Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 82

การเตรียมความพร้อม

ของสถานศึกษา
เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก

สำานักทดสอบทางการศึกษา
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
การเตรียมความพร้อมของ
สถานศึกษาเพื่อรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก

ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก

ISBN :
๙๗๘-๖๑๖-๕๖๔-๐๗๓-๒
ปีที่พิมพ์ :
พ.ศ.๒๕๖๓
จ�ำนวนพิมพ์ :
๑,๐๐๐ เล่ม
จัดพิมพ์โดย :
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
ลิขสิทธิ์เป็นของ : ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
โทรศัพท์ : ๐-๒๒๘๘-๕๗๕๗-๘
โทรสาร : ๐-๒๖๒๘-๕๘๖๒
เว็ปไซต์ : http://bet.obec.go.th
พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด  เอ็น.เอ.รัตนะเทรดดิ้ง 
ที่อยู่ ๑๓/๑๔ ม.๕ แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กทม. ๑๐๑๖๐
โทร.๐๘๑-๗๓๒-๔๒๔๖
ค�ำน�ำ

กระทรวงศึกษาธิการ มีการปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยมี ก ารปรั บ ปรุ ง มาตรฐานและประเด็ น พิ จ ารณา
ให้ ส ะท้ อ นถึ ง คุ ณ ภาพอย่ า งแท้ จ ริ ง ก� ำ หนดเกณฑ์ แ ละรายการประเมิ น
แบบองค์รวม (Holistic Assessment) ซึ่งเป็นการประเมินโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
(Evidence Based) ลดภาระการจัดท�ำเอกสารที่ใช้ในการประเมิน ยึดหลัก
การตั ด สิ น ระดั บ คุ ณ ภาพตามหลั ก การตั ด สิ น โดยอาศั ย ความเชี่ ย วชาญ
(Expert Judgment) ของผู้ประเมิน และใช้การตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review) ปรับกระบวนทัศน์
ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาบนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา
มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ในการปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อให้มี
กลไกการปฏิบัติที่เอื้อต่อการด�ำเนินการตามมาตรฐานการศึกษา ของแต่ละระดับ
และเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษา และประกาศใช้
มาตรฐานการศึ ก ษาระดั บ ปฐมวั ย ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกาศ ณ วันที่ ๖ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับสถานศึกษา หน่วยงาน
ต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา


การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบการประกัน
คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้ น พื้ น ฐาน จึ ง ได้ จั ด ท� ำ คู ่ มื อ ชุ ด นี้ ขึ้ น เพื่ อ ให้ ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา
สามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือ
สถานศึ ก ษาในการด� ำเนินการประกันคุณ ภาพการศึ ก ษา และสถานศึ ก ษา
สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางในการด� ำ เนิ น งานการประกั น คุ ณ ภาพภายใน
ของสถานศึกษา และเตรียมความพร้อมส�ำหรับการประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผู้บริหาร
ครู อาจารย์ ศึกษานิเทศก์ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ
คู่มือชุดนี้ให้สมบูรณ์ และหวังว่าสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จะได้รับประโยชน์จากคู่มือชุดนี้ ใช้คู่มือชุดนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมาย
ที่ก�ำหนดไว้ได้อย่างยั่งยืน

(นายอ�ำนาจ วิชยานุวัติ)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ค�ำชี้แจง

หลังจากกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษา และประกาศมาตรฐานการศึ ก ษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำหรับให้สถานศึกษาใช้เป็นแนวทางด�ำเนินงาน
เพื่ อ การประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา และเตรี ย มการส� ำ หรั บ
การประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
จัดท�ำคู่มือ ส�ำหรับให้ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปฏิ บั ติ เ พื่ อ การพั ฒ นาระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายใน
ของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง
โดยคู่มือนี้ มีจ�ำนวน ๕ เล่ม มีเนื้อหาสาระครอบคลุมรายละเอียด
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งน�ำเสนอ
หลักการ เหตุผล แนวคิด และกรณีตัวอย่างเกี่ยวกับการพัฒนาตามระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ดังนี้
เล่มที่ ชื่อเอกสาร สาระส�ำคัญ
๑ แนวทางการพัฒนาระบบ แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพ การศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบการประกัน
การศึกษาตามกฎ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และกรณี
กระทรวงการประกัน ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ รู ป แบบและแนวทางการพั ฒ นา
คุณภาพการศึกษา ระบบการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน
พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานศึกษาให้เข้มแข็ง


การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
เล่มที่ ชื่อเอกสาร สาระส�ำคัญ
๒ การก�ำหนดมาตรฐาน แนวคิด หลักการ แนวทางการก�ำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษา และตั ว อย่ า ง
การก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๓ การจัดท�ำแผนพัฒนา แนวคิด หลักการ ความส�ำคัญ กระบวนการจัดท�ำ
การจัดการศึกษา และตั ว อย่ า งของแผนพั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษา
ของสถานศึกษา ของสถานศึ ก ษาและแผนปฏิ บั ติ ก ารประจ� ำ ปี
(Action Plan)
๔ การจัดท�ำรายงาน หลั ก การเขี ย นรายงานผลการประเมิ น ตนเอง
ผลการประเมินตนเอง ขั้นตอน โครงสร้าง และตัวอย่าง การจัดท�ำรายงาน
ของสถานศึกษา ประเมินตนเองของสถานศึกษา
๕ การเตรียมความพร้อม ความหมาย หลักการ แนวคิด และวัตุประสงค์
ของสถานศึกษาเพื่อรับ ของการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอก การเตรี ย ม
การประเมินคุณภาพ ความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ภายนอก และตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/
ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์


การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
สารบัญ
ค�ำน�ำ ก
ค�ำชี้แจง ค
สารบัญ จ
ตอนที่ ๑ บทน�ำ ๓

ตอนที่ ๒ ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์ ๗


ของการประเมินคุณภาพภายนอก
l ความหมายของการประเมินคุณภาพภายนอก ๗
l หลักการ ๘
l แนวคิดส�ำคัญ ๘
l วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก ๙
l กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ๑๐

ตอนที่ ๓ การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ๒๑
เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
l บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาและการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก ๒๑
l แนวทางการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา

เพื่อเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก ๒๕


การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ตอนที่ ๔ ตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/ ๓๑
ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
บรรณานุกรม ๔๕
ภาคผนวก ๔๗
คณะท�ำงาน ๖๗


การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ตอนที่ ๑
บทนำ�
ตอนที่ ๑
บทนำ�

ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีบทบาทหน้าที่และภารกิจ
เกี่ยวกับการจัดและส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มีคุณภาพและมาตรฐาน
ตามระดับและประเภทการศึกษา โดยกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ทั้งระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับ
การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ศู น ย์ ก ารศึ ก ษาพิ เ ศษ เพื่ อ สถานศึ ก ษาน� ำ ไปใช้ พั ฒ นา
การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐาน บนพื้นฐานและบริบทของตนเอง
ที่สามารถสะท้อนความเป็นอัตลักษณ์ของผู้เรียนและเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
แต่ละแห่ง การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเข้าสู่คุณภาพและมาตรฐานดังกล่าว
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ก�ำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่ง
ต้องรับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย ๑ ครั้ง ในทุก ๕ ปี โดยที่
สถานศึกษาจัดท�ำรายงานการประเมินตนเองเสนอหน่วยงานต้นสังกัดสังเคราะห์
เพื่อส่งให้ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน) ด�ำเนินการประเมินตามระยะเวลา และเงื่อนไขที่ก�ำหนด
การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอก เป็ น กระบวนการที่ มี ค วามส� ำ คั ญ
ในการยืนยันความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ตลอดจนเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ
และอัตลักษณ์ของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษา ที่มีความเชื่อมโยง
กั บ ระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา ไม่ ส ร้ า งภาระงาน
ให้ กั บ สถานศึ ก ษาโดยเฉพาะภาระงานด้ า นเอกสารเน้ น ข้ อ มู ล ประจั ก ษ์

3
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
(Empirical Data) โดยอาศัยหลักฐาน (Evidence Based) จากการท�ำงาน
ที่ ส ะท้ อ นผลลั พ ธ์ ก ารด� ำ เนิ น งานประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา
สอดคล้ อ งกั บ บริ บ ทของสถานศึ ก ษา ตลอดจนเผยแพร่ ผ ลการด� ำ เนิ น งาน
ข้อมูลสารสนเทศสู่สาธารณะอย่างถูกต้องและโปร่งใส ซึ่งการประเมินคุณภาพ
ภายนอกไม่มีการตัดสินผลการประเมินว่า “รับรอง-ไม่รับรอง” แต่เป็นการยืนยัน
การประเมินคุณภาพเพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
ด้วยเหตุนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงจัดท�ำเอกสาร
เพื่อสื่อสารสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในการเตรียมความพร้อมสถานศึกษาเข้ารับ
การประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกให้ กั บ สถานศึ ก ษา และส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่
การศึกษาหรือหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายเกิดความมั่นใจ
นอกจากนี้การเตรียมความพร้อมที่ดี ยังช่วยให้สามารถสะท้อนข้อมูลสภาพจริง
ของสถานศึกษาส�ำหรับการประเมินคุณภาพภายนอก อันจะก่อให้เกิดประโยชน์
ต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจแก่บุคลากรระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ
สถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๒. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

4
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ตอนที่ ๒
ความหมาย หลักการ แนวคิด
และวัตถุประสงค์
ของการประเมินคุณภาพภายนอก
ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์
ตอนที่ ๒
ของการประเมินคุณภาพภายนอก

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔๙ ก�ำหนดให้


สถานศึกษาทุกแห่งต้องรับ การประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย ๑ ครั้ง
ในทุก ๕ ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผล การประเมินต่อ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน ซึ่งส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน น�ำเสนอแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกเป็นหลักการส�ำคัญ
ที่ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ได้ก�ำหนดความหมาย หลักการ แนวคิดส�ำคัญและแนวทางการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ไว้ดังนี้

ความหมายของการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก หมายถึง การประเมินคุณภาพการจัด
การศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจากส�ำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นการประกัน
คุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้มี
คุ ณ ภาพดี ยิ่ ง ขึ้ น ผู ้ ป ระเมิ น ภายนอกมี ค วามเป็ น อิ ส ระ และเป็ น กลาง
ไม่มีผลประโยชน์ขัดแย้งกับการประเมินคุณภาพภายนอกจะน�ำไปสู่การเข้าถึง
คุ ณ ภาพการศึ ก ษาด้ ว ยความเป็ น กลาง เพื่ อ สร้ า งสรรค์ พั ฒ นาคุ ณ ภาพ
และมาตรฐานการศึกษาอย่างแท้จริง

7
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
หลักการ
ส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมินคุณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก าร
มหาชน) ก�ำหนดหลักการส�ำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอกไว้ ๒ ประการ
ได้แก่
๑. การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความเชื่อมโยงกับระบบประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด ที่จะต้องรับผิดชอบให้
บรรลุถึงเป้าหมายในการจัดการศึกษา และร่วมรับผิดชอบ (Accountability)
ต่อผลการจัดการศึกษาที่เกิดขึ้น
๒. การประเมินคุณภาพภายนอกต้องมีความท้าทายและช่วยส่งเสริมให้
เกิ ด การพั ฒ นาและยกระดั บ คุ ณ ภาพของสถานศึ ก ษาสู ่ ส ากลให้ เ ป็ น ไปตาม
นโยบายปฏิรูปการศึกษาของประเทศ บรรลุเป้าหมายทั้งในระดับชาติ และระดับ
นานาชาติ

แนวคิดส�ำคัญ
การประเมินคุณภาพภายนอก มีแนวคิดส�ำคัญ ๔ ประการ คือ
๑. ใช้กลไกการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อกระตุ้นและจูงใจให้เกิด
การพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา ที่สอดคล้องกับความต้องการจ�ำเป็น
และยุทธศาสตร์ของประเทศ
๒. เน้นการประเมินเพื่อยืนยันคุณภาพของระบบประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด รับผิดชอบ
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตร และมีความพร้อมในการแข่งขันในระดับสากล

8
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๓. ให้ความส�ำคัญกับการประเมินที่มุ่งสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน เพื่อส่งเสริม
ให้ผู้เรียนมีสมรรถนะที่จ�ำเป็นส�ำหรับการด�ำเนินชีวิตในอนาคต และสถานศึกษามี
ขีดสมรรถนะสูง สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องในอนาคต
๔. เปิ ด โอกาสให้ ส ถานศึ ก ษาสร้ า งความโดดเด่ น หรื อ เป็ น ต้ น แบบ
ในการพัฒนาในระดับภูมิภาค ระดับชาติ และระดับนานาชาติ

วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอก
๑. เพื่อตรวจสอบยืนยันสภาพจริงในการด�ำเนินงานของสถานศึกษา และ
ประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ตามมาตรฐานการศึ ก ษาอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ตามกรอบแนวทางและวิธีการที่ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ก�ำหนด และสอดคล้องกับระบบประกันคุณภาพ
ภายใน
๒. เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งช่วยสะท้อนให้เห็นจุดแข็งจุดอ่อนของสถานศึกษา
เงื่อนไขของความส�ำเร็จ และสาเหตุของปัญหา
๓. เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๔. เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและประกั น คุ ณ ภาพภายใน
อย่างต่อเนื่อง
๕. เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาน
ศึกษาต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน

9
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ได้ก�ำหนดกรอบแนวทางการประเมิน
คุณภาพภายนอกไว้ ๒ ส่วน ได้แก่ การประเมินคุณภาพมาตรฐาน และการประเมิน
ความโดดเด่น โดยมีรายละเอียดการพิจารณาดังนี้
ส่วนที่ ๑ การประเมินคุณภาพมาตรฐาน เป็นการประเมินตามพันธกิจ
และบริบทของสถานศึกษา โดยเชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพภายใน และ
ประเด็นที่ได้รับแจ้งจากหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล ดังนี้

ตารางแสดงกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับการจัดการศึกษา
แนวทางพิจารณาคุณภาพ
ปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน
๑. คุณภาพของเด็กหรือด้านอื่น ๑. คุ ณ ภาพของผู ้ เรี ย น หรื อ Ø ความเหมาะสม เป็นไปได้
ตามชื่อที่สถานศึกษาก�ำหนด ด้านอื่นตามชื่อที่สถานศึกษา Ø ความเชื่อถือได้
ก�ำหนด Ø ประสิทธิผล
๒. กระบวนการบริหารและการ ๒. กระบวนการบริ ห ารและ Ø ความเป็นระบบ
จัดการ หรือด้านอื่นตามชื่อ การจั ด การ หรื อ ด้ า นอื่ น Ø ความเชื่อถือได้
ที่สถานศึกษาก�ำหนด ตามชื่อที่สถานศึกษาก�ำหนด Ø ประสิทธิผล
๓. การจัดประสบการณ์ที่เน้น ๓. กระบวนการจั ด การเรี ย น Ø ความเป็นระบบ
เด็กเป็นส�ำคัญหรือด้านอื่น การสอนที่ เ น้ น ผู ้ เรี ย นเป็ น Ø ความเชื่อถือได้
ต า ม ชื่ อ ที่ ส ถ า น ศึ ก ษ า ส�ำคัญ หรือด้านอื่นตามชื่อที่ Ø ประสิทธิผล
ก�ำหนด สถานศึกษาก�ำหนด

10
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
แนวทางพิจารณาคุณภาพ
ส� ำ นั ก งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก าร
มหาชน) ได้ก�ำหนดแนวทางพิจารณาคุณภาพในการประเมินคุณภาพภายนอกไว้
ดังนี้
๑. ความเหมาะสม เป็นไปได้ (Propriety/Feasibility) หมายถึง
การก�ำหนดเป้าหมาย/เกณฑ์ ความส�ำเร็จ ของผู้เรียนมีความเหมาะสมกับบริบท
ของสถานศึกษา และมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง ประหยัด และคุ้มค่า
๒. ความเป็นระบบ (Systematic) หมายถึง กระบวนการด�ำเนินงาน
ด้านการบริหารและการจัดการด้านการจัดการเรียนรู้ ที่เกิดจากการคิดอย่าง
เป็ น กระบวนการ โดยพิ จ ารณาจากตั ว อย่ า ง เช่ น กระบวนการ ๕W๑H
ว่าใคร (Who) คือ ใครรับผิดชอบ ใครเกี่ยวข้อง ใครได้รับผลกระทบ ในเรื่องนั้น
มีใครบ้าง ท�ำอะไร (What) คือ เราจะท�ำอะไร มีใครท�ำอะไรบ้าง ที่ไหน (Where)
คื อ สถานที่ ที่ เราจะท� ำ ว่ า จะท� ำ ที่ ไ หน เหตุ ก ารณ์ ห รื อ สิ่ ง ที่ ท� ำ นั้ น อยู ่ ที่ ไ หน
เมื่อใด (When) คือ ระยะเวลาที่จะท�ำจนถึงสิ้นสุด เหตุการณ์นั้นท�ำเมื่อวัน เดือน
ปี ใด ท�ำไม (Why) คือ สิ่งที่เราจะท�ำนั้น ท�ำด้วยเหตุผลใด เหตุใดจึงได้ท�ำสิ่งนั้น
และอย่างไร (How) คือ สิ่งที่เราต้องรู้ว่า เราจะสามารถท�ำทุกอย่างให้บรรลุผล
ได้อย่างไร เหตุการณ์หรือสิ่งที่ท�ำนั้นท�ำอย่างไรบ้าง หรืออาจจะเป็นกระบวนการ
PDCA คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (DO) การตรวจสอบ (Check)
และการปรับปรุงการด�ำเนินการอย่างเหมาะสม (Act) เป็นต้น
๓. ความเชื่อถือได้ (Validity/Credibility) หมายถึง กระบวนการ
ประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ที่ เ กิ ด จากผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งหรื อ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย
การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้มาจากการใช้เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่หลากหลาย
ใช้หลักฐานหรือสารสนเทศเชิงประจักษ์ หรือมีข้อมูลจากหลายแหล่งในการตัดสิน
ผลการด�ำเนินงาน ซึ่งรวมทั้งข้อมูลสารสนเทศหรือหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่อยู่ใน

11
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ระบบฐานข้อมูลที่ง่ายแก่การตรวจสอบและข้อมูลที่อาจไม่ได้อยู่ในระบบฐาน
ข้อมูล แต่เกิดขึ้นตามสภาพจริง โดยผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในด้านนั้น ๆ
เมื่อตรวจสอบจากหลักฐานเชิงประจักษ์มีความตรงตามสภาพจริง เหมาะสม
ชัดเจน เป็นที่ยอมรับได้
๔. ประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นของการปฏิบัติ
ตามแผนการด�ำเนินงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ อันเป็นผล
ที่ เ กิ ด ต่ อ ผู ้ เรี ย น ต่ อ โรงเรี ย น ต่ อ ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก หรื อ ต่ อ วงวิ ช าการ ซึ่ ง ผล
การด�ำเนินงานมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง มีนวัตกรรมและเป็นแบบอย่างที่ดี
๕. นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธีการที่น�ำมาใช้
ในการปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหา หรือเพื่อการพัฒนา ซึ่งท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางความคิ ด กระบวนการ หรื อ องค์ ก ร อย่ า งสิ้ น เชิ ง หรื อ อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด
เป็นการพัฒนาต่อยอด เพิ่มมูลค่า มีเป้าหมายในเชิงบวก ซึ่งมีเกณฑ์การพิจารณา
คือ มีความสร้างสรรค์ (C – Creative) มีความใหม่ในบริบทนั้น ๆ (N – New)
มีคุณค่ามีประโยชน์ (V – Value Added) และปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม
(A – Adaptive)
๖. เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือ
ขั้นตอนการปฏิบัติที่ท�ำให้สถานศึกษาประสบความส�ำเร็จ หรือสู่ความเป็นเลิศ
ตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความส�ำเร็จ
ปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปรูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติ ตลอดจน
ความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงาน
ภายในหรือภายนอกสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์

