วิวัฒนาการของละครและนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทย เป็นศิ

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

วิวัฒนาการของละครและนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์ไทย เป็นศิลปะประจาชาติอันเป็นศิลปะมรดกด้านวัฒนธรรม

แสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ ของไทยมีประวัติความเป็นมายาวนานและมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยน่านเจ้าจนถึง
ปัจจุบัน
สมัยน่านเจ้า
จากหลักฐานการค้นคว้าพบว่า ในสมัยน่านเจ้ามีละครเรื่องมโนห์รา ซึ่งในปัจจุบันก็ยังมีอยู่และยังมี นิยายของพวก
ไตซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยอยู่ทางใต้ของประเทศจีน เรื่องนามาโนห์ราซึ่งเพี้ยนไปเป็น นางมโนห์รา ก็รู้จักกันดีนั่นเอง
นอกจากนั้นยังมีการแสดงระบำเป็นการละเล่นของพวกไต ได้แก่ ระบำหมวก ระบำนกยูง อีกด้วย นิยายเรื่อง นา
งมโนห์รา
สมัยสุโขทัย
สันนิษฐานได้จากหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงหลักที่ 1 กล่าวถึง การละเล่นในเทศกาลกฐิน เกี่ยวกับการ
ดนตรีและนาฏศิลป์ว่า “เมื่อจักเข้าเวียงเรียงกันแต่อรัญญิกพู้นท่วมหัวลาน ตํบงคํกลอย ด้วย เสียงพาทย์ เสียงพิณ
เสียงเอื้อน เสียงขับ ใครจักมันเหล้น เหล้น ใครจักมักหัว หัว ใครจักมักเลื้อน เลื้อน"
การแสดงประเภท ระบำ รำ ฟ้อน วิวัฒนาการมาจากการละเล่นของชาวบ้านเพื่อเป็นการพักผ่อน หย่อนใจหลัง
จากเสร็จงาน หรือแสดงในงานบุญ งานรื่นเริงประจำปี ดังปรากฏข้อความในหนังสือไตรภูมิพระร่วงของพระมหา
ธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) กล่าวว่า “ บ้างเต้น บ้างรำ บ้างฟ้อน ระบำบรรลือ” สมัยนี้ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับละครนัก
เป็นสมัยที่เริ่มมีความสัมพันธ์กับชาติที่นิยมอารยธรรมของ อินเดีย เช่น พม่า มอญ ขอม และละว้า เมื่อไทยได้รับ
วัฒนธรรมด้านการละครของอินเดียเข้าศิลปะแห่งการละเล่นพื้นเมืองของไทย คือ รำ และระบำ ก็ได้วิวัฒนาการ
ขึ้นมีการกำหนดแบบแผนแห่ง ศิลปะการแสดงทั้ง 3 ชนิดไว้เป็นที่แน่นอน และบัญญัติคำเรียกศิลปะแห่งการแสดง
ดังกล่าวข้างต้นว่า “โขน ละคร ฟ้อนรำ”
สมัยอยุธยา
ได้พัฒนาการแสดงในรูปแบบของละครรำ นับเป็นต้นแบบของละครรำแบบอื่นๆต่อมา คือ ละคร โนราชาตรี ละคร
นอก และ ละครใน สาหรับละครในเป็นละครผู้หญิง แสดงเฉพาะในราชสำนัก ในรัชสมัย พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
นิยมแสดงเรื่อง “อิเหนา” ซึ่งเจ้าพินทวดีได้สืบทอดท่าราต่อมา
ละครชาตรี เรื่องรถเสน ละครในเรื่อง อิเหนา ละครนอก เรื่องไกรทอง
ละครรำสมัยนี้มีต้นกำเนิดมาจากการเล่นมโนห์ราและละครชาตรี ละครที่เล่นกันสมัยนี้เล่นกัน 3 ประเภท คือ
ละครชาตรีซึ่งเป็นละครแบบเดิม ละครนอกปรับปรุงมาจากละครชาตรีและละครในซึ่งใช้ผู้หญิงแสดง
บทละครนอกที่ใช้แสดงในสมัยอยุธยา คือ การะเกด คาวี ไชยทัต พิกุลทอง ไกรทอง มโนห์รา โคบุตร
พิมพ์สวรรค์ โสวัต พิณสุริยวงศ์ ไชยเชษฐ์ มณีพิชัย โม่งป่า สังข์ทอง ศิลป์สุริวงศ์ สังข์ศิลป์ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณ
หงส์ และ พระรถเสน
บทละครใน นอกจากเรื่อง รามเกียรติ์ อุณรุท ดาหลังหรืออิเหนาใหญ่ อิเหนาหรืออิเหนาเล็ก ซึ่งทั้งสอง
เรื่องนี้เป็นเรื่องของวีรบุรุษคนเดียวกัน

