรือนกลับไปสูส ่ ายส่งก็ได้ แต่ที่ จากเทคโนโลยีสารกึ่งตัวน�ำเหมือนกัน แต่ท�ำไมการ
ผ่านๆ มาด้วยนโยบายของรัฐบาล กระแสไฟฟ้าได้ถก ู ใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ จึ ง ได้ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว จาก
บังคับให้ไหลไปในทิศทางเดียวเท่านัน ้ เงินจึงไหลออก จ�ำนวนผู้ใช้ประมาณ ร้อยละ 0.5 เมื่อ 20 ปีก่อน หรือ
จากกระเป๋าของผู้บริโภคเพียงอย่างเดียว ปัจจุบันนี้ ประมาณร้อยละ 95 ของจ�ำนวนประชากร เหตุผลส่วน
ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ผูบ ้ ริโภคสามารถ หนึ่งเป็นเพราะว่า ความแตกต่างของคู่แข่งทางการ
ผลิตไฟฟ้าจากหลังคาบ้านตนเองได้แล้ว โดยสามารถ ค้าของสองสินค้าดังกล่าว
ลดจ�ำนวนเงินที่เคยไหลออกอย่างเดียวให้ลดลงได้ ดังนั้น การผลักดันนโยบาย Net-metering
หรือถ้าดีกว่านี้อีกก็สามารถท�ำให้เงินไหลเข้ากระเป๋า จึงควรจะต้องยึดตามค�ำแนะน�ำของ ดร.เฮอร์มานน์
ตนเองได้ดว ้ ย ผูบ ้ ริโภคจึงกลายเป็น “Prosumer” เชียร์ นักเคลื่อนไหวด้านนโยบายพลังงานหมุนเวียน
นโยบายที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมากที่ สุ ด ง่ า ย ชาวเยอรมนีทว ี่ า่ “อย่าปล่อยให้การส่งเสริมพลังงาน
ที่สุด ลงทุนน้อยที่สุด ไม่ต้องซื้อมิเตอร์เพิ่มเติม ไม่ แสงอาทิตย์ในระบบพลังงานและระบบเศรษฐกิจใน
ต้องติดอุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าไหลย้อน และไม่ต้อง ปัจจุบัน อยู่ในมือของพ่อค้าพลังงาน เพราะมันจะ
ซื้อแบตเตอรี่ ก็คือ นโยบาย “Net-metering” คือ เหมือนกับการปล่อยให้การรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ อยู่ใน
การอนุญาตให้กระแสไฟฟ้าทีผ ่ ลิตได้จากโซลาร์เซลล์ มือเจ้าของเจ้าของอุตสาหกรรมการผลิตบุหรี”่ ต้อง
บนหลังคาบ้าน (ในตอนกลางวันซึ่งเจ้าของไม่อยู่ อยู่ในมือของผู้บริโภคที่เป็น Prosumer จึงจะเกิด
บ้าน) สามารถไหลเข้าสู่ระบบสายส่งได้ก่อน และใน ขึ้นได้ และการพัฒนาจึงจะยั่งยืนตามเจตนารมณ์ที่
เวลากลางคืน (เจ้าของบ้านกลับมา) ไฟฟ้าจากระบบ มนุษยชาติทั้งโลกร่วมกันก�ำหนด
สายส่งก็ไหลกลับเข้าบ้าน เมื่อครบเดือนก็คิดการใช้
สุทธิ (net) ตามค่าไฟฟ้าที่ปรากฏในมิเตอร์
ป ั จ จุ บั น ห ล า ย ป ร ะ เ ท ศ ไ ด ้ น� ำ น โ ย บ า ย
Net-metering ไปใช้อย่างกว้างขวางทั้งในประเทศ
ร�ำ่ รวยและประเทศยากจน เช่น สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย
สหรัฐอเมริกา แคนาดา อินเดีย ปากีสถาน และเคนยา
เป็นต้น แต่ประเทศไทยเรายังไม่มีการน�ำนโยบายนี้
เลยมาใช้

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 21


บทที่ 2
พัฒนาการของการผลิตไฟฟ้า
พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้ง
บนหลังคา (Solar PV Rooftop)
ในประเทศไทย
ประเทศไทยใช้งานระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน ตามระเบียบผูผ ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็ก SPP Small Power
แสงอาทิตย์มาตัง ้ แต่ชว ่ งปี 2530 เพือ ่ ช่วยเป็นแหล่ง Producer (มี ป ริ ม าณพลั ง งานไฟฟ้ า เสนอขาย
พลังงานให้กบ ั พืน้ ทีห
่ า่ งไกลให้มน ี ำ�้ ใช้เพือ
่ การอุปโภค มากกว่า 10 เมกะวัตต์ถึง 90 เมกะวัตต์) และผู้ผลิต
และบริโภค การท�ำการเกษตรกรรม และมีไฟฟ้าให้ ไฟฟ้ารายเล็กมาก VSPP Very Small Power Producer
แสงสว่างในเวลาค�่ำคืน (มีปริมาณพลังงานไฟฟ้าเสนอขายไม่เกิน 10 เมกะวัตต์)
ต่ อ มารั ฐ บาลมี น โยบายส่ ง เสริ ม การผลิ ต และในปี 2556 ได้ มี ก ารน� ำ อั ต รารั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า แบบ
ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์มากขึ้นภายใต้มาตรการ มาตรการส่ ง เสริ ม การรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน
ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน โดย หมุนเวียนระยะยาว หรือที่เรียกว่า Feed-in Tariff
คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้ (FiT) มาใช้กับโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสง
เห็นชอบในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน อาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop)
แสงอาทิ ต ย์ ด ้ ว ยการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า ตั้ ง แต่ ป ี 2550
เป็นต้นมา (ความจริงเริ่มตั้งแต่ปลายปี 2549) โดย จากมาตรการส่ ง เสริ ม การผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งาน
เริ่ ม จากการก� ำ หนดเป้ า หมายไว้ 500 เมกะวั ต ต์ แสงอาทิ ต ย์ ข องรั ฐ บาล สามารถแบ่ ง ประเภท
(Megawatt : MW) ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน การส่งเสริมและอัตราการรับซื้อไฟฟ้าดังนี้
ร้อยละ 20 ภายในระยะเวลา 15 ปี (Renewable Energy
Development Plan-REDP) และเพิม ่ เป็น 2,000 เมกะวัตต์ 1. โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน
และ 3,000 เมกะวัตต์ ในแผนพัฒนาพลังงานทดแทน แสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดิน
และพลังงานทางเลือกร้อยละ 25 ภายในระยะเวลา 10 ปี ก�ำหนดเป้าหมายรับซื้อไฟฟ้าเริ่มต้นที่ 500
(Alternative Energy Development Plan-AEDP) เมกะวัตต์ ในปี 2550 และเพิ่มเป็น 2,000 เมกะวัตต์
โดยในช่วงเริม ่ ต้น เมือ่ วันที่ 4 กันยายน 2549 ในปี 2556 โดยในวันที่ 4 ธันวาคม 2549 และ 9
กพช. ได้มม ี ติเห็นชอบให้มก ี ารส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า เมษายน 2550 กพช. ได้ก�ำหนดให้ส่วนเพิ่มราคารับ
จากพลังงานแสงอาทิตย์และพลังงานหมุนเวียนอืน ่ ๆ ซือ
้ ไฟฟ้าในอัตรา 8 บาทต่อหน่วย ระยะเวลาสนับสนุน
โดยใช้ ม าตรการจู ง ใจด้ า นราคาผ่ า นระเบี ย บการ 7 ปีทั้งกลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) และผู้ผลิต
รับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้า โดยก�ำหนดส่วนเพิ่ม ไฟฟ้ารายเล็กมาก (VSPP)
อัตรารับซื้อไฟฟ้า (Adder) จากราคารับซื้อไฟฟ้า

22 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ภายหลั ง การออกมาตรการให้ ส ่ ว นเพิ่ ม ฯ 6.50 บาทต่อหน่วย ในปีที่ 4-10 และ 4.50 บาทต่อ
ส� ำ หรั บ โครงการผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า รายเล็ ก และผู ้ ผ ลิ ต หน่วย ในปีที่ 11-25 โดยให้เป็นการลงทุนโดยชุมชน
ไฟฟ้ า รายเล็ ก มาก ปรากฏว่ า ยั ง ไม่ มี โ ครงการ เอง ก�ำหนดให้ใช้เงินกูจ ้ ากธนาคารของรัฐมาด�ำเนิน
พลังงานแสงอาทิตย์เสนอขายไฟฟ้า ซึ่งจากการ การ และให้คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน
ศึ ก ษาของส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (กบง.) รับไปออกระเบียบหลักเกณฑ์ในการพัฒนา
(สกว.) และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ โครงการฯ รวมถึงคัดเลือกหมูบ ่ า้ นทีม
่ ศ
ี ก ั ยภาพเพือ ่
พลังงาน (พพ). ได้วิเคราะห์ต้นทุน การผลิตไฟฟ้า สมัครเข้าร่วมโครงการ ปัจจุบน ั โครงการยังไม่มก ี าร
จากพลังงานหมุนเวียน พบว่าการส่งเสริมส�ำหรับ ด�ำเนินงาน ทัง ้ นี้ โครงการฯ รูปแบบเดิม เป็นแนวทาง
พลั ง งานลมและพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ยั ง ไม่ คุ ้ ม ค่ า ทีไ่ ม่สามารถด�ำเนินงานให้เป็นรูปธรรมได้ เนือ ่ งจาก
การลงทุน กพช. จึงมีมติเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน (1) ชุมชนจะไม่สามารถจัดหาพืน ้ ทีส่ ว่ นกลาง
2 5 5 0 เ ห็ น ช อ บ ใ ห ้ ข ย า ย ร ะ ย ะ เ ว ล า ส นั บ ส นุ น จัดตั้งโครงการได้ เพราะจะต้องใช้ที่ดินส่วนรวมถึง
ส�ำหรับพลังงานแสงอาทิตย์จาก 7 ปี เป็น 10 ปี 10-12 ไร่
นับจากวันเริ่มต้นจ�ำหน่ายไฟฟ้าเข้าระบบ และเมื่อ (2) ชุมชนจะไม่สามารถจัดหาเงินลงทุนได้
วันที่ 28 มิถุนายน 2553 กพช. มีมติลดอัตราส่วน เพราะการใช้กองทุนหมูบ ่ า้ นจะมีความเสีย ่ ง และชุมชน
เพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า Adder ลงเหลือ 6.50 บาท ไม่สามารถกู้เงินลงทุนจากธนาคารได้เอง และการ
ต่อหน่วย พร้อมหยุดรับค�ำร้องขอขายไฟฟ้าจาก ก�ำหนดให้ธนาคารของรัฐเท่านั้นเป็นผู้ปล่อยกู้นั้น
โครงการพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ บบติ ด ตั้ ง บนพื้ น ธนาคารของรัฐก็ไม่พร้อมรับความเสี่ยงที่จะปล่อย
ดินนับแต่นั้น ด้วย กพช. รับทราบผลการศึกษาว่า เงินกูใ้ ห้ชม
ุ ชนด�ำเนิน โครงการนี้
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เป็น (3) ชุมชนไม่สามารถจัดหาเทคโนโลยีด้วย
โครงการที่มีความสามารถผลิต ไฟฟ้าเข้าสู่ระบบใน ตนเองได้
ระหว่างปี 2553-2568 ประมาณ 48,411 ล้านหน่วย (4) ชุมชนยังไม่สามารถดูแลรักษาโรงไฟฟ้า
คิดเป็นร้อยละ 16 ของพลังงานหมุนเวียนทั้งหมด ด้วยตนเอง
แต่จะต้องใช้เงินสนับสนุนผ่านกลไกอัตราส่วนเพิ่มฯ
ประมาณ 289,932 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 3. โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งาน
72 ของเงินสนับสนุนทั้งหมด เนื่องจากอัตราส่วน แสงอาทิตย์แบบติดตัง ้ บนพืน้ ดินส�ำหรับหน่วยงาน
เพิ่มฯ ส�ำหรับพลังงานแสงอาทิตย์สูงกว่าพลังงาน ราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร
หมุนเวียนอื่นค่อนข้างมาก เมือ
่ วันที่ 15 สิงหาคม 2557 กพช. เห็นชอบ
พร้อมกันนั้น การประชุม กพช. ในครั้งนั้น ให้รบ
ั ซือ
้ ไฟฟ้าจากโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
ได้ เ ห็ น ชอบมาตรการส่ ง เสริ ม การผลิ ต ไฟฟ้ า แสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพื้นดินส�ำหรับหน่วยงาน
จากพลั ง งานหมุ น เวี ย นระบบ FiT โดยเห็ น ควรให้ ราชการและสหกรณ์ภาคการเกษตร (โครงการฯ) โดย
คณะกรรมการที่จะจัดตั้งขึ้นภายใต้ กพช. พิจารณา มีขนาดติดตั้งไม่เกิน 5 เมกะวัตต์ต่อแห่ง รวม 800
อั ต ราสนั บ สนุ น ในรู ป แบบ FiT ส� ำ หรั บ โครงการ เมกะวัตต์ ในอัตรา FiT 5.66 บาทต่อหน่วย ระยะเวลา
พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ที่ มี ก ารติ ด ตั้ ง บนหลั ง คา สนับสนุน 25 ปี ก�ำหนดการจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิง
ที่อยู่อาศัย และอาคารพาณิชย์ พาณิชย์ Scheduled Commercial Operation Date
(SCOD) ภายในเดือนธันวาคม 2558 แต่ในวันที่ 15
2. โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานจาก พฤษภาคม 2560 กพช. ได้มม ี ติ ให้ยต
ุ ก
ิ ารรับซือ
้ ไฟฟ้า
แสงอาทิตย์แบบติดตั้งในพื้นที่ชุมชน ตามโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
เป้ า หมาย 800 เมกะวั ต ต์ (โครงการละ แบบติดตั้งบนพื้นดินส�ำหรับหน่วยงานราชการและ
1 เมกะวัตต์) ก�ำหนดให้ด�ำเนินการเสร็จสิ้นภายใน สหกรณ์ภาคการเกษตรภายหลังจากการด�ำเนินการ
ปี 2557 และ กพช. มอบหมายให้สำ� นักงานกองทุน รับซื้อไฟฟ้าส�ำหรับหน่วยงานราชการจ�ำนวน 100
หมูบ
่ า้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ (สทบ.) เป็นเจ้าของ เมกะวัตต์ และสหกรณ์ภาคการเกษตรจ�ำนวน 119
โครงการ ก�ำหนดให้โครงการขายไฟฟ้าด้วยระบบ เมกะวัตต์ เสร็จสิน ้ เรียบร้อยแล้ว
FiT เป็นระยะเวลา 25 ปี ในอัตราทีล
่ ดลงเป็นขัน
้ บันได ทัง
้ นี้ ก่อนหน้านัน ้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ
ตามระยะเวลา คือ 9.75 บาท ต่อหน่วย ในปีที่ 1-3 และ ก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ได้หารือส�ำนักงาน

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 23


คณะกรรมการกฤษฎี ก าในประเด็ น ข้ อ กฎหมายที่ ร่วมโครงการฯ ได้ เช่น กรณีขององค์การสงเคราะห์
เกี่ยวข้องกับแนวทางการด�ำเนินโครงการฯ ส�ำหรับ ทหารผ่านศึก และ (4) กรณีองค์กรปกครองส่วน
หน่วยงานราชการ ซึ่งเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 ท้องถิน ่ (อปท.) แม้กฎหมายจัดตัง ้ อปท. จะก�ำหนด
ส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ได้มห ี นังสือตอบ ให้อำ� นาจในการด�ำเนินการจัดให้มแี ละบ�ำรุงการไฟฟ้า
ข้อหารือสรุปได้ดง ั นี้ (1) กรณีสว ่ นราชการ หากไม่มี ได้ แต่ตอ้ งเป็นระบบการบริการสาธารณะเพือ ่ ประโยชน์
กฎหมายให้อ�ำนาจส่วนราชการนั้นในการผลิตและ ของประชาชนในท้องถิน ่ ของตนเอง ไม่ได้หมายความ
จ�ำหน่ายไฟฟ้า ย่อมไม่สามารถเข้าร่วมโครงการฯ ว่าจะมีอ�ำนาจด�ำเนินการผลิตไฟฟ้าหรือร่วมทุนกับ
ได้ (2) กรณีมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ จะด�ำเนิน เอกชนในลักษณะทีเ่ ป็นการประกอบกิจการค้าขายให้
การได้ต้องอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์และอ�ำนาจหน้าที่ แก่บค ุ คลอืน ่ เป็นการทัว่ ไป อปท. จึงไม่มอ
ี ำ� นาจเข้าร่วม
ตามทีก ่ ำ� หนดไว้ในกฎหมายจัดตัง ้ รวมทัง
้ ต้องไม่ขด ั โครงการฯ ได้ อีกทั้งขัดต่อประเพณีการปกครองที่
หรือแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลัก ห้ามมิให้รฐ ั กระท�ำการค้าขายแข่งขันกับเอกชนด้วย
หากกฎหมายจัดตั้งมหาวิทยาลัยไม่ได้ก�ำหนดให้มี
วัตถุประสงค์และอ�ำนาจเกีย ่ วกับการผลิตและจ�ำหน่าย 4. โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสง
ไฟฟ้าอันเป็นการประกอบกิจการในเชิงพาณิชย์อย่าง อาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา
ชัดเจนแล้ว ย่อมไม่สามารถเข้าร่วมโครงการฯ ได้ (3) 4.1 โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสง
กรณีองค์การทีร่ ฐ ั จัดตัง ้ ขึน
้ หากกฎหมายจัดตัง ้ ไม่ได้ อาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคาด้วยอัตรา FiT พ.ศ.
ก�ำหนดให้มอ ี ำ� นาจในการประกอบกิจการอันมีลก ั ษณะ 2556 ในการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เมื่อวันที่
ในทางการค้า ย่อมไม่สามารถเข้าร่วมโครงการฯ ได้ 13 สิงหาคม 2556 ได้มีมติรับทราบมติของ กพช.
แต่ในกรณีทก ี่ ฎหมายจัดตัง ้ ให้อำ� นาจในการประกอบ ในการประชุมเมื่อวันอังคารที่ 16 กรกฎาคม 2556
กิจการอันมีลักษณะในทางการค้า ย่อมสามารถเข้า เห็นชอบให้มก
ี ารรับซือ
้ ไฟฟ้าจากโครงการผลิตไฟฟ้า

อัตรา FiT ส�ำหรับโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ.2556

กลุม
่ ประเภทอาคาร ก�ำลังการผลิตติดตัง
้ อัตรารับซือ
้ ไฟฟ้า (FiT)

(1) บ้านอยู่อาศัย ไม่เกิน 10 กิโลวัตต์ ( kWp) 6.96 บาทต่อวัตต์ (watt)

มากกว่า 10 ถึง 250 กิโลวัตต์


(2) อาคารธุรกิจขนาดเล็ก 6.55 บาทต่อวัตต์ (watt)
(kWp)
(3) อาคารธุรกิจขนาด มากกว่า 250 ถึง 1,000 กิโลวัตต์
6.16 บาทต่อวัตต์ (watt)
กลาง-ใหญ่/โรงงาน (kWp)

อัตรา FiT ส�ำหรับโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ.2557-2558

กลุม
่ ประเภทอาคาร ก�ำลังการผลิตติดตัง
้ อัตรารับซือ
้ ไฟฟ้า (FiT)

(1) บ้านอยู่อาศัย ไม่เกิน 10กิโลวัตต์ (kWp) 6.85 บาทต่อวัตต์ (watt)