12
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ส่วนที่ ๒ การประเมินความโดดเด่น
ส� ำ นั ก งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก าร
มหาชน) ได้ก�ำหนดให้มีการประเมินความโดดเด่นของสถานศึกษา เพื่อเป็น
การส่งเสริมความเป็นเลิศของสถานศึกษา ให้เป็นต้นแบบในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ
และเร่ ง รั ด คุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาสู ่ ก ารเป็ น สถานศึ ก ษาขี ด สมรรถนะสู ง
พร้อมส�ำหรับการแข่งขันระดับสากลในอนาคต โดยสถานศึกษาทั้งระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษา
พิ เ ศษ สามารถเลื อ กความโดดเด่ น ได้ ต ามศั ก ยภาพและความสมั ค รใจ
ในการประเมินความโดดเด่น ซึ่งผ่านความเห็นชอบจากหน่วยงานต้นสังกัด
หรือหากผู้ประเมินภายนอกพิจารณาเห็นว่าสถานศึกษามีความโดดเด่นด้า นใด
ด้านหนึ่งก็สามารถประเมินความโดดเด่นให้กับสถานศึกษาได้โดยความเห็นชอบ
จากสถานศึกษา ทั้งนี้ สถานศึกษาจะขอรับการประเมินหรือไม่รับการประเมินก็ได้
โดยมีกรอบแนวทางการประเมิน ดังนี้
ตารางแสดงกรอบแนวทางการประเมินความโดดเด่นของสถานศึกษา
มิติคุณภาพที่สถานศึกษา แนวทางการพิจารณา
สามารถขอรับการประเมินความโดดเด่น การประเมินความโดดเด่น
ระดับปฐมวัย
๑. ด้านพื้นฐานส�ำคัญ พัฒนาการด้านทักษะ ๑. ระดับคุณภาพ C๓ คือ สถานพัฒนาเด็ก
ภาษาและการสื่อสาร ปฐมวัยสามารถด�ำเนินงานให้บรรลุผลลัพธ์ที่
๒. ด้ า นนวั ต กรรมการศึ ก ษาปฐมวั ย ต้ อ งการและเป็ น ต้ น แบบ มี ค วามโดดเด่ น
การสร้ า งสรรค์ น วั ต กรรม การศึ ก ษาวิ จั ย มีความเป็นนานาชาติ
การประยุ ก ต์ อ งค์ ค วามรู ้ ด ้ า นปฐมวั ย และ ๒. ระดับคุณภาพ C๒ คือ สถานพัฒนาเด็ก
พั ฒ นา มาสู ่ ก ระบวนการจั ด ประสบการณ์ ปฐมวัยสามารถด�ำเนินงานให้บรรลุผลลัพธ์ที่
ที่ เ น้ น เด็ ก เป็ น ส� ำ คั ญ การดู แ ลและพั ฒ นา ต้องการและเป็นต้นแบบ มีความโดดเด่น ได้รับ
เด็กปฐมวัย อย่างต่อเนื่องจนเกิดผลดีอย่างยิ่ง ต่อ การยอมรับระดับชาติ
คุณภาพเด็กปฐมวัย และสามารถถอดบทเรียน

13
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มิติคุณภาพที่สถานศึกษา แนวทางการพิจารณา
สามารถขอรับการประเมินความโดดเด่น การประเมินความโดดเด่น
ระดับปฐมวัย
กระบวนการพัฒนาเป็นต้นแบบ หรือเป็นแบบ ๓. ระดับคุณภาพ C๑ คือ สถานพัฒนาเด็ก
อย่ า งได้ อ ย่ า งชั ด เจน เช่ น การจั ด กิ จ กรรม ปฐมวัยสามารถด�ำเนินงานให้บรรลุผลลัพธ์ที่
กิ น -กอด-เล่ น -เล่ า การเรี ย นรู ้ ผ ่ า นการเล่ น ต้องการและเป็นต้นแบบหรือ มีความโดดเด่น
(Learning through Play) การพั ฒ นา ระดับท้องถิ่น/ภูมิภาค
๕ ธรรมะ (ธรรมะ วั ฒ นธรรม คุ ณ ธรรม
จริยธรรม ธรรมชาติ) การเรียนรู้เชิงรุก (Active
Learning) การคิดอย่างสร้างสรรค์ (Creative
Thinking) การส� ำ รวจค้ น หา (Exploring)
การพัฒนาทักษะการคิดด้าน การจัดการ (Brain
Executive Functions) การเสริ ม แรง
เชิงบวก (Positive Reinforcement)
๓. ด้ า นชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู ้ ( Learning
Communities) การที่ผู้บริหาร ครู บุคลากร
สนับสนุนพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน นักวิชาการ
และผู้แทน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีเวที และ
พื้ น ที่ ใ น การแลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู ้ และ
ประสบการณ์ ทั้งการพัฒนาเด็กปฐมวัย และ
การสืบทอดทางวัฒนธรรมที่ดีงามจากชุมชน
และสั ง คมสู ่ ก าร สร้ า งและพั ฒ นาแนวทาง
การพัฒนาเด็กปฐมวัยร่วมกัน
๔. ด้านสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา
คุ ณ ภาพการเรี ย นรู ้ แ ละการเล่ น การสร้ า ง
หรือจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนา
คุ ณ ภาพการเรี ย นรู ้ ข องเด็ ก ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด
พฤติกรรมการเรียนรู้และการเล่นที่มีความหมาย
และ มีประสิทธิภาพต่อเด็กปฐมวัย