สมัยธนบุรี
มีละครรำของหลวงที่มีทั้งผู้หญิงและผู้ชายแสดง และมีละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราช สมัยนี้ เป็น
ช่วงต่อเนื่องจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อปี พ.ศ. 2310 เหล่าศิลปินได้กระจัดกระจายไปในที่ต่างๆ เพราะผล
จากสงคราม บางส่วนก็เสียชีวิต บางส่วนก็ถูกกวาดต้อนไปอยู่พม่า ครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรีได้ปราบ ได้ภิเษกไป
ในพ.ศ. 2311 ทรงได้พื้นฟูการละครขึ้นใหม่และรวมศิลปินตลอดทั้งบทละครเก่าๆที่กระจัดกระจายไปให้เข้ามาอยู่
รวมกันตลอดจนพระองค์ได้ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ขึ้นอีก 5 ตอน คือ หนุมานเกี้ยวนางวาน
ริน ตอนท้าวมาลีราชว่าความ ตอนทศกัณฑ์ตั้งพิธีทรายกลด (เผารูปเทวดา) ตอนพระ ลักษณ์ถูกหอกกบิลพัท ตอน
ปล่อยม้าอุปการ มีคณะละครหลวง และเอกชนเกิดขึ้นหลายโรง เช่น ละคร หลวงวิชิตณรงค์ ละครไทยหมื่นเสนาะ
ภูบาล หมื่นโวหารภิรมย์ นอกจากละครไทยแล้วยังมีละครเขมรของ หลวงวาทีอีกด้วย สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ได้มีการรวบรวมตาราการฟ้อนราและเขียนภาพท่า
ราแม่บทบันทึกไว้เป็นหลักฐาน มีการพัฒนาโขน เป็นรูปแบบละครใน มีการปรับปรุงระบาสี่บท ซึ่งเป็นระบา
มาตรฐาน สมัยนี้ได้เกิดนาฏศิลป์ขึ้นหลายชุด เช่น “ระบาเมขลา – รามสูร” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง รามเกียรติ์ “ระ
บาย่องหงิด” ในพระราชนิพนธ์เรื่อง อุณรท การแสดงชุด “แม่บทนางนารายณ์” ในบทพระราชนิพนธ์รามเกียรติ์
การแสดง “ชุดราโคม” จาก การเล่นโคมญวนของพวกญวน บทพระราชนิพนธ์ที่เกิดขึ้นโดยพระราชดาริในฐานะ
พระประมุขของกวี มี 4 เรื่อง คือ รามเกียรติ์ อุณรุท อิเหนา ดาหลัง ทรงพัฒนาโขนโดยนาละครในเข้ามาผสม
ผสานในการดาเนินเรื่อง ได้เพิ่มบทร้อง ปรับปรุงเครื่อง แต่งตัวและศิราภรณ์ โดยให้ผู้แสดงเปิดหน้าและสวมมงกุฎ
หรือชฎาเหมือนละครใน ในตอนปลายรัชกาลที่ 1 พระเจ้ากรุงกัมพูชาได้ให้ครูละครไทยไปฝึกหัดละครหลวงในราช
สานักกัมพูชา ซึ่งนับวาเป็นเกียรติ์ประวัติของ ละครไทยที่ประชาชนคนไทยควรภาคภูมิใจ
สมเด็จพรเจ้าอยู่หัว

You might also like