มากกว่า 10 ถึง 250 กิโลวัตต์
(2) อาคารธุรกิจขนาดเล็ก 6.40 บาทต่อวัตต์ (watt)
(kWp)
(3) อาคารธุรกิจขนาด มากกว่า 250 ถึง 1,000 กิโลวัตต์
6.01 บาทต่อวัตต์ (watt)
กลาง-ใหญ่/โรงงาน (kWp)

24 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Rooftop ที่ ตด
ิ ตัง
้ บนหลังคาประเภทอาคารธุรกิจ/โรงงานพบว่า
PV System) โดยมีปริมาณก�ำลังการผลิตติดตัง ้ ของ ระบบของ กฟน. เท่ากับ 36.05 เมกะวัตต์สง ู สุดจ�ำนวน
แผงโฟโตโวลเทอิก (Photovoltaic Panel) รวม 200 96 ราย และ กฟภ. เท่ากับ 46.57 เมกะวัตต์สูงสุด
เมกะวัตต์ (MWp) จ�ำแนกเป็น 100 เมกะวัตต์ (MWp) จ� ำ นวน 73 ราย ทั้ ง นี้ พ บว่ า ส่ ว นใหญ่ ข นาดของ
ส�ำหรับอาคารประเภทบ้านอยูอ ่ าศัย และอีก 100 เมกะวัตต์ ระบบฯ มากกว่า 250-1,000 กิโลวัตต์สูงสุด
ส�ำหรับอาคารประเภทธุรกิจและโรงงาน ทัง ้ นี้ ให้มก
ี าร
เริ่มจ�ำหน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์เข้าสู่ระบบโครงข่าย 4.2 โครงการน�ำร่อง (Pilot Project) การ
ไฟฟ้าภายในปี 2556 ด้วยอัตราการรับซื้อแบบ FiT ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาอย่างเสรี
ระยะเวลาการสนับสนุน 25 ปี พ.ศ.2559 เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2558 สภาปฏิรูป
ในระหว่ า งนั้ น การติ ด ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปมี แห่งชาติ (สปช.) เห็นชอบข้อเสนอโครงการปฏิรป ู เร็ว
ปัญหาในเรือ ่ งความชัดเจนการตีความในค�ำนิยามของ (Quick win) เรื่ อ ง โครงการส่ ง เสริ ม การติ ด ตั้ ง
“โรงงาน” ตามกฎหมาย และปัญหาการขออนุญาต โซลาร์รฟ ู อย่างเสรี (ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์
ดัดแปลงอาคารตามข้อก�ำหนดของกรมโยธาธิการและ ส�ำหรับบ้านและอาคาร) ซึง ่ ต่อมาทีป ่ ระชุม กบง. เมื่อ
ผังเมือง ท�ำให้ผป ้ ู ระกอบการไม่สามารถด�ำเนินการจ่าย วันที่ 7พฤษภาคม 2558 ได้เห็นชอบหลักการการ
ไฟฟ้าเข้าสูร่ ะบบเชิงพาณิชย์ได้ภาย ในก�ำหนดต่อมา ด�ำเนินโครงการส่งเสริมการติดตัง ้ โซลาร์รฟ ู อย่างเสรี
เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม 2557 กพช. มีมติเห็นชอบ (โครงการส่งเสริมฯ) โดยเน้นให้เป็นการผลิตไฟฟ้าเพือ ่
ปรับอัตรารับซื้อไฟฟ้าจากโครงการผลิตไฟฟ้าจาก ใช้เองในบ้านและอาคารเป็นหลักแล้วจึงขายไฟฟ้าส่วน
พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ใ นรู ป แบบ FiT ส� ำ หรั บ ใช้ ใ น ทีเ่ กินให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายให้นอ ้ ยทีส่ ดุ ต่อมา
การรับซื้อไฟฟ้าในปี 2557-2558 โดยมีระยะเวลา ทีป ่ ระชุม กบง. วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2559 และวันที่
สนับสนุน 25 ปี โดยมีรายละเอียดดังนี้ 17 พฤษภาคม 2559 ได้เปลีย ่ นหลักการทีจ ่ ะให้มกี าร
โครงการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า จากการผลิ ต ไฟฟ้ า ขายไฟฟ้าส่วนเกินได้เป็น ไม่มก ี ารรับซือ้ ไฟฟ้าส่วนเกิน
พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาในปี 2556 ทีไ่ หลย้อนเข้าระบบสายจ�ำหน่าย และเพือ ่ ให้โครงการ
หรือ FiT 2556 เป้าหมาย 200 เมกะวัตต์สูงสุดได้ น�ำร่องฯ มีแรงจูงใจให้ผู้สนใจเข้าร่วมโครงการมาก
ด�ำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2559 มีปริมาณการติดตัง ้ ขึ้น ให้มีการยกเว้นค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบ
ทัง
้ สิน้ 129.68 เมกะวัตต์สง ู สุด แบ่งสัดส่วนการติดตัง ้ ด้านเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย
ของ กฟน. ร้อยละ 40 (50.98 เมกะวัตต์สง ู สุด จ�ำนวน เรียกเก็บจากผู้ผลิตไฟฟ้าด้วยระบบผลิตไฟฟ้าด้วย
2,163 ราย) และ กฟภ. ร้อยละ 60 (78.70 เมกะวัตต์ แสงอาทิตย์สำ� หรับบ้านและอาคาร เฉพาะผูเ้ ข้าร่วมใน
สูงสุด จ�ำนวน 3,972 ราย) ส�ำหรับการผลิตไฟฟ้า โครงการน�ำร่องฯ ครัง ้ นี้ จ�ำนวน 100 เมกะวัตต์แทน
พลังงานแสงอาทิตย์ทต ี่ ด
ิ ตัง ้ บนหลังคาประเภทบ้าน เมื่ อ วั น ที่ 11 สิ ง หาคม 2559 กกพ. จึ ง
อยู่อาศัยฯ พบว่า ระบบของ กฟน. เท่ากับ 14.93 ได้ ออกประกาศโครงการน�ำร่อง (Pilot Project)
เมกะวัตต์สง ู สุด จ�ำนวน 2,067 ราย และ กฟภ. เท่ากับ การผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ บ นหลั ง คา
33.12 เมกะวัตต์สูงสุด จ�ำนวน 3,894 ราย พบว่า อย่างเสรี พ.ศ. 2559 มีเป้าหมายก�ำลังการผลิตติดตัง ้
ประเภทบ้านอยูอ ่ าศัยส่วนใหญ่ระบบฯ มีขนาด 9-10 รวมทัง ้ สิ้น 100 เมกะวัตต์ ไม่มีการรับซื้อไฟฟ้าส่วน
กิโลวัตต์สง ู สุด เกิน แต่ให้ยกเว้นค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบด้าน
ส่ ว นการผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า เฉพาะกลุ่มที่เชื่อมต่อที่ระดับ

กลุม
่ เป้าหมาย (เมกะวัตต์ , MWp)
ลักษณะ
บ้าน อาคาร รวม

การไฟฟ้านครหลวง 10 40 50

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 10 40 50

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 25


© บารมี เต็มบุญเกียรติ / กรีนพีซ

แรงดันต�ำ่ กว่า 12 กิโลโวลต์ โดยแบ่งปริมาณการตาม บนหลังคาเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าใช้เองเป็นหลักและ


กลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ดังนี้ ขายไฟฟ้าส่วนที่เหลือจากการใช้เข้าสู่ระบบได้
(2) ราคารับซื้อไฟฟ้าส่วนเกินในอัตราไม่เกิน
4.3 โครงการโซลาร์ภาคประชาชน พ.ศ.2562 1.68 บาทต่อหน่วย (kWh) ซึง ่ เป็นอัตราต้นทุนการผลิต
เมือ
่ วันที่ 23 พฤษภาคม 2562 กกพ. ได้ดำ� เนินการ ไฟฟ้าหน่วยสุดท้ายระยะสั้น (Short Run Marginal
ตามมติ กพช. เมือ ่ วันที่ 24 มกราคม 2562 และมติ Cost : SRMC) ตามข้อมูลของ กฟผ.
กบง. เมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม 2561 ออกประกาศเชิญ (3) ขนาดก� ำ ลั ง ผลิ ต ติ ด ตั้ ง ไม่ เ กิ น 10
ชวนการรับซือ ้ ไฟฟ้าโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน กิโลวัตต์ (kWp)
แสงอาทิตย์ทต ี่ ดิ ตัง
้ บนหลังคาส�ำหรับภาคประชาชน (4) ปริมาณรับซื้อของการไฟฟ้าไม่เกิน 100
ประเภทบ้านอยูอ ่ าศัย พ.ศ.2562 (โครงการโซลาร์ภาค เมกะวัตต์ โดยแบ่งเป็นพืน
้ ที่ กฟน. 30 เมกะวัตต์ และ
ประชาชน) โดยมีสาระส�ำคัญ คือ กฟภ. 70 เมกะวัตต์ ก�ำหนดวันจ่ายเข้าระบบในปี 2562
(1) กลุ่มเป้าหมายเป็นภาคครัวเรือน ผู้ใช้ (5) ระยะเวลารับซื้อ 10 ปี ด้วยหลักการว่า
ไฟฟ้าประเภทบ้านอยู่อาศัย สามารถติดแผงโซลาร์ เป็ น การติ ด แผงโซลาร์ บ นหลั ง คาเพื่ อ ผลิ ต กระแส
ไฟฟ้าใช้เองเป็นหลักและขายไฟฟ้าส่วนที่เหลือจาก

26 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


การใช้เข้าสูร่ ะบบได้ ดังนัน
้ จึงเป็นหลักการซือ
้ และขาย (1) การรับซื้อการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสง-
ไฟฟ้าระบบหักลบยอดบิล (Net Billing) อาทิตย์บนหลังคา แบบ FiT ปี 2556 จ�ำนวน 1,619
ความคื บ หน้ า ของโครงการ ณ วั น ที่ 7 ราย ก� ำ ลั งผลิ ต ติ ด ตั้ ง 93.69 เมกะวั ต ต์ ก� ำ หนด
มิถุนายน 2562 มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 1,379 วันที่จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ (Commercial
ราย รวมก�ำลังผลิตติดตัง ้ 6,863 กิโลวัตต์ หรือ 6.863 Operation Date COD) ภายใน 31 ธันวาคม 2556
เมกะวัตต์ เท่านัน้ แบ่งเป็นระบบของ กฟน. 280 ราย (2) การรั บ ซื้ อ การผลิ ต ไฟฟ้ า จากเซลล์
1.218 เมกะวัตต์ และระบบของ กฟภ. จ�ำนวน 1,129 แสงอาทิตย์บนหลังคา แบบ FiT ปี 2558 (รับซื้อเพิ่ม
ราย 5.645 เมกะวัตต์ ให้ครบ 100 เมกะวัตต์) จ�ำนวน 4,513 ราย ก�ำลัง
ผลิตติดตัง ้ 35.89 เมกะวัตต์ ก�ำหนดวัน COD ภายใน
5. ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ 31 ธันวาคม 2558 รวมข้อ (1) และ (2) ปริมาณรับซือ ้
ติดตั้งบนหลังคาเพื่อใช้งานเอง ไฟฟ้า 129.58 เมกะวัตต์และ
สืบเนื่องจากการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสง- (3) การผลิ ต ไฟฟ้ า จากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์
อาทิ ต ย์ ที่ ติ ด ตั้ ง บนหลั ง คาได้ รั บ การส่ ง เสริ ม จาก บนหลังคา (Pilot Project) ปี 2559 (ไม่ขายเข้าระบบ,
ภาครั ฐ โดยการรั บ ซื้ อ ไฟฟ้ า แบบ FiT ในปี 2556 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน-
ท�ำให้การผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้ง พพ.) จ�ำนวน 184 ราย ก�ำลังผลิตติดตัง ้ 6 เมกะวัตต์
บนหลังคาเป็นที่รู้จักและคุ้นเคยมากขึ้น ประกอบกับ (4) การผลิ ต ไฟฟ้ า จากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์
ราคาของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ไม่ บนหลังคา (Self Consumptions) จ�ำนวน 461 ราย
สูงจึงท�ำให้บุคคลทั่วไปสามารถจัดหามาใช้งานได้ ก�ำลังผลิตติดตั้ง 161 เมกะวัตต์ และ
ซึ่งต่อมาความแพร่หลายในการผลิตไฟฟ้าพลังงาน (5) การผลิ ต ไฟฟ้ า จากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์
แสงอาทิตย์เพือ ่ ใช้งานเองเพิม ่ มากขึน ้ ทัง
้ ทีต
่ ด
ิ ตัง
้ บน บนหลังคา (Private PPA) จ�ำนวน 33 ราย ก�ำลัง
หลังคา และบนพื้นดินเพื่อช่วยลดค่าไฟฟ้า ผลิตติดตัง ้ 40 เมกะวัตต์ รวมปริมาณไฟฟ้าทีไ่ ม่ขาย
เข้าระบบตามข้อ (3) – (5) 207 เมกะวัตต์
สถานะรับซือ ้ ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ตาม
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ข้อมูลอ้างอิง
(AEDP) ณ เดือนกันยายน 2561 • รายงานสถานภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
จากเป้าหมาย 6,000 เมกะวัตต์ มีพน ั ธะผูกพัน แสงอาทิตย์ของประเทศไทย พ.ศ.2559-2560
กับภาครัฐแล้ว 6,704 ราย และมีก�ำลังผลิตติดตั้ง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรก ั ษ์พลังงาน
3,250 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น กระทรวงพลังงาน
• มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ และ
(ก) โซลาร์ฟาร์ม 474 ราย ก�ำลังผลิตติดตัง ้
มติคณะกรรมการนโยบายพลังงาน ส�ำนักงาน
2,694 เมกะวัตต์
นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
(ข) โซลาร์รูฟท็อป 3,131 ราย ก�ำลังผลิต
• ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน
ติดตั้ง 130 เมกะวัตต์
(ค) โซลาร์ ร าชการฯ 99 ราย ก� ำ ลั ง ผลิ ต
ติดตั้ง 130 เมกะวัตต์
ทั้ ง นี้ มี ข ้ อ มู ล การผลิ ต ไฟฟ้ า จากเซลล์
แสงอาทิตย์บนหลังคา ในปัจจุบัน จาก 6,810 ราย
ก�ำลังผลิตติดตั้ง 336.58 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 27


บทที่ 3
ปัญหาของการผลิตไฟฟ้าพลังงาน
แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา
(Solar PV Rooftop) ในประเทศไทย
ปัจจุบันการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ หรือยัง ซึ่งจากการตรวจสอบนโยบายและมาตรการ
ที่ติดตั้งในประเทศไทย อาจจ�ำแนกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมถึ ง การรวบรวมความเห็ น ของ
คือ ประชาชนและผู้ประกอบการ พบว่ามีปัญหาอุปสรรค
ประกอบกันหลายประการจนกลายเป็นการลดทอน
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ติดตั้งและผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ แรงจูงใจทีจ ่ ะให้ประชาชนเข้ามีสว ่ นร่วมกันในการผลิต
เองและขายไฟฟ้าส่วนเกินเข้าระบบหลักตามโครงการ ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ไปโดยปริยาย ดังต่อไปนี้
ส่งเสริมของรัฐบาล โดยมีการแบ่งตามประเภทผู้ใช้ 1.1 ขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในการขอติดตั้ง
ไฟฟ้าและขนาดก�ำลังผลิต ดังนี้ ที่ยังสร้างภาระให้ประชาชนเกินควร
การติ ด ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปไม่ ว ่ า จะเป็ น ผู ้ ใ ช้
ไฟฟ้าประเภทไหน หากอยูใ่ นกลุม ่ ทีม่ ขี นาดการติดตัง ้
(1) บ้านอยู่อาศัย ไม่เกิน 10 กิโลวัตต์ (kWp)
ไม่เกิน 1,000 กิโลวัตต์ ในการปฏิบต ั ติ ามกฎหมายใน
มากกว่า 10 ถึง 250 ปัจจุบน ั จะต้องเกีย ่ วข้องกับหน่วยงาน 3 หน่วยงาน คือ
(2) อาคารธุรกิจขนาดเล็ก
กิโลวัตต์ (kWp) • ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน
(3) อาคารธุรกิจขนาด มากกว่า 250 ถึง 1,000 แม้ ว ่ า การผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ ต�่ ำ กว่ า 1,000 กิ โ ลโวลต์
กลาง-ใหญ่/โรงงาน กิโลวัตต์ (kWp) แอมแปร์ หรือ 1,000 กิโลวัตต์ที่จ�ำหน่ายผ่านระบบ
จ�ำหน่ายไฟฟ้าและผลิตเพื่อใช้ในกิจการของตนเอง
จะได้ รั บ การยกเว้ น ไม่ ต ้ อ งขอรั บ ใบอนุ ญ าตตาม
กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ติดตั้งและผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้
พระราชกฤษฎีกากําหนดประเภท ขนาด และลักษณะ
เองรวมถึงผลิตและขายไฟฟ้ากันเองโดยไม่ได้ขาย
ของกิจการพลังงาน ทีไ่ ด้รบ ั การยกเว้นไม่ตอ ้ งขอรับ
ไฟฟ้าเข้าระบบหลัก
ใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ.2552
แต่เป็นกิจการที่ต้องแจ้งต่อส�ำนักงาน กกพ. ตาม
1. ปัญหาอุปสรรคของกลุม ่ ทีต
่ ด
ิ ตัง
้ เพือ

ประกาศ กกพ. เรื่อง การก�ำหนดให้กิจการพลังงาน
ขายไฟฟ้าเข้าระบบ
ทีไ่ ด้รบ ั การยกเว้นไม่ตอ ้ งขอรับใบอนุญาตเป็นกิจการ
แม้ จ ะมี ข ้ อ มู ล บ่ ง ชั ด ว่ า ราคาของระบบ
ทีต ่ อ
้ งแจ้ง พ.ศ.2551 ดังนัน ้ ผูต ้ ด
ิ ตัง ้ โซลาร์รฟ
ู ท็อป
โซลาร์เซลล์มีทิศทางที่ต�่ำลงอย่างรวดเร็ว แต่การ
จึงต้องไปยื่นแบบแจ้งประกอบกิจการพลังงานที่ได้
ติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทยกลับไม่ขยายตัว
รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาต ที่ส�ำนักงาน
เท่าทีค
่ วรแม้วา่ จะมีโครงการส่งเสริมของรัฐบาลออก
กกพ.
มาอยู่เป็นระยะ สิ่งที่ต้องตั้งค�ำถามคือว่า รัฐบาลมี
มาตรการสร้างแรงจูงใจให้กบ ั ประชาชนเพียงพอแล้ว

28 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


© Basilio H. Sepe / Greenpeace

• การไฟฟ้ า ฝ่ า ยจ� ำ หน่ า ย ด้ ว ยการติ ด ตั้ ง 1.2 ระยะเวลาที่ ป ระกาศโครงการและ