14
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มิติคุณภาพที่สถานศึกษา แนวทางการพิจารณา
สามารถขอรับการประเมินความโดดเด่น การประเมินความโดดเด่น
ระดับปฐมวัย
๕. ด้านการพัฒนาศักยภาพเด็กรายบุคคล
ทั้งเด็กทั่วไปและเด็กพิเศษ การพัฒนาระบบ
และวิธีการส่งเสริมศักยภาพเด็กรายบุคคลที่มี
คุ ณ ภาพ ตั้ ง แต่ การคั ด กรอง การส่ ง เสริ ม
ศักยภาพเด็กรายบุคคล การประเมินพัฒนาการ
การให้ความช่วยเหลือเด็กที่มี ความต้องการ
พิเศษ เช่น กิจกรรมบูรณาการประสาทสัมผัส
โดยมีเป้าหมายและโปรแกรม การพัฒนาเด็ก
เป็ น รายบุ ค คล และการท� ำ งานร่ ว มกั บ
ผู ้ ป กครอง ที่ เชื่ อ มประสานกั บ ผู ้ เชี่ ย วชาญ
เฉพาะทาง
๖. ด้านอื่น ๆ การพัฒนาตามเอกลักษณ์ของ
สถานศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. ความสามารถด้านวิชาการควบคู่คุณธรรม ๑. ระดั บ คุ ณ ภาพ C๓ คื อ สถานศึ ก ษา
การพั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างวิ ช าการให้ ดี ขึ้ น สามารถด�ำเนินงานให้บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ
มี พั ฒ นาการของคุ ณ ภาพผู ้ เ รี ย นใน ๓ ปี และเป็ น ต้ น แบบ มี ค วามโดดเด่ น ได้ รั บ
เช่น โรงเรียนวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี ควบคู่ การยอมรับในระดับนานาชาติ
ไปกั บ การพั ฒ นาคุ ณ ลั ก ษณะที่ ส� ำ คั ญ ๆ คื อ ๒. ระดั บ คุ ณ ภาพ C๒ คื อ สถานศึ ก ษา
ความซื่อสัตย์ ความมีวินัย ค่านิยมอยู่อย่างพอเพียง สามารถด�ำเนินงานให้บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ
รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ หรืออื่น ๆ และเป็ น ต้ น แบบ มี ค วามโดดเด่ น ได้ รั บ
๒. ความสามารถในการใช้ ภ าษา และ การยอมรับระดับชาติ
การสื่อสาร การพัฒนาการของคุณภาพผู้เรียน ๓. ระดั บ คุ ณ ภาพ C๑ คื อ สถานศึ ก ษา
เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เป็นต้น สามารถด�ำเนินงานให้บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ
และเป็ น ต้ น แบบ หรื อ มี ค วามโดดเด่ น ระดั บ
ท้องถิ่น/ภูมิภาค

15
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มิติคุณภาพที่สถานศึกษา แนวทางการพิจารณา
สามารถขอรับการประเมินความโดดเด่น การประเมินความโดดเด่น
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๓. ความสามารถเฉพาะทางที่ ส� ำ คั ญ
ผลงานนั ก เรี ย นด้ า นนวั ต กรรม สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์
ทักษะวิชาชีพ(การเกษตร การเป็นผู้ประกอบ
การ) ด้ า นกี ฬ า ดนตรี ศิ ล ปะ ทั ก ษะด้ า น
การพั ฒ นาสื่ อ เทคโนโลยี หรื อ อื่ น ๆ เช่ น
การเป็นผู้น�ำ สมรรถนะการด�ำเนินชีวิต (Literacy /
Living / Life / Career Skills) เป็นต้น
๔. การบริหารจัดการศึกษา คุณภาพการ
จัดการศึกษาส�ำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
(Special needs / Gifted / Vulnerable)
การมีนวัตกรรม การเรียนรู้ที่โดดเด่น การวิจัย
และพั ฒ นานวั ต กรรมการเรี ย นรู ้ ก ารบริ ห าร
จัดการแบบมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของชุมชน
ที่ โ ดดเด่ น การได้ รั บ การรั บ รองคุ ณ ภาพ
การจัดการศึกษา ในระดับมาตรฐานนานาชาติ
เป็นต้น
๕. อื่น ๆ ตามที่สถานศึกษาประกาศเป็น
เอกลักษณ์ รายการเอกลักษณ์อื่น ๆ ที่สถาน
ศึกษาก�ำหนดที่มีการวางแผนและด�ำเนินการ
พัฒนาอย่างเป็นระบบ จนประสบความส�ำเร็จ
ในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือนานาชาติ

16
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอกเป็นการประเมินเชิงคุณภาพ เน้นหลักฐาน
เชิงประจักษ์ (Evidence Based) ที่สะท้อนผลลัพธ์การด�ำเนินงาน โดยใช้
การตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญ (Expert Judgment) และการตรวจทาน ผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (Peer Review) ให้ครอบคลุม
องค์ประกอบทั้งระบบแบบองค์รวม (Holistic Approach)
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพภายนอกของส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

สถานศึกษาประเมินตนเอง (Self-Assessment)
แล้วจัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด
๑. วิเคราะห์ SAR ส่งให้ สมศ.

สมศ. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
๒. (Pre-Analysis) จากฐานข้อมูล ของหน่วยงานต้นสังกัด

ขั้นตอน
คณะผู้ประเมินภายนอกประชุมพิจารณาผลการด�ำเนินงาน
การประเมิน ๓. ของสถานศึกษา ร่วมกับวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
(Pre-Assessment) เพื่อวางแผนการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
คุณภาพภายนอก
คณะผู้ประเมินภายนอกลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม (Site Visit)
๔. เพื่อประชุมเสวนาสร้างสรรค์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เก็บรวบรวมข้อมูล
เชิงคุณภาพกับบุคลากร หลักฐานเชิงประจักษ์ และหน่วยงาน บุคคล
ที่มีเกี่ยวข้องเพิ่มเติม รวมทั้งท�ำรายงานผลประเมินด้วยวาจา

๕. คณะผู้ประเมินภายนอกจัดท�ำรายงานผลการประเมินคุณภาพ
ภายนอก (EQA Report) พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
พัฒนาคุณภาพการศึกษา แล้วจัดส่งให้ สมศ. เพื่อพิจารณา
ให้การรับรองผลการประเมิน จากนั้น สมศ. จะจัดส่งให้กับ
สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด

17
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ตอนที่ ๓
การเตรียมความพร้อม
ของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
ตอนที่ ๓
เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อเข้ารับการประเมินภายนอก
เป็ น การสื่ อ สาร สร้ า งความรู ้ ความเข้ า ใจ เกี่ ย วกั บ ระบบการประเมิ น และ
การประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ รวมทั้งแนวทาง
การด�ำเนินการเกี่ยวกับระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมความพร้อม
ในการประเมินคุณภาพภายนอก แก่ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
ที่จะเข้ารับการประเมินภายนอก ซึ่งในการเตรียมความพร้อม ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายต้องมีความรู้ความเข้าใจ บทบาท สามารถด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาสู่การประกันคุณภาพภายใน และประเมินคุณภาพภายนอกได้

บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ประกาศแนวปฏิบัติ
การด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑
เพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ส� ำ นั ก งานการศึ ก ษาพิ เ ศษ ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่
การศึกษาทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด�ำเนินการ
เพื่อการพัฒนา ส่งเสริม ก�ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดังนี้

21
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๑. ระดับสถานศึกษา
ให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด�ำเนินการดังต่อไปนี้
๑.๑ สถานศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง จั ด ให้ มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพ
การศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาและเพื่ อ เป็ น กลไก
ในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนา
และสร้างความเชื่อมั่นให้กับสังคม ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
๑.๒ จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ดังนี้
๑) ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยหรือระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ที่กระทรวงประกาศใช้และให้สถานศึกษา
ก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ทั้งนี้
สามารถเพิ่มเติมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากที่กระทรวง
ศึกษาธิการประกาศใช้ได้ โดยให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการและ
รับผิดชอบร่วมกัน
๒) จั ด ท� ำ แผนพั ฒ นาการจั ด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาที่
สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการจ�ำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็น
ระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความส�ำเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
๓) ด�ำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๔) ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถาน
ศึกษา โดยก�ำหนดผู้รับผิดชอบและวิธีการที่เหมาะสม
๕) ติดตามผลการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึ ก ษาและน� ำ ผลการติ ด ตามไปใช้ ป ระโยชน์ ใ น
การปรับปรุงพัฒนา

22
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๖) การจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment
Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา น�ำเสนอรายงานผล
การประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ
และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นประจ�ำทุกปี
๗) พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ โดยพิจารณาจากรายงานผล
การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามค�ำแนะน�ำของ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง
๑.๓ สถานศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง ให้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ ส� ำ นั ก งานรั บ รอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในการประเมิน
คุณภาพภายนอกของสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) และหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลเพื่อน�ำไปสู่
การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษา

๒. ระดับส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๒.๑ ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ตลอดจนให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน�ำสถานศึกษา เพื่อพัฒนาระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่งอย่างต่อเนื่อง
๒.๒ รวบรวมและสั ง เคราะห์ ร ายงานผลการประเมิ น ตนเองของ
สถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่างๆ ที่
ต้องการให้มีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบ ซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น และจัดส่งไปยัง
ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

23
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๒.๓ ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึ ก ษาตามข้ อ เสนอแนะของส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น
คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (องค์ ก ารมหาชน) เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ
มาตรฐานของสถานศึกษา
๒.๔ ให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน) ในการประเมินคุณภาพภายนอก
๒.๕ อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์และ
ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก

24
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
แนวทางการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา
เพื่อเข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก
ช่วงที่ ๑ ก่อนการรับประเมินคุณภาพภายนอก
การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรนั้น ผู้บริหารจัดให้มีการประชุมชี้แจงให้กับผู้เกี่ยวข้องให้รับทราบถึงแนวทาง

๑. วิธีการประเมินภายนอก พร้อมมอบหมายบทบาทหน้าที่ ซักซ้อม ท�ำความเข้าใจในการน�ำเสนอข้อมูลข้อเท็จจริงให้ตรงกัน


ในแต่ละประเด็น และผู้ประเมินภายในโดยตรวจสอบรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) รวมทั้งหลักฐาน
ร่องรอยเชิงประจักษ์ ตามมาตรฐานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้ครบถ้วน ติดตาม ตรวจสอบงาน ตามภาระงาน
ด้านบุคลากร ที่มอบหมายไว้ ส� ำ หรั บ ครู แ ละบุ ค ลากรในสถานศึ กษาที่ เ กี่ ย วข้ อ งรวมให้ ข ้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ในเรื่ อ งที่ รั บ ผิ ด ชอบ และเป็ น
ผู้ถูกประเมินภายใน ตลอดจนซักซ้อมการถาม-ตอบค�ำถาม ในแต่ละประเด็นพิจารณาร่วมกัน นอกจากนี้ควรมีการเตรียม
ความพร้อมกับนักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา หรือผู้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมให้เข้าใจตรงกัน

การเตรียมความพร้อมด้านอาคารสถานที่เป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อม อาคาร สถานที่ ให้เอื้อต่อ


๒. การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ให้มีความปลอดภัยกับผู้เรียน เช่น การจัดภูมิทัศน์ อาการ สถานที่ การจัดห้องเรียน
การจัดห้องปฏิบัติการ รวมทั้งแหล่งเรียนรู้ภายใน เช่น ห้องสมุด สวนวิทยาศาสตร์ แปลงเกษตร ฯลฯ (ทะเบียน
ด้านอาคารสถานที่
แหล่งเรียนรู้ภายใน) ให้มีความสะอาด พร้อมในการใช้งานส�ำหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งจัดท�ำระเบียบแหล่ง
เรียนรู้ภายนอก เช่น พิพิธภัณฑ์ สถานที่ส�ำคัญในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ

๓. เตรียมความพร้อมด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เอกสารในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นร่องรอย
หลั ก ฐานที่ แ สดงถึ ง ความพร้ อ มในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ข องครู ผู ้ ส อน และบั น ทึ ก การนิ เ ทศชั้ น เรี ย น
ด้านการจัดกิจกรรม ของผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาในรอบปี ที่ ผ ่ า นมา เช่ น หลั ก สู ต รการศึ ก ษา หลั ก สู ต รกลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้
การเรียนรู้ หน่ ว ยแผนการจั ด ประสบการณ์ หน่ ว ยแผนการจั ด การเรี ย นรู ้ สื่ อ การสอน เครื่ อ งมื อ วั ด และประเมิ น ผล
เครื่องมือนิเทศ และรายงานผลการนิเทศ ฯลฯ

๔. การเตรียมความพร้อมด้านเอกสาร หลักฐาน ร่องรอย ที่เกี่ยวข้องเป็นการเตรียมการตรวจสอบความถูกต้อง


ด้านเอกสาร ครบถ้วนของเอกสารที่สถานศึกษาจัดท�ำขึ้นระหว่างการด�ำเนินการพัฒนาสถานศึกษาในรอบ ๑ ปีที่ผ่านมา
หลักฐาน เช่น ประกาศมาตรฐานและตั้งค่าเป้าหมายของสถานศึกษาที่มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ร่องรอย แผนปฏิบัติการประจ�ำปี และจัดท�ำสารสนเทศสถานศึกษา ตลอดจนเตรียมสื่อเทคโนโลยีให้มีความเป็นปัจจุบัน
และพร้อมใช้งาน ฯลฯ

25
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
P a gPea |g12
eP a| 12
g e | 12

ช่วงทีช่่ ว๒งทีระหว่
่ ช่๒วระหว่
งที
างรั่ ๒บาการประเมิ
ระหว่
งรับการประเมิ
างรับนการประเมิ
คุณนภาพภายนอก
คุณภาพภายนอก
นคุณภาพภายนอก
ช่วงที่ ๒ ระหว่างรับการประเมินคุณภาพภายนอก
P a g e | 12