โซลาร์รูฟท็อปในระบบต่ อเข้ า กั บ ระบบสายส่ งจาก ก�ำหนดระยะเวลารับซื้อไฟฟ้าเข้าระบบมีระยะเวลา
การไฟฟ้า On Grid ที่ระบบเชื่อมผ่านระบบจ�ำหน่าย สั้นหรือกระชั้นชิด
ของการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย ผูต ้ ดิ ตัง ้ ต้องด�ำเนินการ การติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปอย่างถูกกฎหมาย
ตามมาตรฐานในด้านความปลอดภัยและมาตรฐานใน และต้องการเข้าโครงการขายไฟฟ้าของรัฐจะต้องมี
การเชื่อมโยงเข้ากับระบบตามข้อก�ำหนดระบบโครง ความพร้อมทั้งด้านเงินทุน การจัดเตรียมเอกสาร
ข่ายของการไฟฟ้าอย่างเคร่งครัด มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม ของหน่วยงานต่างๆ ตามทีก ่ ฎหมายก�ำหนดให้ครบถ้วน
เติมจากค่าติดตัง ้ เช่น ค่าใช้จา่ ยในการเชือ ่ มโยงระบบ แต่ ห ากรั ฐ ก� ำ หนดระยะเวลาของโครงการสั้ น หรื อ
ไฟฟ้า การตรวจสอบระบบอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายอื่น กระชัน้ ชิดเกินไป จะเป็นอุปสรรคต่อการมีสว่ นร่วมของ
ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ประชาชนในการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป ตามนโยบาย
• ส�ำนักงานโยธาท้องถิน ่ เนือ ่ งจากในปัจจุบน ั ของรัฐบาลได้
การติดตัง ้ โซลาร์รฟ ู ท็อป ถูกมองว่าเป็นการก่อสร้าง กรณีตว ั อย่าง การรับซือ ้ โซลาร์รฟ
ู ท็อป แบบ
ดัดแปลงอาคาร แม้วา่ ปัจจุบน ั จะไม่ตอ ้ งยืน ่ ขอใบอนุญาต FiT ปี 2556 กกพ. ออกประกาศวันที่ 6 กันยายน
ดัดแปลงอาคาร อ.1 แล้ว (ส�ำหรับพืน ้ ทีต ่ ดิ ตัง
้ แผงไม่เกิน 2556 และก�ำหนดให้ผู้ได้รับการคัดเลือกจะต้องลง
160 ตารางเมตร น�้ำหนักเฉลี่ยไม่เกิน 20 กิโลกรัม นามในสัญญาซือ ้ ขายไฟฟ้าโดยเร็วภายในเวลาทีก ่ าร
ต่อตารางเมตร) แต่ต้องยื่นรายการค�ำนวณความ ไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายก�ำหนด และจะต้องจ่ายไฟฟ้าเข้า
แข็ ง แรงของโครงสร้ า งหลั ง คา ลงนามรั บ รอง ระบบการไฟฟ้าภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2556 รวม
โดยวิศวกรโยธา และยื่นแบบ ข.1 แจ้งเพื่อทราบที่ ระยะเวลาทั้งหมด 4 เดือนเท่านั้น
ส�ำนักงานโยธาท้องถิ่น ท�ำให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายให้ ในขณะที่ โ ครงการวางเป้ า หมายไว้ ที่ 200
กับวิศวกรโยธาเพิ่มเติม เมกะวัตต์ แต่ด้วยระยะเวลาที่กระชั้นชิด อาจท�ำให้
ทัง้ นีใ้ นอดีต ผูต
้ ด
ิ ตัง
้ โซลาร์รฟ ู ท็อปต้องยืน ่ ขอ ผู้สนใจเกิดปัญหาขึ้นหลายด้าน เช่น การจัดหางบ
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หรือใบอนุญาต ลงทุน การติดต่อว่าจ้างช่างติดตั้ง การจัดเตรียม
รง.4 ด้วย ปัจจุบันการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปขนาด เอกสารราชการที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการตรวจสอบ
การติดตั้งไม่เกิน 1,000 กิโลวัตต์ ได้รับการยกเว้น ความพร้อมของการไฟฟ้าเองที่ไม่สามารถท�ำได้ทัน
ไม่ต้องยื่นขอใบอนุญาต รง.4 แล้ว ตามเวลาทีก ่ ำ� หนด จนผูส ้ นใจเข้าโครงการไม่เป็นไปตาม

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 29


เป้าหมาย และต้องมีการขยายระเวลาพร้อมทัง ้ มีการ 3 บาทเศษในขณะนั้น แต่ด้วยระยะเวลาโครงการที่
ปรับลดอัตรารับซือ ้ ไฟฟ้าแบบ FiT ลงมา เช่น ประเภท สั้ น และกระชั้ น ชิ ด อี ก ทั้ ง ยั ง มี อุ ป สรรคในการต้ อ ง
ครัวเรือนเดิมรับซือ ้ 6.96 บาทต่อหน่วยลดเหลือ 6.85 ขอใบอนุ ญ าต รง.4 ยอดการเข้ า ร่ ว มโครงการ
บาทต่อหน่วย และลดเป้าหมายจาก 200 เมกะวัตต์เหลือ ของประชาชนจึงได้เพียงแค่ครึง ่ เดียวจากเป้าหมายที่
เพียง 100 เมกะวัตต์ ในปี 2558 ปัจจุบน ั โครงการนี้ วางไว้ 200 เมกะวัตต์
เสร็จสิน ้ แล้ว โดยเมือ ่ ปี 2561 พบข้อมูลว่ามีปริมาณ ต่อมารัฐบาลประกาศโครงการน�ำร่อง (Pilot
รับซือ ้ ไฟฟ้าเพียง 129.58 เมกะวัตต์เท่านัน ้ Project) การผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์
ล่ า สุ ด โครงการโซลาร์ รู ฟ ภาคประชาชนที่ บนหลังคาอย่างเสรี พ.ศ.2559 แม้จะมีชื่อว่าเป็น
กกพ. ออกประกาศเมื่อ 23 พฤษภาคม 2562 วาง โซลาร์รฟ ู ท็อปเสรี แต่รฐ ั บาลกลับไม่ยอมรับซือ ้ ไฟฟ้า
เป้าหมายเฉพาะประเภทผูใ้ ช้ไฟครัวเรือน 100 เมกะวัตต์ ส่วนเกินจากประชาชนเลย เพียงแต่ให้มีการยกเว้น
และก�ำหนดอัตรารับซือ ้ ไฟฟ้าส่วนเกินที่ 1.68 ต่อหน่วย ค่าธรรมเนียมในการตรวจสอบด้านเครื่องวัดหน่วย
โดยต้องจ่ายเข้าระบบให้ทันภายในสิ้นปี 2562 รวม ไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายเรียกเก็บจากผู้ผลิต
ระยะเวลาเพิม ่ ขึน้ มาเป็น 6 เดือน แต่ ณ เดือนมิถน ุ ายน ไฟฟ้าด้วยระบบผลิตไฟฟ้าด้วยแสงอาทิตย์ส�ำหรับ
2562 มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ 1,379 ราย และมีกำ� ลัง บ้านและอาคารแทนเท่านัน ้ ผลลัพธ์คอ ื จากเป้าหมายที่
ติดตัง ้ 6.8 เมกะวัตต์เท่านัน ้ ตัง ้ ไว้ 100 เมกะวัตต์ แต่ ณ ปี 2561 พบว่ามีจ�ำนวน
1.3 ไม่มม ี าตรการสนับสนุนด้านการเงินจาก ผู้เข้าร่วมโครงการ 184 ราย ก�ำลังผลิตติดตัง ้ เพียง
ภาครัฐและเอกชน 6 เมกะวัตต์เท่านัน ้
แม้ว่าการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปจะมีค่าใช้จ่าย ล่ า สุ ด คื อ โครงการโซลาร์ ภ าคประชาชน
ลดลงอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับอดีต จากระยะ พ.ศ.2562 ประกาศราคารับซือ ้ ไฟฟ้าส่วนเกินในอัตรา
เวลาคืนทุนร่วม 10 ปี เหลือ 4-5 ปีในปัจจุบัน แต่ด้วย 1.68 บาทต่อหน่วย ในขณะที่ราคาขายไฟฟ้าบ้านใน
พฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าของครัวเรือนส่วนใหญ่ทอ ี่ าจ ปัจจุบน ั อยูท ่ ี่ 3.68 บาทต่อหน่วย (ไม่รวมภาษีมล ู ค่า
ไม่สอดคล้องกับการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เพิม ่ ) ผลปรากฏว่าจากเป้าหมายทีต ่ งั้ ไว้ 100 เมกะวัตต์
ทีเ่ กิดขึน ้ เฉพาะในช่วงทีม ่ แี สงแดด ท�ำให้ประชาชนเห็นว่า ณ เดือนมิถน ุ ายน 2562 ทีผ ่ า่ นมา มีผเู้ ข้าร่วมโครงการ
อาจไม่คุ้มค่าหากต้องลงทุนด้วยเงินก้อนใหญ่หลัก เพียง 6.8 เมกะวัตต์เท่านัน ้
หมืน ่ หลักแสนในคราวเดียวเพือ ่ ติดตัง
้ โซลาร์รฟ ู ท็อป 1.5 ความไม่มน ั่ ใจในมาตรฐานของช่างติด
เพื่อลดค่าไฟฟ้าหรือขายไฟฟ้าส่วนเกินให้กับรัฐบาล ตัง ้ และอุปกรณ์ทใี่ ช้ รวมทัง ้ การบริการหลังติดตัง ้
1.4 ราคารับซื้อไฟฟ้าตามโครงการของ ปั ญ หาลั ก ษณะนี้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ไ ม่ ต ่ า งจากการ
รัฐบาลไม่จง ู ใจ สร้างบ้าน หรือการน�ำรถเข้าอูซ ่ อ่ ม ปัญหาทีพ ่ บส�ำหรับ
รัฐบาลประกาศรับซื้อไฟฟ้าจากการติดตั้ง การติดตัง ้ โซลาร์รฟ ู ท็อป เริม ่ จากการขาดความรูใ้ น
โซลาร์รฟ ู ท็อปเป็นครัง ้ แรกในปี 2556 ตามโครงการ ระบบการท�ำงานโซลาร์รูฟท็อป มาตรฐานและแหล่ง
ผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ที่มาของอุปกรณ์ที่จะใช้ของผู้บริโภค ช่างโฆษณา
พ.ศ.2556 ด้วยอัตรา FiT ตัง ้ แต่ 6.16 บาทต่อหน่วย โอ้อวดเกินจริง ค�ำนึงถึงแต่กำ� ไรมากกว่าคุณภาพงาน
ส�ำหรับกลุ่มธุรกิจขนาดกลาง-ใหญ่/โรงงาน 6.55 และขาดความรับผิดชอบในการให้บริการหลังการติด
บาทต่อหน่วย ส�ำหรับอาคารธุรกิจขนาดเล็ก และ ตัง ้ จ�ำเป็นจะต้องมีกลไกรับรองทีม ่ มี าตรฐาน มีความ
6.96 บาทต่ อ หน่ ว ย ส� ำ หรั บ บ้ า นอยู ่ อ าศั ย และใน น่าเชือ ่ ถือ และสามารถใช้กลไกทางกฎหมายก�ำกับดูแล
การขยายระยะเวลาโครงการได้ ป ระกาศลดราคา ได้อย่างเหมาะสม
รับซื้อให้ต�่ำลงอีกเล็กน้อย แม้จะมีอัตรารับซื้อที่สูง
กว่าราคาที่การไฟฟ้าขายให้ประชาชนซึง ่ อยูป่ ระมาณ

30 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ตัวอย่างที่ 1 ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา
ด้วยอัตรา Feed-in Tariff (FiT) พ.ศ.2556

ตัวอย่างที่ 2 ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมในโครงการโซลาร์ภาคประชาชน พ.ศ.2562

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 31


2. ปัญหาอุปสรรคของกลุม ่ ทีต่ ด ิ ตัง
้ โดย ได้แต่ไม่มก ี ารรับซือ้ ท�ำให้ครัวเรือนทีต ่ ดิ ตัง ้ ได้ประโยชน์
ไม่ได้ขายไฟฟ้าเข้าระบบ จากโซลาร์รฟ ู ท็อป เฉพาะช่วงกลางวันทีต ่ นเองใช้งาน
ด้ ว ยภาระค่ า ไฟฟ้ า ที่ ป รั บ สู ง ขึ้ น ตามล� ำ ดั บ ส่วนไฟฟ้าทีผ ่ ลิตได้เกินจ่ายเข้าระบบของการไฟฟ้าโดย
ประกอบกับเทคโนโลยีและราคาของโซลาร์เซลล์ที่ต�่ำ ไม่มค ี า่ ตอบแทน หรือ “จ่ายให้ฟรี” นัน ่ เอง
ลงมา แต่ด้วยปัญหาอุปสรรคต่างๆ ที่ได้กล่าวมา จากปัญหาดังกล่าว เพือ ่ ให้ได้ความคุม ้ ค่าจาก
ข้างต้น ท�ำให้เกิดการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปมากขึ้น การติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปท�ำให้ผู้ติดตั้งในกลุ่มบ้าน
ซึ่งมีทั้งที่แจ้งและไม่แจ้งต่อส�ำนักงาน กกพ. จึงท�ำให้ อยู่อาศัยบางรายเลือกที่จะหลบเลี่ยงและระมัดระวัง
ไม่ ใ ห้ ก ารไฟฟ้ า ตรวจพบการหมุ น กลั บ ของมิ เ ตอร์
ไม่สามารถยืนยันได้ว่ามีปริมาณการติดตั้งรวมแล้ว
ด้วยการปิดระบบการท�ำงานของโซลาร์รูฟท็อปใน
จ�ำนวนเท่าใด กลุม ่ ทีต
่ ด ิ ตัง
้ โดยไม่ได้ขายไฟฟ้าเข้าระบบ
วันที่ตรงกับการไฟฟ้ามาจดมิเตอร์ ส่งผลให้ก�ำลัง
อาจแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มครัวเรือน และกลุ่ม
ผลิตติดตัง ้ โซลาร์รฟ ู ท็อปของบ้านอยูอ ่ าศัยกลุม ่ นีไ้ ม่
อาคารภาคธุรกิจ ซึ่งประสบปัญหาดังนี้
ปรากฏในรายงานของภาครัฐไปโดยปริยาย
2.1 ปัญหาของกลุ่มครัวเรือน พบว่า เมื่อ
2.2 ปัญหาของกลุ่มอาคารภาคธุรกิจ และ
มีการติดตั้งโซลาร์ รู ฟท็ อปไปแล้ ว ไฟฟ้ า พลั งงาน
ซื้อขายไฟฟ้ากันเอง
แสงอาทิ ต ย์ ที่ ผ ลิ ต ได้ อ าจมากกว่ า ปริ ม าณการใช้
พบข้อมูลปัญหาส�ำคัญทีท ่ ำ� ให้ตน ้ ทุนค่าใช้จา่ ย
ไฟฟ้าในครัวเรือนบางช่วงเวลา เช่น ช่วงไปท�ำงาน
ทีส่ ง
ู ขึน ้ โดยไม่จำ� เป็น และถูกยกน�ำมาเป็นข้อเรียกร้อง
นอกบ้ า นตอนกลางวั น ท� ำ ให้ มิ เ ตอร์ เ กิ ด การหมุ น
ต่อ กกพ. 2 ประการ คือ
ย้อนกลับ และท�ำให้ตว ั เลขมิเตอร์นอ ้ ยลงได้ หากการ
• การก� ำ หนดผู ้ ป ระกอบการต้ อ งติ ด ตั้ ง
ไฟฟ้าตรวจพบ การไฟฟ้าจะท�ำการแก้ไขด้วยการ
เครื่องรีเลย์ (relay) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการป้องกัน
ติดตั้งเครื่องป้องกันการหมุนย้อนกลับของมิเตอร์
กระแสไฟฟ้ า เกิ น เข้ า มาในระบบสายส่ ง โดยเครื่ อ ง
หรือเปลี่ยนเป็นมิเตอร์แบบดิจิตอลที่ตัวเลขหน่วยค่า
ดั ง กล่ า วต้ อ งลงทุ น ติ ด ตั้ ง อยู ่ ร ะหว่ า งประมาณ
ไฟฟ้าไม่ย้อนกลับ โดยใช้เหตุผลว่ามิเตอร์เสียและค่า
500,000-600,000 บาทต่อเมกะวัตต์
ไฟฟ้าต�่ำลงผิดปกติ
• การจ่ายค่าไฟฟ้าส�ำรอง (back up rate)
ผูต้ ด
ิ ตัง้ มิเตอร์บางรายอาจต้องเสียค่าใช้จา่ ย
ที่จะเรียกเก็บจากกลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้าใช้เองรายใหญ่
ให้กับการไฟฟ้าในการแก้ไขปัญหาของมิเตอร์คิดค่า
โดยให้เหตุผลว่า ในกรณีทก ี่ ารผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์-
ไฟฟ้าด้วย บางรายเมือ ่ ถูกตรวจพบปัญหาจะถูกระงับ
รู ฟ ท็ อ ปมี ป ั ญ หาก็ จ ะต้ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า จากระบบปกติ
การออกบิลค่าไฟฟ้าและถูกเรียกเก็บค่าไฟฟ้าแบบ
ซึ่งประเด็นนี้ภาคเอกชนมองว่า ในเมื่อภาครัฐไม่ได้
เฉลี่ยย้อนหลัง 3 เดือนนับแต่เดือนที่เกิดปัญหาเรื่อย
สนับสนุนให้มีการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รูฟท็อปอยู่
ไป จนกว่าจะยินยอมให้แก้ไขมิเตอร์หรือเปลีย ่ นมิเตอร์
แล้ว ก็ไม่ควรมาเก็บค่าใช้จ่ายอื่นๆ เพิ่มขึ้นอีก
เป็นมิเตอร์ดจ ิ ต
ิ อล ส�ำหรับไฟฟ้าส่วนเกินทีผ ่ ลิตได้จาก
พลังงานแสงอาทิตย์ การไฟฟ้ายอมให้จา่ ยเข้าสูร่ ะบบ

32 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


© Greenpeace / Arnaud Vittet

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 33


บทที่ 4
ความแตกต่างระหว่างระบบหักลบ
ยอดบิลกับระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า