• อํา•นวยความสะดวกแก่
อํานวยความสะดวกแก่
• อํานวยความสะดวกแก่ คณะกรรมการประเมิ
คณะกรรมการประเมิ
คณะกรรมการประเมิ
นตามความเหมาะสม
นตามความเหมาะสม
นตามความเหมาะสม
เช่น เช่น เช่น
เตรียมแหล่
เตรียมแหล่
งเตรี
ข้อยมูงมแหล่
ลข้อหลัมูลกงฐานเชิ
ข้หลัอมูกลฐานเชิ
งหลั
ประจั
กงฐานเชิ
ประจั
กษ์ ผูงก้ปประจั
ษ์ระสานงานกั
ผู้ปกระสานงานกั
ษ์ ผู้ประสานงานกั
บผู้ประเมิ
บผู้ปนระเมิ
ห้บอผูงสํ
้ปนระเมิ
ห้าอหรังสํบนาห้หรัองสํ
บ าหรับ
าหรับประชุประชุ
มย่อยของผู
มเตรี
ประชุ
ย่อยยของผู
้ปมระเมิ
มห้ ย่อองส�
ยของผู
้ปนำระเมิ
หรับ้ปนประชุ
ระเมิมนย่อยของผู้ประเมิน

รบรรยาย
• นํา• เสนอข้
นําเสนอข้
ม่ควรใช้เวลา • อมูนํลาตามมาตรฐานและประเด็
เสนอข้
อมูลตามมาตรฐานและประเด็
อมูลตามมาตรฐานและประเด็
นการพิ นการพิ
จารณานจการพิ
ารณา
อาจนํ
จารณา
อาจนํ
าเสนอโดยการบรรยาย
าอาจนํ
เสนอโดยการบรรยาย
าเสนอโดยการบรรยาย
ประกอบ ประกอบPower
ประกอบPower
Point
Power
Point
หรือPoint
VTR
หรื อ VTR
โดยผู ้บVTR
หรือโดยผู
ริหารสถานศึ
้บโดยผู
ริหารสถานศึ
้บริกหษา
ารสถานศึ
กควรกระชั
ษา ควรกระชั
กษาบไม่
ควรกระชั
คบวรใช้
ไม่คเวรใช้
วลา
บไม่เควลา
วรใช้เวลา
ยาวนานมาก
กครอง ยาวนานมาก
ยาวนานมาก

ร่วมรับฟัง
านศึกษา • ประสานงานขอความร่
• ประสานงานขอความร่
• ประสานงานขอความร่ วมมือวจากผูมมือจากผู ้เวกีมมื
่ยวข้อ้เกีจากผู
อ่ยงวข้เช่อ้เนกีง่ยกรรมการสถานศึ
เช่วข้นองกรรมการสถานศึ
เช่น กรรมการสถานศึ
กษา กผูษา
้ปกครอง
ผูก้ปษา
กครอง
ผู้ปกครอง
ตัวแทนนั
ตัวแทนนั
กเรีตัยวนกแทนนั
เรีตัยวนแทนต้
กตัเรีวยแทนต้
นสัตังวกันแทนต้
ดสัองค์
งกัดนกองค์
สัรภาครั
งกักดรภาครั
องค์ ฐและเอกชน
กรภาครั
ฐและเอกชน
ฐและเอกชน
ปกติ

• ร่ว•มรัร่บวฟัมรั
•งการนํ
บร่ฟัวงมรั
การนํ
าเสนอผลการประเมิ
บฟังาการนํ
เสนอผลการประเมิ
าเสนอผลการประเมิ
นด้วยวาจาและให้
นด้วยวาจาและให้
นด้วยวาจาและให้
ข้อมูลขเพิ้อมู่มลเติเพิขม้อ่มมูผูเติล้เข้มเพิาร่ผู่มว้เเติข้มรัามร่บวผูฟัมรั
้เงข้บาร่ฟัวงมรับฟัง
ประกอบด้
ประกอบด้ วประกอบด้
ย ผู้บวยริหผูารสถานศึ
้บวริยหารสถานศึ
ผู้บริกหษา
ารสถานศึ
กครูษาผู้สครู
อน
กผษาู้สตัอน
วครู
แทนนั
ผตัู้สวอน
แทนนั
กเรีตัยวนกแทนนั
เรีกรรมการสถานศึ
ยนกกรรมการสถานศึ
เรียน กรรมการสถานศึ กษา กษา กษา
ผู้ปกครองนั
ผู้ปกครองนั กผูเรี
้ปกครองนั
ยนกเรีตัยวนแทนต้
กตัเรีวยแทนต้
นสัตังวกันแทนต้
ดสังกัดนสังกัด

• ในช่
• วในช่
งรับ•วการประเมิ
งรัในช่
บการประเมิ
วงรับนการประเมิ
ภายนอก
นภายนอก
สถานศึ
นภายนอก
สถานศึ
กษามีสถานศึ
กกษามี
ารจักดการจั
การเรี
ษามีดกการเรี
ยารจั
นการสอนตามปกติ
ดยการเรี
นการสอนตามปกติ
ยนการสอนตามปกติ
ตามตารางสอน
ตามตารางสอน และตารางกิ
ตามตารางสอน และตารางกิ
จกรรมที
จกรรมที
่กําหนดไว้
และตารางกิ ่กําหนดไว้
จกรรมที ่กําหนดไว้

นคุณภาพภายนอก

26
การเตรี
การเตรี
การเตรียมความพร้อมของสถานศึ ยมความพร้
กษาเพื ่อการเตรี
รัยบมความพร้
อยมของสถานศึ
มความพร้
การประเมิ นคุอณมของสถานศึ
อมของสถานศึ
กษาเพืกษาเพื
ภาพภายนอก ่อรับการประเมิ
ก่อษาเพื
รับการประเมิ
่อรับนการประเมิ
คุณนภาพภายนอก
คุณภาพภายนอก
นคุณภาพภายนอก
ช่วงที่ ๓ หลังเสร็จสิน้ การประเมินคุณภาพภายนอก
ช่วงที่ ๓ หลังเสร็จสิ้นการประเมินคุณภาพภายนอก

ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องร่วมกันตรวจสอบ


รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกตามที่สํานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) แจ้งผล
การประเมิน