ปั จ จุ บั น ระบบการคิ ด ค่ า ไฟฟ้ า ในส่ ว นที่ ทัง


้ นี้ เพือ
่ ให้เห็นความแตกต่างในการคิดเงิน
ประชาชนซื้อจากระบบมาใช้ และส่วนที่เราขายเข้า ของทั้งสองระบบนี้ รายงานฉบับนี้จึงเปรียบเทียบ
ระบบไฟฟ้าไป มีอยู่ด้วยกัน 2 ระบบคือ การค�ำนวณค่าไฟฟ้าของสองระบบนี้ให้เห็นเปรียบ-
เทียบกัน
• ระบบหักลบยอดบิล (Net Billing) ระบบ
หักลบยอดบิลนีจ ้ ะมีราคาไฟฟ้าทีแ่ ตกต่างกัน ระหว่าง 4.1 ความรูพ ้ นื้ ฐานเรือ ่ งการผลิตไฟฟ้าจาก
ราคาไฟฟ้าทีค ่ รัวเรือนซือ
้ มาจากการไฟฟ้าฯ (เช่น 3.8 โซลาร์รูฟท็อป และการซื้อไฟฟ้าจากระบบ
บาทต่อหน่วย) กับราคาที่การไฟฟ้ารับซื้อจากบ้าน เมื่อเราติดตั้งโซลาร์เซลล์เพื่อผลิตไฟฟ้า เรา
เรือนประชาชน (เช่น 1.68 บาทต่อหน่วย) ระบบนี้จึง สามารถแบ่งสถานการณ์การผลิตและการใช้ไฟฟ้า
จ�ำเป็นต้องแยกการบันทึกปริมาณไฟฟ้าทีซ ่ อื้ จากการ ออกเป็น 4 ส่วน คือ
ไฟฟ้าฯ และที่ขายให้การไฟฟ้าฯ ออกจากกัน เพราะ • ส่ ว น A: คื อ ปริ ม าณการใช้ ไ ฟฟ้ า ใน
จะน�ำมาคูณด้วยราคาค่าไฟฟ้าที่แตกต่างกันนั่นเอง ช่ ว งเวลาที่ ไ ม่ มี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า (ช่ ว งเวลาหลั ง
ก่อนที่จะมาหักลบยอดบิลกันเป็นขั้นตอนสุดท้าย เที่ ย งคื น จนถึ ง เช้ า มื ด ) ซึ่ ง เราต้ อ งใช้ แ ละซื้ อ ไฟฟ้ า
• ระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า (Net Metering) จากการไฟฟ้าฯ
ระบบหักลบหน่วยไฟฟ้านี้ ราคาทีซ ่ อ
ื้ จากระบบและขาย • ส่ ว น B: คื อ ปริ ม าณที่ มี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า
ให้ระบบจะมีราคาเดียวกัน (ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือราคาที่ และมี ก ารใช้ ไ ฟฟ้ า เท่ า กั น (ช่ ว งเวลากลางวั น ) ซึ่ ง
ผูบ้ ริโภคซือ้ จากการไฟฟ้า) ดังนัน ้ ระบบนีจ ้ งึ ไม่จำ� เป็น หมายถึงเราไม่จ�ำเป็นต้องซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ
ต้องแยกบันทึกปริมาณไฟฟ้าที่ซื้อจากการไฟฟ้าฯ และเราก็ไม่มีไฟฟ้าเหลือไปขายการไฟฟ้าฯ ด้วย
และทีข ่ ายให้การไฟฟ้าฯ แต่จะใช้การหักลบหน่วยไฟฟ้า • ส่ ว น C: คื อ ปริ ม าณที่ มี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า
ที่ขาย (ให้การไฟฟ้าฯ) และที่ซื้อ (มาจากการไฟฟ้าฯ) มากกว่าปริมาณการใช้ไฟฟ้า (ช่วงเวลากลางวัน)
เสียก่อน แล้วค่อยน�ำไปคูณกับราคา (ซึ่งเป็นราคา ซึ่งหมายถึง ไฟฟ้าส่วนที่เหลือนั้น เราสามารถขาย
เดียวกัน) เพื่อที่จะดูว่าในเดือนนั้น เราจะต้องจ่าย ไฟฟ้าเข้าระบบได้
ให้การไฟฟ้าฯ หรือได้รับเงินจากการไฟฟ้าฯ จ�ำนวน • ส่วน D: คือ ปริมาณการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลา
เท่าไร ที่ไม่มีการผลิตไฟฟ้า (ช่วงเวลาพระอาทิตย์ตกดิน
จนถึงเที่ยงคืนจนถึงเช้ามืด)

34 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ภาพ สถานการณ์การผลิตและใช้ไฟฟ้าตามช่วงเวลา

เพือ
่ ให้เข้าใจได้งา่ ยๆ เราจะสมมุตใิ ห้การไฟฟ้า
การไฟฟ้าฯ เท่ากับ 296 บาทต่อเดือน หรือการติดตัง ้
ทั้ง 4 ส่วน คิดเป็นปริมาณไฟฟ้า 50 หน่วยต่อเดือน และขายไฟฟ้าในระบบนี้จะช่วยให้ประหยัดเงินได้ 274
เท่าๆ กัน และให้ราคาค่าไฟฟ้าเท่ากับ 3.8 บาทต่อหน่วย บาทต่อเดือน
และราคาทีก ่ ารไฟฟ้าฯ จะซือ ้ จากเรา (ในช่วงทีเ่ ราผลิต (ค) กรณี ร ะบบหั ก ลบหน่ ว ยไฟฟ้ า (Net-
ไฟฟ้ามากกว่าที่ใช้) คือ 1.68 บาทต่อหน่วย Metering)
แต่ ห ากเป็ น กรณี ที่ เ ราใช้ ร ะบบหั ก ลบหน่ ว ย
4.2 การเปรียบเทียบค่าไฟฟ้า ไฟฟ้า ระบบจะหักลบปริมาณหน่วยไฟฟ้าส่วนที่ซื้อ
(ก) กรณีไม่มีระบบโซลาร์เซลล์ (ส่วน A+D =100 หน่วย) กับปริมาณหน่วยไฟฟ้าส่วน
ในกรณีที่เรายังไม่ได้ติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์ ทีข่ ายไฟฟ้า (ส่วน C = 50 หน่วย) ก่อน หรือเท่ากับใน
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเราตลอดเดือนจะเท่ากับ กรณีนี้เราจะเป็นฝ่ายที่ซื้อไฟฟ้าสุทธิ 50 หน่วย จาก
150 หน่วย (มาจากส่วน A, B และ D ส่วนละ 50 นัน ้ ระบบหักลบหน่วยไฟฟ้าจะน�ำปริมาณการซือ ้ ไฟฟ้า
หน่วย) แน่นอนว่าเราต้องซือ ้ หมด สุทธิ (50 หน่วยต่อเดือน) ไปคูณกับราคาไฟฟ้า 3.8
้ จากการไฟฟ้าฯ ทัง
โดยเสียค่าไฟฟ้าเท่ากับ 570 บาทต่อหน่วย บาทต่อหน่วย เท่ากับ 190 บาทต่อเดือน หรือเท่ากับ
(ข) กรณีระบบหักลบยอดบิล (Net Billing ) ว่า หากติดตั้งโซลาร์เซลล์และคิดค่าไฟฟ้าตามระบบ
ถ้าเป็นระบบ Net Billing แบบที่ใช้อยู่ในโครงการ นี้จะประหยัดเงินได้ 380 บาทต่อเดือน ซึ่งประหยัดได้
โซลาร์ภาคประชาชน ระบบจะบันทึกข้อมูลแยกเป็น 2 มากกว่าระบบหักลบยอดบิลถึง 106 บาทต่อเดือน
ส่วนคือ
1. ส่วนการซื้อไฟฟ้า เท่ากับ ปริมาณไฟฟ้า 4.3 การเปรียบค่าไฟฟ้ากรณีที่ปริมาณการซื้อ
ส่วนที่ซื้อ (หรือส่วนที่ A+D) แล้วคูณด้วย 3.8 บาท และการขายไฟฟ้าเท่ากัน
ต่อหน่วย หรือเท่ากับ (50+50) คูณด้วย 3.8 = 380 คราวนี้ เราลองสมมุติให้ปริมาณการซื้อและ
บาทต่อเดือน การขายไฟฟ้าเท่ากัน โดยการเพิม ่ ปริมาณไฟฟ้าส่วน
2. ส่วนการขายไฟฟ้า เท่ากับ ปริมาณไฟฟ้า ที่ขายเข้าระบบในส่วน C เพิ่มมากขึ้นเป็น 100 หน่วย
่ าย (หรือส่วน C) แล้วคูณด้วย 1.68 บาทต่อหน่วย ต่อเดือน ท�ำให้ปริมาณที่เราซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้า
ทีข
หรือเท่ากับ 50 คูณด้วย 1.68 = 84 บาทต่อเดือน (ส่วน A+D = 100 หน่วย) เท่ากับส่วนที่ขาย (ส่วน B
จากนั้น ระบบจะน�ำส่วนที่ซื้อและขายไฟฟ้า = 100 หน่วย) พอดี
มาหักลบกัน ซึ่งในกรณีนี้เราจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้าให้

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 35


© บารมี เต็มบุญเกียรติ / กรีนพีซ

ในกรณี ข องระบบหั ก ลบยอดบิ ล ก็ จ ะแยก ในกรณี ของระบบหักลบยอดบิล ก็ จะแยก


บันทึก (ก) ค่าไฟฟ้าส่วนที่ซื้อไว้เท่ากับ 100 หน่วย
บันทึก (ก) ค่าไฟฟ้าส่วนที่ซื้อไว้เท่ากับ 100 หน่วย
คูณด้วย 3.8 บาทต่อหน่วย เท่ากับ 380 บาทต่อ คูณด้วย 3.8 บาทต่อหน่วย เท่ากับ 380 บาทต่อ
เดือน และ (ข) ค่าไฟฟ้าส่วนที่ขายเท่ากับ 100 หน่วยเดือน และ (ข) ค่าไฟฟ้าส่วนที่ขายเท่ากับ 150 หน่วย
คูณด้วย 1.68 บาทต่อหน่วย เท่ากับ 168 บาทต่อ คูณด้วย 1.68 บาทต่อหน่วย เท่ากับ 252 บาทต่อ
เดือน ก่อนที่จะน�ำส่วน (ก) และ ส่วน (ข) มาหักลบกัน
เดือน ก่อนที่จะน�ำส่วน (ก) และ ส่วน (ข) มาหักลบกัน
ท�ำให้เรายังต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเท่ากับ 380-168 = 212ท�ำให้เรายังต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเท่ากับ 380-252 = 128
บาทต่อเดือนอยูด ่ ี แม้วา่ ไฟฟ้าทีเ่ ราซือ
้ และทีเ่ ราขายจะ
บาทต่อเดือน ให้กบ ั การไฟฟ้าฯ แม้วา่ ในความเป็นจริง
เท่ากันก็ตาม เราจะเป็นคนขายไฟฟ้าให้กับการไฟฟ้าฯ มากกว่า
แต่ถ้าเป็นระบบหักลบหน่วยไฟฟ้าปริมาณ ก็ตาม
การซื้อและขายไฟฟ้าจะเท่ากันพอดี นั่นแปลว่าเราจะ แต่ถ้าเป็นระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า ระบบจะ
ไม่ต้องจ่ายค่าไฟฟ้าให้การไฟฟ้าฯ เลย (ค่าไฟฟ้า หักลบยอดหน่วยขายและซื้อไฟฟ้า ซึ่งในกรณีนี้ เรา
เท่ากับ 0 บาทต่อเดือน) หรือเท่ากับว่าเราสามารถ ก็จะมีปริมาณการขายไฟฟ้าสุทธิเท่ากับ 50 หน่วย
ประหยัดค่าไฟฟ้าได้มากกว่าระบบหักลบยอดบิลถึง เท่ากันพอดี ซึง ่ ต่อมาเราก็จะน�ำ 50 หน่วย มาคูณกับ
212 บาทต่อเดือน เลยทีเดียว 3.68 เท่ากับ 190 บาทต่อเดือน หรือเท่ากับเราจะมี
รายได้จากการไฟฟ้าฯ 190 บาทต่อเดือน ซึง ่ มากกว่า
4.4 การเปรียบเทียบค่าไฟฟ้ากรณีทไี่ ฟฟ้าเหลือ ระบบหักลบยอดบิลถึง 318 บาทต่อเดือน เลยทีเดียว
ขายเข้าระบบ 50 หน่วย/เดือน
คราวนี้เราสมมุติให้เรามีไฟฟ้าเหลือขายเข้า 4.5 สรุป
ระบบ (ส่วน C) เพิ่มขึ้นอีกจาก 100 หน่วย เป็น 150 ระบบหักลบยอดบิลจึงเป็นระบบทีไ่ ม่เป็นธรรม
หน่วย มากกว่าปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ 100 หน่วย (ส่วน ต่อผูท ้ ตี่ ด
ิ ตัง
้ ระบบโซลาร์เซลล์ เพราะแม้กระทัง ่ ตนเอง
A+D) นั่นแปลว่า เราจะมีไฟฟ้าเหลือขายสุทธิเท่ากับ สามารถเป็นผู้ขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าแล้วก็ตาม แต่ก็
50 หน่วย คราวนี้ลองมาดูว่าระบบทั้งสองจะให้ผล ยังต้องเป็นผู้จ่ายเงินค่าไฟฟ้าให้การไฟฟ้าอยู่ดี ใน
แตกต่างกันอย่างไร ขณะที่ระบบหักลบหน่วยจะเป็นระบบที่คิดแบบตรงไป
ตรงมาตามการซื้อและการขายอย่างแท้จริง

36 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 37
บทที่ 5
โซลาร์รูฟท็อปกับความมั่นคง
ของระบบไฟฟ้า

การผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ ช่วยเสริม ของประเทศ ซึง ่ สูงกว่ามาตรฐานร้อยละ 15 มากถึง


ความมั่นคงของระบบไฟฟ้าในช่วงกลางวันได้อย่าง 8,962 เมกะวัตต์ จึงสามารถสัง ่ เดินเครือ่ งโรงไฟฟ้า
ชัดเจน โดยเฉพาะช่วงฤดูรอ ้ นทีม
่ ก
ี ารใช้ไฟฟ้าสูงมาก ส�ำรองเหล่านี้ เพือ ่ ผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอได้อก ี หลายปี
โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปก็ จ ะผลิ ต ไฟฟ้ า ได้ ดี ตอบสนองต่ อ เมื่ อ เที ย บกั บ โซลาร์ เ ซลล์ ทั้ ง ประเทศที่ มี อ ยู ่
การใช้ไฟฟ้าที่สูงขึ้นได้ ประมาณ 3,250 เมกะวัตต์ โดยมีส่วนของโซลาร์-
แต่ในอีกด้านหนึ่ง โซลาร์รูฟท็อป ไม่สามารถ รูฟท็อปประมาณ 130 เมกะวัตต์ ก็เป็นสัดส่วนไม่ถึง
ผลิตไฟฟ้าช่วงกลางคืนได้ รวมทั้งในแต่ละวัน แต่ละ หนึ่งในสี่ของก�ำลังผลิตส�ำรองเท่านั้น
เดื อ น ก็ อ าจจะผลิ ต ได้ ม ากน้ อ ยแตกต่ า งกั น จึ ง มี ทั้ ง นี้ ยั ง มี โ รงไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ ที่ ก� ำ ลั ง
ประเด็ น เกี่ ย วกั บ ความมั่ น คงของระบบไฟฟ้ า โดย ก่อสร้าง และรัฐก�ำหนดให้สร้างเพิม ่ ขึน
้ ในช่วงปี 2563-
หน่วยงานภาครัฐและนักวิชาการบางส่วน พูดถึง 2567 ตามแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า PDP2018
ความจ� ำ เป็ น ในการก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ อี ก 7 โรง ทั้ ง โรงไฟฟ้ า ก๊ า ซธรรมชาติ และเขื่ อ น
เพิ่มขึ้น เพื่อรองรับเวลากลางคืนที่ไม่มีไฟฟ้าจาก ขนาดใหญ่ในประเทศลาว รวมจะมีก�ำลังผลิตเพิ่มขึ้น
แสงอาทิตย์แล้ว อีกมากถึง 7,600 เมกะวัตต์
หากพิ จ ารณาข้ อ มู ล และข้ อ เท็ จ จริ ง ของ ในด้ า นการบริ ห ารจั ด การระบบการผลิ ต
ประเทศไทย รวมทั้งแนวทางการจัดการพลังงาน ไฟฟ้าและระบบสายส่งไฟฟ้าที่ กฟผ. ร่วมกับ กฟน.
ของประเทศอื่นๆ ก็ จ ะเห็ น ว่ า การบริ ห ารจั ด การ และ กฟภ. ด�ำเนินการมาตลอดจนถึงปัจจุบัน พบ
ความมั่ น คงของระบบไฟฟ้ า ที่ มี โ ซลาร์ รู ฟ ท็ อ ป ว่า การใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน แต่ละสัปดาห์ จะมีความ
จ�ำนวนมาก ไม่ได้นา่ กังวลมากนัก เพราะมีทางออก ผันผวนเพิ่มขึ้นและลดลงหลายพันเมกะวัตต์อยู่แล้ว
ที่ ห ลากหลาย ทั้ ง ที่ ป ระเทศไทยได้ ด� ำ เนิ น การ โดยเฉพาะในช่ ว งวั น เสาร์ และอาทิ ต ย์ ดั งตั ว อย่ า ง
อยู่แล้ว และแนวทางที่ควรพัฒนาต่อไปในระยะสั้น ข้อมูลในภาพที่แสดงการใช้ไฟฟ้าของทั้งประเทศใน
และระยะยาว ดังนี้ วันเสาร์ที่ 16 กับวันอาทิตย์ที่ 17 พฤษภาคม 2563
จะเห็นว่า การใช้ไฟฟ้าในช่วงกลางดึกลดลงอย่าง
1. การบริ ห ารจั ด การความมั่ น คงในช่ ว ง มาก หน่วยงานการไฟฟ้าฯ ก็ตอ ้ งบริหารจัดการระบบ
ระยะ 3–5 ปีข้างหน้า การผลิตไฟฟ้าให้สอดคล้องกับการใช้ไฟฟ้าที่ลดลง
ข้ อ มู ล ก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ทั้ ง หมด ณ เดื อ น ประมาณ 9,500 เมกะวัตต์ในช่วง 22.00 – 08.00 น.
ตุลาคม 2562 เท่ากับ 44,443 เมกะวัตต์ ในขณะ (ลูกศรที่ 1 กับลูกศรที่ 2)
ที่ ค วามต้ อ งการพลั ง ไฟฟ้ า สู ง สุ ด หรื อ พี ค ของปี
2562 เท่ากับ 30,853 เมกะวัตต์ จึงมีก�ำลังผลิต
ไฟฟ้าส�ำรองของประเทศสูงถึง 13,590 เมกะวัตต์
หรือร้อยละ 44 ของพีคความต้องการไฟฟ้าสูงสุด

38 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


การไฟฟ้าฯ บริหารจัดการการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นและลดลง
ประมาณ 10,000 เมกะวัตต์อยู่แล้วทุกๆ สัปดาห์

• ช่วง 22.00 น. ของวันที่ 16 ถึง 8.00 น. ของวันที่ 17 การใช้ไฟฟ้าลดลง 9,500 เมกะวัตต์ (ลูกศรที่ 1 กับลูกศรที่ 2)
• ช่วง 17.30 - 21.00 น. การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 5,500 เมกะวัตต์ (ลูกศรที่ 3 กับลูกศรที่ 4)

หลังจากนั้น การใช้ไฟฟ้าก็เพิ่มสูงขึ้น โดย ในช่ ว งที่ ไ ม่ มี แ สงอาทิ ต ย์ เ ป็ น แนวทางที่ ไ ม่ คุ ้ ม ค่ า


เฉพาะในช่วงหัวค�ำ่ หน่วยงานการไฟฟ้าฯ ต้องบริหาร เนื่องจากโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่เหล่านี้ สร้างมาเพื่อ
จัดการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นประมาณ 5,500 เมกะวัตต์ใน เดินเครื่องเต็มก�ำลังตลอด 24 ชั่วโมง
ช่วงเวลาเพียง 3 ชัว่ โมงครึง ่ ระหว่าง 17.30 - 21.00 น. แต่เรามีแนวทางอื่นๆ อีกหลายแนวทาง ซึ่ง
(ลู ก ศรที่ 3 กั บ ลู ก ศรที่ 4) ทั้ ง นี้ หากไม่ ใ ช่ ใ นช่ ว ง เหมาะสมมากกว่าในการตอบสนองการผลิตไฟฟ้า
วิ ก ฤตโควิ ด -19 การใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และลดลง ที่เพิ่มขึ้นและลดลงของโซลาร์รูฟท็อปและพลังงาน
น่าจะมากกว่านี้อีก หมุนเวียนอื่นๆ โดยมีความคุ้มค่ามากกว่าการสร้าง
ดังนัน้ จึงเห็นได้วา่ ทัง้ สามหน่วยงานการไฟฟ้าฯ โรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ และบางแนวทางทีเ่ น้นการบริหาร
ก็บริหารจัดการระบบการผลิตไฟฟ้าและระบบสายส่ง จั ด การจะมี ก ารลงทุ น และต้ น ทุ น น้ อ ยกว่ า กั น มาก
ไฟฟ้าให้สอดคล้องกับการใช้ไฟฟ้าทีล ่ ดลงและเพิม ่ ขึน
้ จึงช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อีกด้วย
ประมาณ 10,000 เมกะวัตต์อยูแ่ ล้วทุกๆ สัปดาห์ ดังนัน ้ แนวทางต่างๆ เหล่านี้ สามารถพัฒนาและ
การบริหารจัดการความมั่นคงของระบบไฟฟ้า จาก ด�ำเนินการร่วมกันได้ตามความเหมาะสม โดยสามารถ
การลดลงและเพิ่มขึ้นของไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ที่ แบ่งได้เป็นสองกลุ่ม ได้แก่
จะเพิ่มมากขึ้น 3,000 เมกะวัตต์ ใน 3 ปีข้างหน้า
จึงน่าจะด�ำเนินการได้อย่างไม่มีปัญหา เนื่องจากมี 1) ความมั่ น คงในระบบสายส่ ง รวมของ
ประสบการณ์ที่ผ่านมาหลายสิบปี อีกทั้งยังสามารถ ประเทศ
พั ฒ นาต่ อ ยอดกั บ ความรู ้ แ ละเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ใน แนวทางแรก คือ การบริหารจัดการโรงไฟฟ้า
ปัจจุบันและอนาคตได้อีกด้วย ทีม
่ ค
ี วามยืดหยุน
่ ให้มป
ี ระสิทธิภาพมากขึน
้ โดยโรงไฟฟ้า
เหล่านีส
้ ามารถเพิม่ และลดก�ำลังผลิตไฟฟ้าได้โดยไม่มี
2. การบริหารจัดการความมั่นคงในระยะยาว ปัญหาและไม่มีต้นทุนเพิ่ม ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำ
หากเราพิ จ ารณาความมั่ น คงของระบบ สูบกลับ โรงไฟฟ้าแก๊สชีวภาพ และโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ
ไฟฟ้าทีม ่ โี ซลาร์รฟ
ู ท็อปเพิม
่ ขึน
้ ราว 10,000 เมกะวัตต์ ขนาดเล็ก โดยออกแบบระบบและแรงจูงใจให้ลดหรือ
ภายใน 10 ปี แนวทางการสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ หยุดผลิตในช่วงที่มีแสงอาทิตย์และเพิ่มก�ำลังผลิต
ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือถ่านหิน เพื่อผลิตไฟฟ้าเฉพาะ ในช่วงเย็นและค�่ำ

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 39


แนวทางที่ ส อง คื อ การลงทุ น ปรั บ ความ ไฟฟ้าจากระบบไปชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า
ยืดหยุน่ ของโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ทม ี่ อ
ี ยูแ่ ล้วให้มค
ี วาม หากมีการบริหารจัดการในแนวทางนี้ จะท�ำให้
ยืดหยุน ่ มากขึน้ กว่าปัจจุบน ั โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าก๊าซ- จ�ำนวนรถยนต์ไฟฟ้ายิ่งมีมากขึ้นเท่าไร ก็จะยิ่งช่วย
ธรรมชาติ ให้สามารถเพิ่มและลดก�ำลังผลิตไฟฟ้าได้ เสริมความมัน ่ คงของระบบไฟฟ้าในช่วงเย็นและหัวค�ำ่
มากขึ้นและรวดเร็วขึ้น โดยมีต้นทุนในการด�ำเนินการ ได้มากยิ่งขึ้น
ผลิตไฟฟ้าที่ต�่ำลงกว่าเดิม แนวทางที่ ห ้ า การเก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า ใน
แนวทางที่ ส าม การปรั บ ระบบค่ า ไฟฟ้ า ที่ แบตเตอรี่ ทั้งการลงทุนแบตเตอรี่ขนาดเล็กในแต่ละ
คิดตามช่วงเวลา (Time of Use หรือ TOU) ให้ค่า บ้าน แต่ละอาคาร หรือการลงทุนแบตเตอรีข ่ นาดใหญ่
ไฟฟ้ามีราคาถูกลงในช่วงกลางวันและแพงขึน ้ ในช่วง ระดับสายส่งไฟฟ้า ถึงแม้ว่าต้นทุนการเก็บพลังงาน
กลางคืน โดยเฉพาะในช่วงหัวค�่ำซึ่งควรจะแพงที่สุด ไฟฟ้าในแบตเตอรี่ จะลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่จาก
เพื่อให้ผู้ใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ จะพิจารณาลงทุนเพื่อ ข้อมูลในปัจจุบันยังมีต้นทุนที่สูงอยู่ โดยแบตเตอรี่
ปรับการใช้ไฟฟ้าของตนเองให้เหมาะสม (Demand แต่ละประเภท มีต้นทุนแตกต่างกันมาก
Response) รวมทั้ ง ผู ้ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า กลุ ่ ม ต่ า งๆ อาจจะ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลต้นทุนการเก็บพลังงาน
บริ ห ารจั ด การให้ เ หมาะสมมากขึ้ น ทั้ ง นี้ รั ฐ อาจจะ ไฟฟ้าของแบตเตอรี่ขนาดเล็กส�ำหรับระบบในบ้าน
ด�ำเนินการแบบ “ระบบค่าไฟฟ้าทดลองตามความ เรือน แบตเตอรี่ประเภทตะกั่ว เติมน�้ำกรด มีต้นทุน
สมัครใจ” จนเมื่อเหมาะสมแล้ว จึงบังคับใช้เป็นระบบ ประมาณ 16.7 บาทต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ยไฟฟ้ า (kWh)
ค่าไฟฟ้าต่อไป แบตเตอรี่ ป ระเภท Lithium iron Phosphate
แนวทางที่สี่ การออกแบบและบริหารจัดการ มีต้นทุนประมาณ 6.7 บาทต่อหน่วย ส่วนแบตเตอรี่
รถยนต์ไฟฟ้าที่ก�ำลังเพิ่มมากขึ้นให้ตอบโจทย์ความ ประเภท LiLA hybrid มีตน ้ ทุนประมาณ 5 บาทต่อหน่วย
มัน
่ คงของระบบไฟฟ้า เนือ ่ งจากรถยนต์ไฟฟ้าทุกคัน แนวทางที่ ห ก การเก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า เป็ น
มีแบตเตอรี่ เมือ ่ กลับมาถึงทีพ ่ ก
ั โดยเฉพาะในช่วงเย็น ความเย็น หรือเก็บเป็นความร้อน ซึ่งมีต้นทุนในการ
หรือหัวค�่ำ ในเมื่อแบตเตอรี่ในรถยังมีไฟฟ้าเหลืออยู่ เก็บพลังงานถูกกว่าการเก็บในแบตเตอรี่ ตัวอย่าง
บ้าง จึงควรออกแบบระบบแอพพลิเคชั่นให้สามารถ เช่น การเก็บไฟฟ้าเป็นความเย็นในตู้เย็นขนาดเล็ก
จ่ายไฟฟ้าจากรถยนต์ไฟฟ้ามาใช้ในบ้านหรือส่งขาย แบบ PCM มีต้นทุนประมาณ 1.7 บาทต่อหนึ่งหน่วย
เข้าระบบไฟฟ้าได้ เพือ ่ ช่วยเสริมความมัน ่ คงของระบบ ไฟฟ้า (kWh) ส่วนการเก็บไฟฟ้าเป็นน�ำ้ ร้อนในเครือ ่ ง
ไฟฟ้าในช่วงค�ำ่ ทีม ่ ก
ี ารใช้ไฟฟ้าเพิม ่ สูงขึน ้ มาก จนเมือ่ ท�ำน�้ำร้อนขนาดเล็ก dT 40K มีต้นทุนประมาณ 0.4
ถึงช่วงดึกที่การใช้ไฟฟ้าในระบบน้อยลง จึงค่อยใช้ บาทต่อหน่วยเท่านั้น

40 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


2) ความมัน
่ คงในระบบสายส่งย่อยในแต่ละ แสงอาทิตย์และพลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ได้อย่างมี
พื้นที่ ประสิทธิภาพมากขึ้นๆ อย่างต่อเนื่อง จึงสามารถ
แนวทางแรก การจับคู่ (Demand Matching) รักษาความมั่นคงของระบบไฟฟ้าได้อย่างดี ในการ
ระหว่างกลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รูฟท็อปกับผู้ใช้ เปลี่ ย นผ่ า นไปสู ่ ก ารใช้ พ ลั งงานหมุ น เวี ย นทั้ ง หมด
ไฟฟ้าช่วงกลางวัน เช่น ห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซือ ้ 100 เปอร์เซ็นต์ในระยะยาว
คอมมูนิตี้มอลล์ โรงพยาบาล โรงเรียน ฯลฯ เพื่อให้
ไฟฟ้าทีเ่ หลือใช้จากระบบโซลาร์รฟ ้ ที่ ข้อมูลอ้างอิง
ู ท็อป ถูกใช้ในพืน
บริเวณใกล้เคียง ไม่ตอ ้ งถูกส่งผ่านสายส่งไฟฟ้าไปใช้ • ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, ก�ำลังผลิต
ในพื้นที่ไกลออกไป ไฟฟ้าในปัจจุบน
ั www.eppo.go.th/index.pdp/th
แนวทางที่ ส อง การลงทุ น เชื่ อ มระบบจ่ า ย • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย, กราฟและ
ไฟฟ้าในแต่ละพื้นที่ (Feeder) เข้าด้วยกัน จากเดิม สถิติก�ำลังผลิตไฟฟ้าและความต้องการพลัง
ที่ เ ป็ น ระบบเส้ น ตรงกระจายออกไป (คล้ า ยระบบ ไฟฟ้าสูงสุด, http://www.egat.co.th/index.
ก้างปลา) โดยเชื่อมต่อปลาย Feeder เข้าด้วยกัน php?option=com_content&view=arti-
มากขึน ้ ๆ เรื่อยๆ (ให้กลายเป็นระบบวง loop) และมี cle&layout=edit&id=80&Itemid=116)
สวิตช์เปิด–ปิด ก็จะเพิ่มความมั่นคงของระบบไฟฟ้า • Peter Adelmann, 2019, Decentralization
ได้มาก ซึ่งในแต่ละปี การไฟฟ้าฯ ได้จัดสรรค่าไฟฟ้า of the Electricity Supply – Advanced
ที่เราจ่าย ไปลงทุนพัฒนาระบบสายส่งไฟฟ้า ปีละ Solar Home Systems, presentation in the
หลายหมื่ น ล้ า นบาทอยู ่ แ ล้ ว ก็ ค วรจะวางแผนและ seminar “Power to the People”, Faculty of
ก�ำหนดการลงทุนพัฒนาสายส่งไฟฟ้าตามแนวทาง Architecture, Chulalongkorn University,
นี้ให้ชัดเจน มีกรอบเวลาที่จะครอบคลุมพื้นที่ต่างๆ Bangkok, 2nd December 2019, Institute
ทั่วประเทศ for Decentralized Electrification, Entrepre-
แนวทางทีส ่ าม การปรับหม้อแปลงไฟฟ้า โดย neurship and Education, Ulm, Germany
ปรั บ การตั้ ง ค่ า ที่ ห ม้ อ แปลงหรื อ เปลี่ ย นหม้ อ แปลง
เฉพาะบางตัวที่แรงดันล้นเกิน
การด� ำ เนิ น การและพั ฒ นาแนวทางต่ า งๆ
เหล่ า นี้ ร ่ ว มกั น จะท� ำ ให้ เ ราสามารถบริ ห ารจั ด การ
การผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และลดลงของพลั ง งาน

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 41


บทที่ 6
ระบบการสนับสนุนทางการเงิน
ส�ำหรับโซลาร์รูฟท็อป

หากมองในแง่ของการลงทุนและการผลิต เสีย ่ งในการประกอบอาชีพร่วมด้วย) การให้สน ิ เชือ


่ ใน
พลังงานไฟฟ้าแล้ว แม้การผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์- ระบบโซลาร์รฟ ู ท็อปจึงถือว่ามีความเสีย ่ งต�ำ่ มาก และ
รูฟท็อปจะมีค่าใช้จ่ายในการเริ่มต้น (Upfront cost) อาจจะสามารถจัดระบบช�ำระคืนสินเชื่อแบบอัตโนมัติ
สูง แต่หลังจากติดตัง ้ แล้วจะมีคา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนิน ได้ด้วย
งานต�่ ำ มาก บวกกั บ เมื่ อ สามารถลดค่ า ใช้ จ ่ า ยค่ า ในปัจจุบน ั ธนาคารพาณิชย์บางแห่งมีการให้
ไฟฟ้า และ/หรือสามารถขายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบได้ ก็จะ สินเชื่อในการลงทุนระบบโซลาร์รูฟท็อปกับโรงงาน
เป็นการลงทุนทีใ่ ห้ผลตอบแทนคืนมาภายในระยะเวลา อาคารพาณิชย์ ซึ่งมีระยะเวลาการคืนทุนที่เร็วมาก
ประมาณ 7 ปี โดยที่ผู้ลงทุนหรือผู้ด�ำเนินการจ�ำเป็น และเมื่อระบบโซลาร์รูฟท็อปมีต้นทุนที่ต�่ำลงมาก ดัง
ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องน้อยมาก นัน ้ จึงไม่ใช่เรือ
่ งทีย
่ ากนักทีธ
่ นาคารพาณิชย์ สถาบัน
ส่วนรูปแบบของกระแสเงินลงทุนและกระแส การเงินต่างๆ จะขยายการให้สินเชื่อมายังบ้านเรือน
รายรั บ รายจ่ า ยดั ง กล่ า วจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ลไกการ ของครัวเรือนธรรมดา
สนับสนุนทางการเงินที่เหมาะสม มิฉะนั้น เงินลงทุน ปัจจัยส�ำคัญทีจ ่ ะมีสว่ นตัดสินใจของธนาคาร
เริ่มต้นที่ค่อนข้างสูงอาจกลายเป็นอุปสรรคในการ พาณิชย์ สถาบันการเงิน ในการให้สินเชื่อกับระบบ
ลงทุนในระบบโซลาร์รูฟท็อปได้ และด้วยผลตอบแทน โซลาร์รูฟท็อปของครัวเรือน คือ
คืนทีส่ ม�ำ่ เสมอ มีการเก็บรวบรวมข้อมูลทีแ่ น่นอน และ (ก) รูปแบบและอัตราการรับซื้อไฟฟ้า โดย
มีระยะเวลาการคืนทุนประมาณ 3-8 ปี ในการลงทุน รู ป แบบที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ การลงทุ น มากที่ สุ ด คื อ
ในระบบโซลาร์รูฟท็อป การพัฒนาระบบสนับสนุน ระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า
ทางการเงินจึงเป็นสิ่งที่ออกแบบได้ไม่ยากนัก (ข) การให้มาตรฐานอุปกรณ์ และมาตรฐาน
การติดตัง ้ ระบบโซลาร์รฟ ู ท็อป รวมถึงมาตรฐานและ
รูปแบบการสนับสนุนทางการเงินที่จะมีส่วน ระบบความรับผิดชอบที่ชัดเจนของผู้ติดตั้งด้วย
ช่วยในการลงทุนในระบบโซลาร์รูฟท็อปมีอยู่ด้วยกัน (ค) นโยบายส่งเสริม สนับสนุนจากภาครัฐ
หลายแบบ ดังที่จะได้ยกตัวอย่างดังต่อไปนี้ (ง) การเป็นส่วนหนึ่งของมาตรการความ
ยั่ ง ยื น มาตรการความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมของ
1. ระบบสินเชือ ่ ส่วนบุคคลส�ำหรับโซลาร์รฟ ู ท็อป สถาบันการเงินนั้นๆ
ระบบสิ น เชื่ อ ส่ ว นบุ ค คลส� ำ หรั บ โซลาร์ -
รู ฟ ท็ อ ป เป็ น ระบบสิ น เชื่ อ ปกติ ที่ ส ถาบั น การเงิ น / 2. ระบบกองทุ น โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปและการร่ ว ม
ธนาคารพาณิชย์มีให้ส�ำหรับการลงทุนในสินทรัพย์ ลงทุน
ส�ำหรับครัวเรือน เช่น บ้าน รถยนต์ เพียงแต่ระบบ ระบบสนับสนุนการเงินแบบที่สองมีลักษณะ
โซลาร์รฟ ู ท็อปเป็นสินทรัพย์ทส ี่ ร้างรายได้ทค ี่ อ
่ นข้าง แตกต่างจากแบบแรก ตรงที่หน่วยด�ำเนินการไม่ใช่
สม�่ำเสมอในตัวเอง ซึ่งต่างจากการกู้ซื้อบ้านหรือ ธนาคารพาณิ ช ย์ ห รื อ สถาบั น การเงิ น ที่ มี อ ยู ่ แต่
รถยนต์ทม ี่ ก
ั จะต้องใช้รายได้จากผูก ้ ู้ (ทีม
่ ก
ั จะมีความ เป็ น การด� ำ เนิ น การโดยหน่ ว ยงาน/กองทุ น ที่ มี

42 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


© เริงชัย คงเมือง / กรีนพีซ , © Greenpeace / Arnaud Vittet , © สินธนา โกศลประดิษฐ์ / กรีนพีซ

ภาพตัวอย่างของกองทุนแสงอาทิตย์มีการติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปในโรงพยาบาลของรัฐ 7 แห่ง
มีก�ำลังการผลิตรวมกันมากกว่า 2 เมกะวัตต์

วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ การส่ ง เสริ ม การติ ด ตั้ ง โซลาร์ - ประชาชนที่ อ ยากลงทุ น ในพลั ง งานหมุ น เวี ย นและ
รูฟท็อปเป็นการเฉพาะ (ขอเรียกว่า กองทุนโซลาร์- สิ่งแวดล้อมที่ดี เข้าร่วมลงทุนได้โดยตรง โดยได้ผล
รู ฟ ท็ อ ป) โดยอาจจะด� ำ เนิ น การระดมทุ น จากผู ้ ที่ ประโยชน์ตอบแทนดีพอสมควร และ (ค) ผลประโยชน์
ต้องการลงทุน (เพื่อแทนการฝากเงินในสถาบันการ ทางสิ่งแวดล้อมที่ได้จากการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป
เงินที่มีอัตราดอกเบี้ยต�่ำ) และน�ำมาใช้ในการลงทุน (เช่น การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลง) จะ
เพื่อติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป โดยสามารถด�ำเนินการ ถูกรวบกันไว้ในกองทุนโซลาร์รูฟท็อปเหล่านี้ ท�ำให้
ได้ทั้ง (ก) การร่วมลงทุน และแบ่งปันผลประโยชน์ที่ สะดวกในการน�ำไปใช้เพือ ่ สร้างผลประโยชน์จากกลไก
ได้จากการลดค่าไฟฟ้าและการขายไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ อืน่ ๆ ทีอ
่ าจจะมีตามมา (เช่นเดียวกับคาร์บอนเครดิต
(ข) การกูย ้ ม
ื เพือ
่ การลงทุน (รูปแบบนีจ ้ ะคล้ายกับแบบ ที่เคยมี) เพราะมีต้นทุนค่าด�ำเนินการไม่สูงมากนัก
แรก) และ (ค) การเช่าซื้อ ซึ่งกองทุนโซลาร์รูฟท็อปจะ เนือ่ งจากผลประโยชน์ทเี่ กิดขึน ้ จากบ้านเรือนและ/หรือ
ต้องมีการศึกษาและก�ำหนดขัน ้ ตอนโดยละเอียดต่อไป โครงการต่างๆ ถูกรวมไว้ในกองทุนโซลาร์รฟ ู ท็อปแล้ว
การจั ด ตั้ ง กองทุ น เฉพาะ หรื อ กองทุ น นอกจากนี้ ในระยะยาว ประเทศไทยอาจมี
โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ป มี ข ้ อ ดี เ พิ่ ม เติ ม ขึ้ น 3 ประการคื อ กองทุ น โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปมากกว่ า หนึ่ ง กองทุ น และ
(ก) การด�ำเนินการของกองทุนสามารถใช้ผเู้ ชีย ่ วชาญ สามารถแข่งขันกัน ทัง ้ ในแง่ (ก) การให้บริการติดตัง้
หรื อ ผู ้ ด� ำ เนิ น การด้ า นโซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปที่ เ ชื่ อ ถื อ และดูแลรักษาที่ดี และ (ข) การให้ผลตอบแทนต่อการ
ได้ โ ดยตรง กล่ า วคื อ มี ค วามช� ำ นาญเฉพาะด้ า น ลงทุนที่จูงใจมากกว่า
มากกว่าธนาคารพาณิชย์หรือสถาบันการเงินอื่นๆ
(ข) กองทุ น โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ป สามารถเปิ ด โอกาสให้

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 43


44 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)
อย่ า งไรก็ ต าม การลงทุ น ในการจั ด ตั้ ง
กองทุ น โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปย่ อ มมี ค วามเสี่ ย งในการ
ด�ำเนินการ โดยความเสี่ยงที่ส�ำคัญที่สุดคือ ความ
ไม่แน่นอนของนโยบายการสนับสนุนและการรับซื้อ
ไฟฟ้าจากโซลาร์เซลของภาครัฐ ทั้งนี้ หากภาครัฐ
มี ก ารก� ำ หนด (ก) ปริ ม าณ (ข) เงื่ อ นไข (ค) ระยะ
เวลา และ (ง) ราคาการรับซื้อที่แน่นอน จูงใจ และสม
เหตุสมผลมากพอ ความเสี่ยงในการจัดตั้งกองทุน
โซลาร์รฟู ท็อปจะน้อยลง และสถาบันการเงินขนาดใหญ่
อาจเป็นผู้ผลักดันและร่วมลงทุนเพื่อจัดตั้งกองทุน
โซลาร์รูฟท็อปได้

3. ระบบลดหย่ อ นภาษี ส� ำ หรั บ การลงทุ น ใน


โซลาร์รูฟท็อปสาธารณะ
รู ป แบบที่ ส าม มี ลั ก ษณะคล้ า ยกองทุ น
แสงอาทิตย์ทภ ี่ าคประชาชนร่วมกันจัดตัง ้ ขึน
้ เพือ
่ รับ
บริจาคเงินในการไปลงทุนติดตัง ้ ในโรงพยาบาลของ
รัฐทั้งสิ้น 7 แห่ง ในปี 2562 ความส�ำเร็จของการ
ด�ำเนินการดังกล่าวได้ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับ
โรงพยาบาลทั้ง 7 แห่งไปได้มากทีเดียว
ภาครัฐอาจน�ำความส�ำเร็จลักษณะดังกล่าว
มาปรับประยุกต์เป็นการระดมทุนส�ำหรับการติดตัง ้ ใน
อาคารหรือพื้นที่ของรัฐ เช่น โรงพยาบาล โรงเรียน
พิพิธภัณฑ์ ฯลฯ โดยอาจมีกองทุนลักษณะเดียวกับ
กองทุนแสงอาทิตย์ เพื่อท�ำหน้าที่เป็นองค์กรเชื่อม
ประสานระหว่างผู้บริจาคทุน (ซึ่งอาจเป็นผู้บริจาค
รายย่อย) กับหน่วยงานของรัฐที่จะติดตั้งโซลาร์-
รูฟท็อป และมีการเปิดให้ผบ ู้ ริจาคสามารถหักลดหย่อน
ภาษีได้โดยสะดวก ซึ่งอาจเป็นหักภาษีในคราวเดียว
หรื อ ทยอยหั ก ภาษี เ ป็ น รายปี (เช่ น 3-5 ปี เพื่ อ ให้
สามารถหักภาษีได้เต็มจ�ำนวน) หรือ สามารถให้หัก
ภาษี ไ ด้ ส องเท่ า ของยอดเงิ น บริ จ าค ก็ น ่ า จะท� ำ ให้
สามารถระดมทุนจากผู้สนใจได้มากขึ้น
การด�ำเนินการเช่นนี้จะมีข้อดีส�ำหรับภาครัฐ
คือ (ก) การลดภาระในการลงทุนของภาครัฐลง และ
(ข) การลดค่าใช้จา่ ยประจ�ำ (ค่าไฟฟ้า) ของหน่วยงาน
รัฐ ซึง
่ หากท�ำในจ�ำนวนมากขึน ้ และในระยะยาว จะช่วย
ลดงบประมาณทีเ่ ป็นรายจ่ายประจ�ำของรัฐบาลลงได้
ท�ำให้สามารถไปใช้เป็นงบประมาณรายจ่ายเพื่อการ
ลงทุนได้มากขึ้นด้วย
ทัง้ นี้ ในการด�ำเนินงาน รัฐบาลอาจให้กองทุน
แสงอาทิตย์ หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่มีความช�ำนาญ
เป็นผู้รับด�ำเนินการให้รัฐบาล เพื่อให้สามารถด�ำเนิน
การได้เลยทันที

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 45


บทที่ 7
ต้นทุนแฝงของโซลาร์รูฟท็อป:
แพงจริงหรือไม่?

ข้อกังวลทีว
่ า่ การติดตัง ้ ระบบโซลาร์เซลล์บน ปริมาณโซลาร์รูฟท็อปในปัจจุบัน
หลังคา หรือ โซลาร์รูฟท็อป ที่ก�ำลังเป็นนิยมมากขึ้น ก่อนจะตอบค�ำถามนี้ เราจ�ำเป็นต้องทราบ
เรือ
่ ยๆ จะท�ำให้ตน
้ ทุนค่าไฟฟ้าหรือค่าใช้จา่ ยค่าไฟฟ้า ภาพรวมการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทยเสีย
ของผูใ้ ช้ไฟฟ้าปกติเพิม ่ สูงขึน
้ หรือทีม
่ ก
ี ารเรียกกันว่า ก่อน ข้อมูลล่าสุดที่เรารวบรวมได้ ประเทศไทยของ
“ต้นทุนแฝงของโซลาร์รูฟท็อป” เรามีโซลาร์รฟ ู ท็อป 2 ประเภท คือ แบบทีข ่ ายเข้าระบบ
หลายคนอาจสงสัยว่า ต้นทุนค่าไฟฟ้าที่เพิ่ม และแบบที่ใช้เอง โดยแบบที่ขายเข้าระบบแล้วมีจ�ำนวน
ขึ้นหรือต้นทุนแฝงดังกล่าวหมายถึงอะไร? เพราะเรา ทัง้ สิน
้ 130 เมกะวัตต์ และทีต ่ ด
ิ ตัง
้ ใช้เองโดยไม่ได้ขาย
คิดอยูเ่ สมอว่านอกเหนือจากช่วยประหยัดเงินและช่วย เข้าระบบ มีอก ี ประมาณ 207 เมกะวัตต์ (ส่วนใหญ่เป็น
สิ่งแวดล้อมแล้ว การติดตั้งโซลาร์เซลล์คือการช่วย โรงงานและส�ำนักงาน) ปัจจุบันเรามีโซลาร์รูฟท็อป
ระบบไฟฟ้าของประเทศ ดังนั้น รายงานฉบับนี้จึงจะ รวมทั้งหมดประมาณ 337 เมกะวัตต์ โดยมาจาก
ไปค้นหาค�ำตอบว่าต้นทุนแฝงที่ว่านั้นคืออะไร ผู้ติดตั้งจ�ำนวนประมาณ 6,800 ราย
ส่วนโครงการโซลาร์เซลล์ภาคประชาชน ที่
ความกังวลเรื่องต้นทุนแฝง ก�ำลังเปิดรับสมัครกันอยู่ ตอนนีม ้ ผ
ี เู้ ข้าร่วมประมาณ
ความห่ ว งกั ง วลดั ง กล่ า วเรื่ อ งต้ น ทุ น แฝง 11 เมกะวั ต ต์ เราจึ ง อาจใช้ ตั ว เลขกลมๆ ของ
ของโซลาร์รูฟท็อปมาจาก 2 สาเหตุด้วยกันคือ โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปที่ 350 เมกะวั ต ต์ ซึ่ ง ณ ตั ว เลขนี้
หนึง ่ ความกังวลเรือ ่ งต้นทุนจากการส�ำรอง โซลาร์รฟ ู ท็อปทัง ้ ประเทศน่าจะผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ
ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าในระบบ กล่าวคือ แม้วา่ ผูต ้ ดิ ตัง
้ 510 ล้านหน่วยต่อปี (หรือล้านกิโลวัตต์-ชัว ่ โมงต่อปี)
ระบบโซลาร์เซลล์ จะติดตัง ้ ระบบดังกล่าวแล้ว แต่ยง ั มี
การเชื่อมต่อกับระบบสายส่งไฟฟ้าปกติอยู่ดี เพราะ ระบบไฟฟ้าของไทยในปัจจุบัน
ฉะนั้น แม้ว่าในวันปกติ ผู้ติดตั้งโซลาร์เซลล์เหล่านี้จะ ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของระบบไฟฟ้า
ไม่ได้ใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ เต็มที่ แต่การไฟฟ้าฯ ก็ ในปี 2562 อยู่ที่ 30,853 เมกะวัตต์ (กฟผ. ณ วันที่
ต้องส�ำรองไฟฟ้า (หรือมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้า) เผื่อ 2 พฤษภาคม 2562) ส่วนก�ำลังการผลิตไฟฟ้าของ
ไว้อยู่ดี ซึ่งนั่นอาจท�ำให้ต้นทุนของระบบไฟฟ้าสูงขึ้น ไทยในปัจจุบันอยู่ที่ 43,074 เมกะวัตต์ (ณ วันที่ 31
สอง ความกังวลเรือ ่ งการเฉลีย ่ จ่ายค่าไฟฟ้า สิงหาคม 2562) หมายความว่า เรามีกำ� ลังการผลิต
จากต้นทุนโดยรวมของระบบ กล่าวคือ เมื่อผู้ติดตั้ง ไฟฟ้าส�ำรองในระบบ 12,221 เมกะวัตต์ (ประมาณ
ระบบโซลาร์เซลล์และใช้ไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ของ ร้อยละ 40 ของความต้องการไฟฟ้าสูงสุด)
ตนเองแล้ว หน่วยจ�ำหน่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าฯ ย่อม ในแง่ปริมาณการใช้ไฟฟ้าทัง ้ ประเทศ ซึง ่ ก็คอ

ลดลง ท�ำให้เมือ ่ น�ำหน่วยจ�ำหน่ายไฟฟ้าทีล ่ ดลงไปหาร หน่วยไฟฟ้าจ�ำหน่าย มีการระบุไว้ในแผนพัฒนาก�ำลัง
ด้วยต้นทุนโดยรวมของระบบแล้ว อัตราค่าไฟฟ้าของ การผลิตไฟฟ้าว่า ปี 2562 ประเทศไทยเราจะใช้ไฟฟ้าทัง ้
ระบบจะเพิม ่ สูงขึ้น เพราะตัวหาร (จ�ำนวนหน่วยไฟฟ้า สิน ้ 211,664 หน่วยต่อปี (หรือกิโลวัตต์-ชัว่ โมงต่อปี)
ที่จ�ำหน่าย) ลดลงนั่นเอง

46 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 47
เพราะฉะนั้นจะเห็นได้ว่า การผลิตไฟฟ้าจาก หน่วยนี้ได้ ก็แปลว่าเงินจะลดลงไปประมาณ 1,938
พลังงานแสงอาทิตย์ทเี่ ป็นโซลาร์รฟ
ู ท็อป 350 เมกะวัตต์ ล้านบาทต่อปี ซึ่งเมื่อถูกน�ำไปถัวจ่ายส�ำหรับจ�ำนวน
ต่อปียังมีสัดส่วนน้อยมาก กล่าวคือ เทียบเท่ากับ หน่วยไฟฟ้าทีเ่ หลือประมาณ 211,154 ล้านหน่วยต่อปี
ร้อยละ 1.1 ของความต้องการใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ (ค�ำนวณจาก 211,664 ลบด้วย 510 ล้านหน่วย
และเทียบเท่ากับร้อยละ 0.8 ของก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ต่อปี) เท่ากับว่าไฟฟ้าแต่ละหน่วยจะแพงขึ้นเท่ากับ
ทั้งประเทศเท่านั้น และหากเทียบกับปริมาณการใช้ 0.009 บาทต่อหน่วย หรือประมาณ 1 สตางค์ต่อ
ไฟฟ้าทั้งประเทศ ไฟฟ้าที่ผลิตได้จากโซลาร์รูฟท็อป หน่วย (จากราคาเดิม 3.8 บาทต่อหน่วย หรือแพงขึน ้
ก็ประมาณร้อยละ 0.2 ของปริมาณการใช้ไฟฟ้าทั้ง ร้อยละ 0.2)
ประเทศเท่านั้น เพราะฉะนั้น สัดส่วนค่าไฟฟ้าที่แพงขึ้น จึง
น้อยมาก
ความ (ไม่น่า) กังวลเรื่องต้นทุนของก�ำลังการ
ผลิตส�ำรอง ผลประโยชน์ค่าไฟฟ้าที่ยังไม่ได้พูดถึง
ตามทีบ ่ างฝ่ายได้แสดงความกังวลว่า ก�ำลัง ยิง
่ ไปกว่านัน ้ การติดตัง ้ ระบบโซลาร์เซลล์ยง ั
การผลิตติดตัง ้ ของโซลาร์รฟ ู ท็อป 350 เมกะวัตต์ จะ มีผลประโยชน์สำ� คัญต่อระบบไฟฟ้าด้วย นัน ่ คือ การ
มีผลให้ประเทศไทยต้องไปส�ำรองไฟฟ้าไว้เพือ ่ รองรับ ลดความจ�ำเป็นในการใช้เชือ ้ เพลิง (ซึง ่ แน่นอนว่า การ
กรณีผต ู้ ดิ ตัง้ โซลาร์รฟ ู ท็อปจะไม่ใช้ไฟฟ้าจากโซลาร์- ไฟฟ้าฯ ต้องไปซื้อมา) ลงได้ด้วย และการลดต้นทุน
รูฟท็อปของตนเอง (เช่น ตอนกลางคืน) แล้วหันไปใช้ ค่าเชือ ้ เพลิงของระบบไฟฟ้าลงก็เป็นประโยชน์สำ� หรับ
ไฟฟ้าจากระบบ ท�ำให้เราต้องมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้า ผูใ้ ช้ไฟฟ้ารายอืน ่ ๆ ด้วย ซึง ่ ผลประโยชน์สว ่ นนีย ้ ง
ั ไม่ได้
ส�ำรอง 350 เมกะวัตต์นี้ไว้ และอาจกลายเป็นต้นทุน ถูกพูดถึงจากผูท ้ ห
ี่ ว
่ งกังวลเรือ ่ งต้นทุนแฝงดังกล่าว
ที่เพิ่มขึ้นในระบบไฟฟ้าได้ สมมุติว่า การผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์ 510 ล้าน
อ ย ่ า ง ไ ร ก็ ดี เ ร า จ� ำ เ ป ็ น ต ้ อ ง พิ จ า ร ณ า หน่วย ช่วยลดการน�ำเข้าไฟฟ้าจากต่างประเทศได้
สถานการณ์ข้อเท็จจริงประกอบด้วย โดยเฉพาะใน (เราซือ ้ ไฟฟ้าจากต่างประเทศประมาณ 3,500 เมกะวัตต์)
ปัจจุบันที่เรามีก�ำลังการผลิตส�ำรองในระบบเหลือ เราจะประหยัดค่าไฟฟ้าไปได้เท่ากับ 1.8 บาทต่อหน่วย
ประมาณ 12,221 เมกะวัตต์ ซึง ่ มากกว่า 350 เมกะวัตต์ (ราคาทีเ่ ราซือ ้ ไฟฟ้าจากประเทศเพือ ่ นบ้าน) คูณด้วย
อยูห ่ ลายสิบเท่าตัว (ประมาณ 35 เท่า) เราจึงไม่จำ� เป็น 510 ล้านหน่วยต่อปี เท่ากับ 918 ล้านบาทต่อปี
ต้องไปลงทุนในก�ำลังการผลิตส�ำรองใดๆ เพิ่มเลย เมือ
่ น�ำต้นทุนค่าเชือ ้ เพลิงทีป ่ ระหยัดได้สว ่ นนี้
เพราะเรามีกำ� ลังการผลิตส�ำรองมากมายอยูแ่ ล้วและ มาถัวจ่ายให้แก่ผใู้ ช้ไฟฟ้าทุกคน ต้นทุนค่าเชือ ้ เพลิงที่
ก�ำลังการผลิตส�ำรองที่มากมายเกินความต้องการ ระบบโซลาร์รูฟท็อปช่วยประหยัดได้จะเท่ากับ 0.004
(เกินกว่าร้อยละ 15 ของความต้องการไฟฟ้าสูงสุด) บาทต่อหน่วย
นีเ่ องทีเ่ ป็นต้นทุนแฝงทีแ่ ท้จริงทีผ ่ ใู้ ช้ไฟฟ้าทุกคนแบก เพราะฉะนั้น สัดส่วนค่าไฟฟ้าที่แพงขึ้นจึงลด
อยู่ ซึ่งเราจะกล่าวถึงในตอนท้าย ลงจาก 0.009 บาทต่อหน่วยที่ค�ำนวณไว้เดิม เพราะ
สรุ ป ว่ า ความห่ ว งกั ง วลแรกนี้ ไม่ มี ค วาม ถูกน�ำมาลบด้วย 0.004 บาทต่อหน่วยแล้ว (หรือ
น่าเป็นห่วงแต่ประการใด ต้นทุนค่าเชือ ้ เพลิงทีป ่ ระหยัดได้) จะเหลือเพียง 0.005
บาทต่อหน่วย หรือประมาณครึ่งสตางค์ต่อหน่วย
ต้นทุนแฝงจากการเฉลีย ่ จ่ายจากหน่วยจ�ำหน่าย เท่านั้นเอง หรือหากคิดเทียบเป็นร้อยละ ค่าไฟฟ้าก็
ไฟฟ้าที่ลดลง จะเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.1 เท่านั้น
ส� ำ หรั บ ความห่ ว งกั ง วลประการที่ ส องนี้
เราเห็นด้วยว่า เมื่อระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าไม่สามารถ แล้วอนาคตจะเป็นอย่างไร?
เรียกเก็บเงินจากค่าไฟฟ้าจากผู้ที่ติดตั้งโซลาร์เซลล์ แน่นอนว่า ผู้ที่ห่วงกังวลจะยังสงสัยว่า หาก
ต้ น ทุ น ค่ า ไฟฟ้ า ที่ ยั ง คงเดิ ม จะถู ก น� ำ ไปหารด้ ว ย มีการติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปมากขึ้น ภาระค่าใช้
จ�ำนวนหน่วยไฟฟ้าจ�ำหน่ายทีล ่ ดลง ซึง
่ แปลว่า ต้นทุน จ่ า ยในส่ ว นของค่ า ไฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ก็ อ าจจะมากขึ้ น
ส�ำหรับผูท ้ ยี่ ง
ั คงซือ
้ ไฟฟ้าตามปกติจะต้องเพิม ่ ขึน
้ แต่ ในอนาคต เราเลยลองค�ำนวณว่า หากเรามีโซลาร์-
จะเพิ่มขึ้นสักเท่าไร? นี่เป็นประเด็นที่เราอยากชวนคิด รูฟท็อปติดตัง ้ ประมาณ 3,000 เมกะวัตต์ ในปี 2565
ในปัจจุบน ั อัตราค่าไฟฟ้าทีเ่ รียกเก็บคือประมาณ 3.8 (หรือเกือบ 10 เท่าของที่เป็นอยู่ปัจจุบัน) ต้นทุนแฝง
บาทต่อหน่วย เมือ ่ ไม่สามารถเรียกเก็บจาก 510 ล้าน จะเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด เราลองมาค�ำนวณกัน

48 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


© เริงชัย คงเมือง / กรีนพีซ

ล� ำ ดั บ แรก ก� ำ ลั ง การผลิ ต ส� ำ รองยั ง มี อย่ามองข้ามต้นทุนแฝงที่แท้จริง


เหลื อ เฟื อ โดยในปี 2565 ก� ำ ลั ง การผลิ ต ไฟฟ้ า สุดท้ายจะเห็นได้วา่ ต้นทุนแฝงทีบ ่ างฝ่ายห่วง
ทั้งหมดจะมีประมาณ 54,431 เมกะวัตต์ ในขณะที่มี กังวลในการติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปเป็นต้นทุนที่
ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดประมาณ 35,213 เมกะวัตต์ น้อยมากๆ กล่าวคือ ต้นทุนดังกล่าวในปัจจุบันอยู่ที่
หรือมีก�ำลังการผลิตส�ำรองเท่ากับ 19,218 เมกะ- 0.5 สตางค์ต่อหน่วย (เทียบเท่ากับร้อยละ 0.1 ของ
วัตต์ (เท่ากับร้อยละ 54.6 ของความต้องการไฟฟ้า ราคาค่าไฟฟ้าในปัจจุบัน) และหากมีการขยายการ
สูงสุด) ดังนั้น จึงรองรับก�ำลังการผลิตส�ำรองของ ติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปจนเป็น 3,000 เมกะวัตต์
ระบบโซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะวัตต์ ได้อย่างสบาย ก็จะมีต้นทุนเพิ่มขึ้นเพียง 4 สตางค์ต่อหน่วย (หรือ
โดยไม่ต้องเสียต้นทุนในการติดตั้งก�ำลังการผลิต ประมาณร้อยละ 1 ของราคาค่าไฟฟ้าปัจจุบน ั ) เท่านัน้
ส�ำรองเพิ่มแต่อย่างใด แต่จากตัวเลขก�ำลังการผลิตส�ำรองทีค ่ าดว่าจะเหลือ
ล�ำดับที่สอง การเฉลี่ยจ่ายต้นทุนค่าไฟฟ้าที่ มากกว่าร้อยละ 50 ในปี 2565 ทัง ้ ๆ ทีร่ ะบบไฟฟ้าควร
จ�ำหน่ายได้ลดลง หากมีระบบโซลาร์รูฟท็อป 3,000 มีกำ� ลังการผลิตส�ำรองประมาณร้อยละ 15 เพือ ่ ไม่ให้
เมกะวั ต ต์ แ ล้ ว จะผลิ ต ไฟฟ้ า จากโซลาร์ เ ซลล์ ไ ด้ แบกต้นทุนส่วนนี้จนมากเกินไป ต้นทุนแฝงส่วนจะมี
ประมาณ 4,380 ล้านหน่วยต่อปี ในปี 2565 ซึ่งจะ ปริมาณมากกว่าต้นทุนแฝงของระบบโซลาร์รฟ ู ท็อป
เป็นส่วนที่ไม่ได้จ่ายค่าไฟฟ้าให้การไฟฟ้าฯ และการ เป็นอย่างมาก
ไฟฟ้าจะน�ำเงินค่าไฟฟ้าส่วนนี้ (3.8 บาทต่อหน่วย) สมมุติว่า เรายอมให้ระบบไฟฟ้ามีก�ำลังการ
หักลบด้วยค่าเชื้อเพลิงที่โซลาร์เซลล์ช่วยประหยัดได้ ผลิตส�ำรองที่ร้อยละ 15 แปลว่า ระบบไฟฟ้าไทยในปี
(คิดจากราคาไฟฟ้าทีเ่ ราซือ ้ จากต่างประเทศ 1.8 บาท 2565 ควรมีก�ำลังการผลิตส�ำรองประมาณ 5,282
ต่อหน่วย) หรือประมาณ 2 บาทต่อหน่วย ไปเรียกเก็บ เมกะวัตต์ แต่เรากลับมีกำ� ลังการผลิตส�ำรองมากถึง
จากผูใ้ ช้ไฟฟ้ารายทีเ่ หลือ ตามทีไ่ ด้เคยกล่าวมา คิดเป็น 19,218 เมกะวั ต ต์ หรื อ เกิ น ไปประมาณ 13,936
เงินประมาณ 8,760 ล้านบาทต่อปี โดยมีในปี 2565 เมกะวัตต์ หากทุ ก ๆ หนึ่ ง เมกะวั ต ต์ ใ ช้ เ งิ น ลงทุ น
ปริ ม าณการจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ทั้ ง ประเทศคาดว่ า จะ ประมาณ 30 ล้านบาท ระบบไฟฟ้าของเราก็จะลงทุน
ประมาณ 236,488 ล้านหน่วย เมือ ่ หักลบ 4,380 ล้าน เกินไปประมาณ 418,000 ล้านบาท
หน่วย ทีร่ ะบบโซลาร์รฟ ู ท็อปผลิตได้เองแล้ว ก็จะเหลือ แน่นอนว่า เงินจ�ำนวนนี้จะต้องมาถัวเฉลี่ย
ปริมาณการจ�ำหน่ายไฟฟ้าทีจ ่ ะเรียกเก็บเงินประมาณ จ่ายส�ำหรับผูใ้ ช้ไฟฟ้าทุกคน ประมาณ 10-15 สตางค์
232,108 ล้านหน่วย ซึ่งเมื่อน�ำตัวเลข 8,760 ล้าน ต่อหน่วย ซึ่งมากกว่าต้นทุนแฝงของระบบโซลาร์-
บาทที่การไฟฟ้าฯ ไม่สามารถเรียกเก็บได้ ไปถัวเฉลี่ย รูฟท็อปเป็นอย่างมาก
จ่ายให้ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เหลือแล้วจะเท่ากับ 0.038 บาทต่อ การทวงคืนและสร้างสรรค์ความเป็นธรรมใน
หน่วย หรือประมาณ 4 สตางค์ต่อหน่วย ซึ่งเทียบ ระบบไฟฟ้าและระบบค่าไฟฟ้าจึงเป็นภารกิจที่ส�ำคัญ
เท่ากับค่าไฟฟ้าจะแพงขึ้นร้อยละ 1 (เมื่อเปรียบเทียบ มากๆ ที่ทุกคนต้องช่วยกัน
กับราคาค่าไฟฟ้า 3.8 บาทต่อหน่วย)

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 49


บทที่ 8
การจัดการกับแผงโซลาร์เซลล์
ในช่วงปลายอายุการใช้งาน

โดยทั่ ว ไป แผงโซลาร์ เ ซลล์ มี อ ายุ ก ารใช้ เงินส�ำหรับการรวบรวมและการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์


งานประมาณ 30 ปี (ซึ่งค�ำว่าอายุการใช้งานหมาย เมื่อสิ้นอายุการใช้งาน
ถึง ประสิทธิภาพการใช้งานลดลงเหลือร้อยละ 85) อย่างไรก็ดี เนื่องจากแผงโซลาร์เซลล์ที่สิ้น
อย่างไรก็ดี ค�ำว่า อายุการใช้งานดังกล่าว ก็มิได้ อายุ ก ารใช้ ง านแล้ ว ยั ง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต
หมายความว่า แผงโซลาร์เซลล์ดง ั กล่าวจะไม่สามารถ พลังงานได้อยู่ แม้จะลดน้อยลงไปบ้าง (โดยทั่วไป
ใช้งานได้อก ี เพราะในทางปฏิบต ั ิ โดยทัว่ ไป แผงโซลาร์- ประมาณร้อยละ 85) ดังนั้น การน�ำแผงโซลาร์เซลล์
เซลล์ทเี่ ลิกใช้งานมักมีประสิทธิภาพการใช้งานต�ำ่ กว่า มาใช้ซำ�้ (Reuse) จึงเป็นแนวทางทีส ่ ำ� คัญมากในการ
ร้อยละ 85 ลดปริมาณแผงโซลาร์เซลล์ที่ต้องก�ำจัด
ทบวงการพลังงานหมุนเวียนระหว่างประเทศ ภายหลังจากการใช้งานซ�ำ้ แล้ว แผงโซลาร์เซลล์
ได้คาดการณ์ปริมาณแผงโซลาร์เซลล์ที่เลิกใช้งาน สามารถน�ำมารีไซเคิลได้อีก โดยการรีไซเคิลจะท�ำให้
ทั่วโลก พบว่า ในปี 2559 ปริมาณแผงโซลาร์เซลล์ที่ การผลิตแผงโซลาร์เซลล์สามารถเป็นระบบเศรษฐกิจ
เลิกใช้งานเท่ากับ 43,000-250,000 ตัน (ประมาณ หมุนเวียน (circular economy) ได้อย่างครบวงจร
ร้อยละ 0.1-0.6 ของแผงโซลาร์เซลล์ที่ใช้สะสมมา มู ล ค่ า ของวั ส ดุ ที่ รี ไ ซเคิ ล ได้ จ ากแผงโซลาร์ เ ซลล์
ทั้ ง หมด) ปริ ม าณแผงโซลาร์ เ ซลล์ ที่ เ ลิ ก ใช้ ง านทั่ ว จะประมาณ 450 ล้านเหรียญสหรัฐ ในปี 2573 (เทียบ
โลกจะเพิ่ ม มากขึ้ น ในช่ ว งปี 2573 และจะถึ ง ช่ ว ง เป็ น มู ล ค่ า ปี 2559) และจะเพิ่ ม เป็ น 15,000 ล้ า น
สู ง สุ ด ในปี 2593 เมื่ อ ปริ ม าณแผงโซลาร์ เ ซลล์ ที่ เหรียญสหรัฐ ในปี 2593 (เทียบเป็นมูลค่าปี 2559)
เลิกใช้แล้วทั่วโลกจะมีปริมาณประมาณ 5.5-6 ล้าน
ตัน หรือเทียบเท่ากับร้อยละ 4 ของแผงโซลาร์เซลล์ แนวทางการจัดการแผงโซลาร์เซลล์
ที่ใช้สะสมมาทั้งหมด (และใกล้เคียงกับปริมาณแผง ก่อนจะตอบค�ำถามนี้ เราจ�ำเป็นต้องทราบ
โซลาร์เซลล์ที่จะติดตั้งใหม่ในแต่ละปีดังกล่าว ซึ่งมี ภาพรวมการติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทยเสีย
ประมาณ 6.7 ล้านตัน) ก่อน ข้อมูลล่าสุดที่เรารวบรวมได้ ประเทศไทยของ
การจัดการกับแผงโซลาร์เซลล์ทห ี่ มดอายุจง
ึ เรามีโซลาร์รฟ ู ท็อป 2 ประเภท คือ แบบทีข ่ ายเข้าระบบ
เป็นเรื่องที่มีความท้าทายมากขึ้นในอนาคต ปัจจุบัน และแบบที่ใช้เอง โดยแบบที่ขายเข้าระบบแล้วมีจ�ำนวน
สหภาพยุโรปเป็นประเทศเดียวทีม ่ ก ี ฎระเบียบข้อบังคับ ทัง
้ สิน
้ 130 เมกะวัตต์ และทีต ่ ด
ิ ตัง
้ ใช้เองโดยไม่ได้ขาย
เรื่อง “การจัดการแผงโซลาร์เซลล์เมื่อสิ้นอายุการใช้ เข้าระบบ มีอก ี ประมาณ 207 เมกะวัตต์ (ส่วนใหญ่เป็น
งาน” โดยครอบคลุมทัง ้ (ก) การรวบรวมแผงโซลาร์- โรงงานและส�ำนักงาน) ปัจจุบันเรามีโซลาร์รูฟท็อป
เซลล์ (ข) การน�ำกลับมาใช้ใหม่ และ (ค) การรีไซเคิล รวมทั้งหมดประมาณ 337 เมกะวัตต์ โดยมาจาก
เพื่อน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ โดยยึดหลักการความรับ ผู้ติดตั้งจ�ำนวนประมาณ 6,800 ราย
ผิดชอบเพิม ่ เติมของผูผ้ ลิต (extended-producer- ส่วนโครงการโซลาร์เซลล์ภาคประชาชน ที่
responsibility principle) หมายความว่า ผู้ผลิตที่ ก�ำลังเปิดรับสมัครกันอยู่ ตอนนีม ้ ผ
ี เู้ ข้าร่วมประมาณ
จัดหาแผงโซลาร์เซลล์ให้กับสหภาพยุโรปจะต้องจ่าย 11 เมกะวั ต ต์ เราจึ ง อาจใช้ ตั ว เลขกลมๆ ของ

50 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


โซลาร์รู ฟ ท็ อ ปที่ 350 เมกะวั ต ต์ ซึ่ ง ณ ตั ว เลขนี้ ดังนั้น การน�ำแผงโซลาร์เซลล์ที่เปลี่ยนแล้วไป
โซลาร์รฟู ท็อปทัง ้ ประเทศน่าจะผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ ใช้งานซ�้ำในวัตถุประสงค์อื่นๆ เช่น การสูบน�้ำ
510 ล้านหน่วยต่อปี (หรือล้านกิโลวัตต์-ชัว ่ โมงต่อปี) เพื่ อ การเกษตร ก็ จ ะสามารถลดปริ ม าณแผง
โซลาร์ เ ซลล์ ที่ เ ป็ น ของเสี ย ลงได้ นอกจากนี้
ระบบไฟฟ้าของไทยในปัจจุบัน การซ่อมแซมแผงโซลาร์เซลล์ที่เสียหายบางส่วน
ทบวงการพลังงานหมุนเวียนระหว่างประเทศ ก็สามารถน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ และสร้างสร้างตลาด
แนะน�ำกระบวนการในการจัดการแผงโซลาร์เซลล์ใช้แล้ว โซลาร์เซลล์มอื สองได้เช่นกัน
ออกเป็น 3 ขั้นตอนตามวงจรชีวิตการใช้งาน คือ • การรี ไ ซเคิ ล (Recycle) ในขั้ น ตอนสุ ด ท้ า ย
• การลดการใช้ (Reduce) หลักการพื้นฐานที่สุด ของการใช้ ง านตลอดช่ ว งอายุ ข องแผงโซ
ของการลดการใช้แผงโซลาร์เซลล์คือ การเพิ่ม ลาร์ เ ซลล์ เราสามารถที่ จ ะรี ไ ซเคิ ล แผงโซ
ประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์ ซึง ่ จะเป็นการลด ลาร์ เ ซลล์ เพื่ อ ได้ วั ส ดุ เ ช่ น กระจก อลู มี เ นี ย ม
ปริมาณการใช้แผงโซลาร์เซลล์เหลือใช้ในอนาคต ทองแดง กลั บ มาใช้ ใ หม่ ไ ด้ ในอั ต ราประมาณ
ไปโดยปริยาย ตัวอย่างเช่น ในภาพด้านล่าง สัดส่วน ร้อยละ 85 ของวัสดุทั้งหมด ทั้งนี้ในระยะยาว
น�้ ำ หนั ก ของแผงโซลาร์ เ ซลล์ ต ่ อ ก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า ที่ ทบวงการพลั ง งานหมุ น เวี ย นระหว่ า งประเทศ
ผลิตได้ลดลงเรื่อยๆ นอกจากนั้น กระบวนการ จะมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้สามารถน�ำวัสดุ
ในการดูแลรักษาอย่างเหมาะสม ก็จะท�ำให้อายุ ต่ า งๆ ในแผงโซลาร์ เ ซลล์ ก ลั บ มาใช้ ใ ห้ ไ ด้ ม าก
การใช้งานของแผงโซลาร์เซลล์เป็นไปตามทีค ่ าด ขึ้น และพัฒนาโรงงานรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์
การณ์ไว้ (คือประมาณ 25-30 ปี) เพื่อให้สามารถรองรับปริมาณแผงโซลาร์เซลล์
• การใช้ ซ�้ ำ (Reuse) ภายหลั ง จากการใช้ ง าน หมดอายุที่จะมีมากขึ้นในปี 2573
25-30 ปี แผงโซลาร์ เ ซลล์ จ ะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
น้อยลง แต่ยังสามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 51


ภาพ กระบวนการรีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์
ที่มา: IRENA, 2016. End-of-Life Management of Solar Photovoltaic Panel.

52 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ทั้งนี้ เพื่อด�ำเนินการตามที่ทางทบวงการพลังงาน โซลาร์เซลล์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพครบถ้วน
หมุนเวียนระหว่างประเทศ เสนอความจ�ำเป็นเร่งด่วน ทัง
้ วงจร รวมถึงสามารถคาดการณ์ตลาดมือสอง
ในเชิงนโยบายในการจัดการปัญหาแผงโซลาร์เซลล์ และปริ ม าณการเข้ า สู ่ โ รงงานรี ไ ซเคิ ล ของแผง
หมดอายุ ประกอบด้วย โซลาร์เซลล์ได้อีกด้วย
• ทดลอง พัฒนา และลงทุนระบบในการจัดการ
• การยกร่ า งกฎระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ ว่ า ด้ ว ยการ แผงโซลาร์ เ ซลล์ เ ช่ น ศู น ย์ ก ารซ่ อ มแซมแผง
จัดการแผงโซลาร์เซลล์ตลอดช่วงอายุ โดยอาจ โซลาร์เซลล์ ตลาดมือสองของแผงโซลาร์เซลล์
เรี ย นรู ้ จ ากแนวทางและประสบการณ์ ที่ มี ก าร ใช้ ซ�้ ำ หรื อ การจั ด ท� ำ โรงงานต้ น แบบในการ
ด� ำ เนิ น การในสหภาพยุ โ รป โดยในกรณี ข อง รีไซเคิลแผงโซลาร์เซลล์ เป็นต้น
ประเทศไทย กกพ. เป็นผู้ยกร่างกฎระเบียบข้อ • การสร้างความเข้าใจกับผูเ้ กีย ่ วข้องทุกภาคส่วน
บังคับดังกล่าว ถึงการใช้งานและการจัดการแผงโซลาร์เซลล์แบบ
• การจั ด ท� ำ ระบบฐานข้ อ มู ล การใช้ ง านและ ครบถ้วนทั้งวงจร
ประสิทธิภาพของแผงโซลาร์เซลล์แต่ละประเภท/
แต่ละรุ่น เพื่อท�ำให้การวางแผนการจัดการแผง

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 53


บทที่ 9
ข้อเสนอและเป้าหมายเชิงนโยบาย

รายงานฉบับนี้ ขอเสนอเป้าหมายเชิงนโยบาย
ภายในระยะเวลา 3 ปี ทีจ ่ ะมีการติดตัง
้ แผงโซลาร์เซลล์
บนหลังคา ประมาณ 3,000 เมกะวัตต์ โดยจ�ำแนกเป็น
ดังต่อไปนี้
1. การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคา
บ้านเรือนประชาชน 1,000,000 ครัวเรือน
2. การติ ด ตั้ ง ระบบโซลาร์ เ ซลล์ บ นหลั งคา
โรงพยาบาล 10,000 แห่ง
3. การติ ด ตั้ ง ระบบโซลาร์ เ ซลล์ บ นหลั งคา
โรงเรียน 30,000 โรงเรียน
4. การติ ด ตั้ ง ระบบโซลาร์ เ ซลล์ บ นหลั งคา
บ้านเรือนทั่วไป

9.1 มาตรการเชิงนโยบาย

มาตรการที่ 1 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์แบบ
บนหลังคาบ้านเรือนประชาชนหนึ่งล้านครัวเรือน
มาตรการนี้เสนอให้รัฐบาลลงทุนติดตั้งแผง
ผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยระบบโซลาร์เซลล์ขนาดครัว
เรือนละ 1.5 กิโลวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุน 60,000 บาท
ต่อหลัง โดยจะติดตัง ้ ได้ 1,000,000 ล้านครัวเรือนใน
ระยะเวลา 3 ปี
ผลลัพธ์ของมาตรการนี้ จะท�ำให้แต่ละครัว
เรื อ นสามารถผลิ ต ไฟฟ้ า ใช้ ไ ด้ เ องประมาณ 225
หน่ ว ยต่ อ เดื อ น คิ ด เป็ น มู ล ค่ า 855 บาทต่ อ เดื อ น
ไฟฟ้าที่เหลือจากการใช้งานสามารถขายคืนให้ระบบ
ไฟฟ้า เพื่อเป็นรายได้เสริมของครัวเรือนที่มีรายได้
น้อยในระยะยาว
© เริงฤทธิ์ คงเมือง / กรีนพีซ

มาตรการที่ 1 นี้ จะท�ำให้ได้ก�ำลังการผลิต


ติดตั้งในระบบ 1,500 เมกะวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุน
รวมกั น 60,000 ล้ า นบาท และช่ ว ยให้ ค รั ว เรื อ น
ประหยั ด ค่ า ใช้ จ ่ า ยได้ ทั้ ง หมด 10,403 ล้ า นบาท
ต่ อ ปี หรื อ สามารถคื น ทุ น ได้ ภ ายในเวลา 5.77 ปี

54 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


มาตรการที่ 2 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์แบบ (2) ขนาด 100 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงพยาบาล
บนหลังคาโรงพยาบาล อ�ำเภอ จ�ำนวนประมาณ 800 แห่ง คิดเป็นเงินลงทุน
มาตรการนีเ้ สนอให้รฐ
ั บาลลงทุนติดตัง ้ ระบบ ทั้งหมด 2,400 ล้านบาท และจะช่วยให้โรงพยาบาล
โซลาร์เซลล์บนหลังคาส�ำหรับโรงพยาบาล โดยแยก ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ปีละ 693,500 บาทต่อแห่ง
ตามขนาดของโรงพยาบาลดังนี้ (3) ขนาด 5 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงพยาบาล
(1) ขนาด 1,000 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงพยาบาล สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพระดั บ ต� ำ บล จ� ำ นวนประมาณ
ขนาดใหญ่ จ�ำนวนประมาณ 120 แห่ง คิดเป็นเงิน 7,250 แห่ง คิดเป็นเงินลงทุนทั้งหมด 1,450 ล้าน
ลงทุนทัง
้ หมด 3,600 ล้านบาท และจะช่วยให้โรงพยาบาล บาท และจะช่วยให้โรงพยาบาลประหยัดค่าไฟฟ้าได้
ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ปีละ 6,935,000 บาทต่อแห่ง ปีละ 34,675 บาทต่อแห่ง
รวมแล้วมาตรการที่ 2 นีจ ้ ะช่วยให้โรงพยาบาล
8,170 แห่ ง มี ก� ำ ลั ง การผลิ ต ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม ขึ้ น 236
เมกะวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุนรวมกัน 7,450 ล้านบาท
และช่ ว ยให้ โ รงพยาบาลประหยั ด งบประมาณได้
ทัง
้ หมด 1,638 ล้านบาทต่อปี หรือสามารถคืนทุนได้
ภายในเวลา 4.55 ปี

มาตรการที่ 3 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์แบบ
บนหลังคาโรงเรียน
มาตรการนีเ้ สนอให้รฐ ั บาลลงทุนติดตัง ้ ระบบ
โซลาร์เซลล์บนหลังคาส�ำหรับโรงเรียน โดยแยกตาม
ขนาดของโรงเรียนดังนี้
(1) ขนาด 100 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงเรียน
ขนาดใหญ่พเิ ศษ จ�ำนวนประมาณ 720 แห่ง คิดเป็น
เงิ น ลงทุ น ทั้ ง หมด 2,160 ล้ า นบาท และจะช่ ว ยให้
โรงเรี ย นประหยั ด ค่ า ไฟฟ้ า และมี ร ายได้ เ พิ่ ม ปี ล ะ
693,500 บาทต่อแห่ง
(2) ขนาด 100 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงเรียน
ขนาดใหญ่ จ�ำนวนประมาณ 1,982 แห่ง คิดเป็นเงิน
ลงทุนทัง ้ หมด 5,946 ล้านบาท และจะช่วยให้โรงเรียน
ประหยัดค่าไฟฟ้าและมีรายได้เพิม ่ ปีละ 693,500 บาท
ต่อแห่ง
(3) ขนาด 30 กิ โ ลวั ต ต์ ส� ำ หรั บ โรงเรี ย น
ขนาดกลาง จ�ำนวนประมาณ 12,933 แห่ง คิดเป็น
เงิ น ลงทุ น ทั้ ง หมด 11,640 ล้ า นบาท และจะช่ ว ย
ให้ โ รงเรี ย นประหยั ด ค่ า ไฟฟ้ า และมี ร ายได้ เ พิ่ ม ปี ล ะ
208,050 บาทต่อแห่ง
(4) ขนาด 5 กิโลวัตต์ ส�ำหรับโรงเรียนขนาด
เล็ก จ�ำนวนประมาณ 15,368 แห่ง คิดเป็นเงินลงทุน
ทั้ ง หมด 3,077 ล้ า นบาท และจะช่ ว ยให้ โ รงเรี ย น
ประหยัดค่าไฟฟ้าและมีรายได้เพิ่ม ปีละ 34,675 บาท
ต่อแห่ง
รวมแล้วมาตรการที่ 3 นี้จะช่วยให้โรงเรียน
31,021 แห่ง มีกำ� ลังการผลิตติดตัง ้ เพิม
่ ขึน
้ 735.12
เมกะวัตต์ คิดเป็นเงินลงทุนรวมกัน 22,823 ล้านบาท
และช่วยให้โรงเรียนประหยัดงบประมาณและมีรายได้

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 55


เพิ่มทั้งหมด 5,098 ล้านบาทต่อปี หรือสามารถคืน หากมีการติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปจ�ำนวน
ทุนได้ภายในเวลา 4.48 ปี 3,000 เมกะวัตต์ จะท�ำให้เกิดการจ้างงานในการติด
เมือ
่ รวมทัง
้ 3 มาตรการนี้ จะท�ำให้ระบบโซลาร์- ตั้งแผงโซลาร์เซลล์จ�ำนวนมาก
เซลล์แบบบนหลังคามีก�ำลังการผลิตติดตั้งเพิ่มขึ้น โดยสมมุ ติ ใ ห้ หนึ่ ง หน่ ว ยธุ ร กิ จ ในการติ ด
2,778 เมกะวัตต์ ด้วยเงินลงทุนรวมกัน 98,859 ตั้ ง แผงโซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปได้ 1 เมกะวั ต ต์ ต ่ อ ปี หรื อ
ล้านบาท (ในระยะเวลา 3 ปี) และช่วยประหยัดค่าไฟฟ้า 3 เมกะวัตต์ในช่วงเวลา 3 ปี เพราะฉะนั้น การที่จะ
(และสร้างรายได้เพิ่ม) ให้กับบ้านเรือน โรงพยาบาล บรรลุ เ ป้ า หมายโซลาร์ รู ฟ ท็ อ ป 3,000 เมกะวั ต ต์
โรงเรียน ได้ 18,628 ล้านบาทต่อปี เพราะฉะนั้นจะ เราควรจะมีหน่วยธุรกิจติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปเช่นนี้
คืนทุนในระยะเวลาประมาณ 5.31 ปี และหากค�ำนวณ ประมาณ 1,000 หน่ ว ยธุ ร กิ จ ทั่ ว ประเทศ (เฉลี่ ย
ตลอดอายุการใช้งาน 25 ปี มาตรการทั้งสามนี้จะให้ ประมาณ 1 หน่วยธุรกิจต่ออ�ำเภอ)
ประโยชน์แก่ประชาชน 465,689 ล้านบาท การติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป 1 ครั้งนั้นจะก่อให้
เกิดการจ้างงานคือ การจ้างงานในการติดตั้ง 10
มาตรการที่ 4 การติดตั้งระบบโซลาร์เซลล์บน คนวัน และการจ้างงานในการดูแลรักษาแผง 4 คน
หลังคาบ้านเรือนทั่วไป วันต่อปี เพราะฉะนั้นภายในระยะเวลา 3 ปี การติดตั้ง
อีกประมาณ 222 เมกะวัตต์ โดยจะติดตั้ง โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปจะท� ำ ให้้เ กิ ด การจ้ า งงานประมาณ
ครัวเรือนละราว 3 กิโลวัตต์ จ�ำนวน 74,000 หลัง 11,500,000 คนวั น หรื อ ราว 38,333 อั ต รา
โดยระบบการรับซือ ้ ไฟฟ้าแบบระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า และเกิ ด การจ้ า งงานในการดู แ ลรั ก ษาประมาณ
ก็จะท�ำให้ระบบโซลาร์เซลล์บนหลังคาในประเทศไทยมี 4,600,000 คนวั น ต่ อ ปี ท� ำ ให้ เ กิ ด การจ้ า งงาน
ก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้น 3,000 เมกะวัตต์ในระยะเวลา ประมาณ 15,000 คนในการดูแลรักษา หรือรวมกัน
3 ปี ตามที่ได้วางแผนไว้ มากกว่า 50,000 ต�ำแหน่ง โดยจะเป็นการจ้างงาน
ในต�ำแหน่งวิศวกรมากกว่า 3,750 ต�ำแหน่ง ช่าง
9.2 ผลประโยชน์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม เทคนิคประมาณ 15,500 ต�ำแหน่ง ฝ่ายบริหารและ
ธุรการ ประมาณ 5,000 ต�ำแหน่ง และนอกเหนือจาก
นอกเหนือจากประโยชน์ในด้านของการเสริม นี้ เ ป็ น ต� ำ แหน่ ง พนั ก งานทั่ ว ไป และคาดว่ า จะสร้ า ง
ความมั่นคงของระบบไฟฟ้าและการช่วยลดการใช้ รายได้ให้แรงงานรวมทั้งหมดประมาณ 3,200 ล้าน
เชือ
้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าแล้ว การติดตัง
้ โซลาร์รฟ
ู ท็อป บาทต่อปี
ยังมีผลดีทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างน้อย 2. การลดความยากจน
3 ประการ ได้แก่ การลงทุนเพื่อสนับสนุนครัวเรือนที่มีรายได้
น้อยให้สามารถผลิตไฟฟ้าใช้ได้เองด้วยระบบโซลาร์-
1. การสร้างธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม รูฟท็อป ขนาด 1.5 กิโลวัตต์ จะเป็นส่วนหนึง ่ ของการ
(SMEs) และการจ้างงาน ลดปัญหาความยากจนในระยะยาว (กล่าวคือตลอด
หากมีการติดตั้งระบบโซลาร์รูฟท็อปจ�ำนวน ระยะเวลา 20-25 ปีของอายุการใช้งานของโซลาร์เซลล์)
3,000 เมกะวัตต์ จะท�ำให้เกิดการจ้างงานในการติดตัง ้ เพราะโซลาร์รฟ ู ขนาดดังกล่าวจะผลิตพลังงานไฟฟ้า
แผงโซลาร์เซลล์จำ� นวนมาก โดยสมมุตใิ ห้ หนึง ่ หน่วย ประมาณ 225 หน่วยต่อเดือน ซึ่งจะช่วยลดรายจ่าย
ธุรกิจในการติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์รับติดตั้งขนาด และ/หรือเพิม ่ รายได้ให้กบ ั ครัวเรือนทีม
่ รี ายได้นอ ้ ย (ใน
5 กิโลวัตต์ ปีละ 200 แห่งเป็นเวลา 3 ปี เท่ากับหนึง ่ ระบบระบบหักลบหน่วยไฟฟ้า) ประมาณ 855 บาทต่อ
หน่วยธุรกิจติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปจะสามารถติดตั้ง เดือน (อัตราค่าไฟฟ้า 3.8 บาทต่อหน่วย) ซึ่งเกือบ
โซลาร์รฟ ู ท็อปได้ 1 เมกะวัตต์ตอ ่ ปี หรือ 3 เมกะวัตต์ เท่ากับหนึ่งในสามของเส้นความยากจน (Poverty
ในช่วงเวลา 3 ปี เพราะฉะนัน ้ การทีจ ่ ะบรรลุเป้าหมาย line) (ก�ำหนดที่ 2,686 บาทต่อคนต่อเดือน ในปี
โซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะวัตต์ เราควรจะมีหน่วย 2560) หรือมากกว่าเบีย ้ ยังชีพของผูส ้ งู อายุทรี่ ฐั บาล
ธุ ร กิ จ ติ ด ตั้ ง โซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปเช่ น นี้ ป ระมาณ 1,000 จ่ายให้ในแต่ละเดือน นอกจากจะช่วยให้ครัวเรือนเหล่า
หน่วยธุรกิจทัว ่ ประเทศ (หรือหากจะกล่าวโดยถัวเฉลีย ่ นีล้ ดภาระค่าใช้จา่ ย และ/หรือเพิม ่ รายได้จากค่าไฟฟ้า
ประมาณ 1 หน่วยธุรกิจต่ออ�ำเภอ) ของตนได้แล้ว ยังสามารถน�ำเงินส่วนที่เพิ่มขึ้นนี้ไป
ลงทุนต่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนได้อีกด้วย

56 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


3. การลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม ข้อมูลอ้างอิง
การติดตั้งโซลาร์รูฟท็อป 3,000 เมกะวัตต์ • ข้ อ มู ล การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกและมลสาร
จะช่วยลดการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงฟอสซิลลงได้ มาจาก LCA of fossil and biomass power
โดยคาดว่า การผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รฟ ู ท็อปจะผลิต generation chains โดย Christian Bauer,
ไฟฟ้าได้ 4,468 ล้านหน่วย ในปี 2565 ท�ำให้สามารถ http://ventderaison.eu/documents/PSI-
ลดการผลิตไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ (ซึ่ง Bericht_2008-05.pdf
มักจะตั้งอยู่ใกล้พื้นที่เมือง) ลงได้ ซึ่งจะช่วยลดการ • ข้ อ มู ล การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกและมลสาร
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงได้ประมาณ 1.48 ล้านตัน จากถ่ า นหิ น มาจาก Emission Inventory
ต่อปี (ค�ำนวณจากอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจก of Electricity Generation in Thailand
ตลอดวั ฎ จั ก รชี วิ ต ของการผลิ ต ไฟฟ้ า จากก๊ า ซ โดย Krittayakasem et al, http://cite-
ธรรมชาติที่ 0.4 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์ต่อ seerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?-
หน่ ว ย (kWh) ค� ำ นวณจากอั ต ราการปล่ อ ยก๊ า ซ doi=10.1.1.854.7524&rep=rep1&type=pdf
เรือนกระจกตลอดวัฎจักรชีวิตของการผลิตไฟฟ้า • ข้อมูลการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ของป่าไม้
จากโซลาร์รฟ ู ท็อป (ประเภทมัลติ-คริสตัลไลน์ multi-
มาจาก คู่มือศักยภาพของพรรณไม้ส�ำหรับส่ง
Si [1] ที่ ผ ลิ ต จากประเทศจี น ) ที่ 0.068 กิ โ ลกรั ม
เสริมภายใต้โครงการกลไกการพัฒนาทีส ่ ะอาด
คาร์บอนไดออกไซด์ต่อหน่วย) หรือหากประเมินว่า
ภาคป่าไม้, https://mgronline.com/greenin-
ประเทศไทยจะใช้ถา่ นหินในการผลิตไฟฟ้า การติดตัง ้
novation/detail/9570000097135
โซลาร์รูฟท็อปแทนดังกล่าวข้างต้นจะลดการปล่อย
• ข้อมูลอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตลอดวัฎ
ก๊าซเรือนกระจกลงได้ประมาณ 4.52 ล้านตันต่อปี
จักรชีวิตของการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รูฟท็อป
ทั้ ง นี้ ป ริ ม าณการลดคาร์ บ อนไดออกไซด์ ที่ ล ดลง
(ประเภท multi-Si ที่ผลิตจากประเทศจีน) Yue,
ดั ง กล่ า ว เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ การผลิ ต ไฟฟ้ า ด้ ว ย
ก๊าซธรรมชาติเทียบเท่ากับการดูดซับของพื้นที่ป่า D., You, F., Darling, S. B. (2020) Domestic
ไม้ที่มีพรรณไม้อเนกประสงค์ (อัตราปลูก 100 ต้น and overseas manufacturing scenarios
ต่อไร่ และดูดซับคาร์บอนได้ออกไซด์ได้ 1.47 ตัน of silicon-based photovoltaics: Life cycle
ต่อไร่ต่อปี) เท่ากับ 1 ล้านไร่ เลยทีเดียว หรือหาก energy and environmental comparative
เทียบกับการผลิตไฟฟ้าด้วยถ่านหินปริมาณการลด analysis. Solar Energy, Volume 105, July
คาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดลงดังกล่าวจากการติดตั้ง 2014, Pages 669-678 (doi.org/10.1016/
โซลาร์รูฟท็อปแทนเทียบเท่ากับการดูดซับของพื้นที่ j.solener.2014.04.008)
ป่าไม้ที่มีพรรณไม้อเนกประสงค์เท่ากับ 3 ล้านไร่ เลย • ข้อมูลอัตราการปล่อยก๊าซ NOX วัฎจักรชีวิต
ทีเดียว ของการผลิ ต ไฟฟ้า จากโซลาร์ รู ฟ ท็ อ ปมาจาก
นอกจากนัน ้ การผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รฟ ู ท็อป Fthenakis, V.M. Kim, H.C. and Alsema, E.
ยังช่วยลดการปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) (2006) Emissions from photovoltaic life
จากการผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติลงได้ 804 cycles. Environmental Science & Technol-
ตันต่อปี (ค�ำนวณจากอัตราการปล่อยออกไซด์ของ ogy 2008; 42 (6): 2,168 – 2,174
ไนโตรเจนตลอดวัฎจักรชีวิตของการผลิตไฟฟ้าจาก • ข้อมูลจ�ำนวนโรงพยาบาลพยาบาล/เตียงจ�ำแนก
ก๊าซธรรมชาติที่ 0.3 กรัมต่อหน่วย kWh-อัตราการ รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. ตามเขตบริ ก าร,
ปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจนตลอดวัฎจักรชีวต ิ ของ http://thcc.or.th/reporthcode.html
การผลิตไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์รฟ ู ท็อป • ข้อมูลจ�ำนวนโรงเรียน, http://www.eduwh.
0.12 กรัมต่อหน่วย kWh) ในท�ำนองเดียวกันหรือ moe.go.th/?fbclid=IwAR3ytQJ7Bge-
หากประเมินว่าประเทศไทยจะใช้ถ่านหินในการผลิต z2tsKgOdBeOekrFWO27XRRc3XxjmU-
ไฟฟ้า การติดตัง ้ โซลาร์รฟู ท็อปแทนดังกล่าวข้างต้น COvJ8gF1Udow6Tb5ijo
จะลดการปล่อยออกไซด์ของไนโตรเจนลงได้ประมาณ
10,098 ตันต่อปี ดังนั้น การใช้โซลาร์รูฟท็อปจึงมี
ผลดีอย่างมากต่อการลดภาวะโลกร้อนในอนาคต
และช่วยแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศในเขตเมือง
ในปัจจุบันอีกด้วย

ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 57


© เริงชัย คงเมือง / กรีนพีซ

58 ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566)


ปฎิวัติพลังงานบนหลังคา: ข้อเสนอเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจฐานรากที่ยั่งยืนและเป็นธรรมผ่านระบบโซลาร์รูฟท็อปในประเทศไทย (พ.ศ.2564-2566) 59

You might also like