สถานศึกษาสามารถโต้แย้งผลการประเมินคุณภาพภายนอกได้ โดยทํา
เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่ง สมศ.จะส่งผลการพิจารณา (ร่าง) รายงาน
การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ให้สถานศึกษาพิจารณา โดยมีผลการพิจารณา ๓ ประเภท ดังนี้
๑) เห็นชอบและยอมรับผลการประเมิน ตามที่คณะผู้ประเมินเสนอ
๒) เห็นชอบและยอมรับผลการประเมิน ตามที่คณะผู้ประเมินเสนอ
โดยมีข้อแก้ไข ดังนี้ .....(อธิบายข้อที่ต้องการแก้ไข )
๓) ไม่เห็นชอบผลการประเมิน เพราะเหตุใด อธิบายพร้อมแนบเอกสาร/
หลักฐานประกอบ (สมศ.จะนําเรื่องเข้าคณะกรรมการเพื่อพิจารณาต่อไป)
โดย สมศ. มีแบบตรวจสอบคุณภาพรายงานการประเมินคุณภาพ
ภายนอก (สําหรับสถานศึกษา) ให้สถานศึกษากรอกและส่งคืน ผู้ประเมิน
เพื่อจัดส่งให้ สมศ.ต่อไป

วิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการพัฒนา
ปรับปรุง แก้ไข ตามความจําเป็นเร่งด่วน ปกติ หรือกําหนดลงใน
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาระยะยาว

27
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ข้อควรตระหนักในการรับการประเมินคุณภาพภายนอก
สถานศึกษาไม่ควรปฏิบัติ ดังนี้
๑. การเกณฑ์นักเรียน ครู มาตั้งแถว โบกธงรับคณะผู้ประเมินภายนอก
ตั้งแต่หน้าโรงเรียน
๒. การจัดขบวน จัดวงดนตรี การแสดงแห่ต้อนรับผู้ประเมินภายนอก
๓. การจัดดอกไม้ หรือจับผ้าคล้ายกับงานพระราชพิธี (เป็นการลงทุนที่
สูงมาก)
๔. การจัดท�ำป้ายไวนิล ป้ายต้อนรับ เหมือนผู้ประเมินภายนอกเป็น
บุคคลส�ำคัญ
๕. การปูทางเดินด้วยพรมแดง เพื่อให้ผู้ประเมินภายนอกเดิน (ห้าม
ออกนอกเส้นทาง)
๖. การจัดนักเรียน หรือ นักศึกษาวิชาทหารกางร่ม คอยติดตามหรือถือ
สัมภาระ
๗. การมอบของที่ระลึกให้แก่ผู้ประเมินภายนอก
๘. การจัดเลี้ยงอาหารอย่างฟุ่มเฟือย ใหญ่โต

28
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ตอนที่ ๔
ตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/
ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/
ตอนที่ ๔
ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์

สถานศึกษาทั้งระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับ


การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ควรมีการเตรียมการรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก ซึ่งส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้น�ำเสนอ
เป็นตัวอย่างการเตรียมข้อมูลเอกสารหลักฐานที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามปกติ
ให้สถานศึกษาได้น�ำไปปรับใช้ตามบริบทของตนเอง

31
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
32
ระดับปฐมวัย
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านที่ ๑ คุณภาพของเด็ก - ความเหมาะสม เป็นไปได้ ๑. ศึกษาเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์
หรือด้านอื่นตามชื่อที่สถาน - ความเชื่อถือได้ - ประกาศมาตรฐานและก�ำหนดค่าเป้าหมาย
ศึกษาก�ำหนด - ประสิทธิผล - แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจ�ำปี
- รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม
- สารสนเทศของสถานศึกษาด้านผู้เรียน
- สถิติ/ผลการช่างน�้ำหนักวัดส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
- แบบประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย และผลการประเมิน
พัฒนาการ ๔ ด้าน (อบ.)

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
- แบบบันทึกการท�ำกิจกรรมของเด็กปฐมวัย เช่น การล้างมือ
กิจกรรมการจัดประสบการณ์ประจ�ำวัน (๖ กิจกรรมหลัก)
ฯลฯ
- รายงานผลพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของเด็กปฐมวัย
- การคัดกรองเด็กเป็นรายบุคคลครอบคลุมทั้ง ๔ ด้าน
- โครงการ/กิจกรรมที่รองรับผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
เช่น โครงการส่งเสริมพัฒนาสุขภาวะ พัฒนาการของเด็กที่มี
พัฒนาการล่าช้า หรือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ฯลฯ
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
- แฟ้มสะสมผลงานเด็กรายบุคคล
- ผลงาน/นวัตกรรม/แบบอย่างทีด่ ใี นแต่ละด้าน เช่น สิง่ ประดิษฐ์
ภาพวาด ภาพปะติด งานปั้น ฯลฯ
- ภาพถ่าย/วีดีทัศน์
- ค�ำสั่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- หลักฐานร่องรอยที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
หน่วยงาน หรือบุคคลภายนอก เช่น บันทึกการประชุม
ผู้ปกครอง หนังสือเชิญ ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชน องค์กรต่าง ๆ
ฯลฯ
๒. การสังเกต
- พฤติกรรมเด็กในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน เช่น การรับประทาน
อาหารกลางวัน การเล่นมุมประสบการณ์ การนอน การใช้สื่อ
เทคโนโลยีของ ทักษะทางสังคม ฯลฯ
- สังเกตพฤติกรรมเด็กขณะร่วมกิจกรรมการจัดประสบการณ์
ประจ�ำวัน (๖ กิจกรรมหลัก)
- สังเกตการตอบค�ำถามของเด็ก
๓. การสัมภาษณ์ (แบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ)

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
เด็ก ครู ผู้บริหารผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น คณะกรรมการ
สถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ฯลฯ

33
34
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านที่ ๒ กระบวนการ - ความเป็นระบบ ๑. ศึกษาเอกสาร
บริหารและการจัดการ หรือ - ความเชื่อถือได้ - แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ
ด้านอื่นตามชื่อที่สถาน - ประสิทธิผล ประจ�ำปี
ศึกษาก�ำหนด - หลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
- รายงานโครงการ/กิจกรรม
- คู่มือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา คู่มือนักเรียน
- รายงานการบริหารจัดการของสถานศึกษา
- รายงานการพัฒนา/การใช้/การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
ระดับปฐมวัย
- คู่มือ/แนวทางการนิเทศภายในสถานศึกษาและรายงาน

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
การนิเทศภายในของสถานศึกษา
- สารสนเทศของสถานศึกษา ครู เด็ก สือ่ เทคโนโลยี นวัตกรรม
แหล่งเรียนรูภ้ ายในและภายนอก ฯลฯ
- รายงานการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษา ID Plan
ของครู รายงานผลการพัฒนาตนเอง
- รายงานการใช้งบประมาณประจ�ำปี
- ภาพถ่ายกิจกรรม
- รายงานการด�ำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
- ผลงาน/นวัตกรรมของ/แบบอย่างที่ดีในการบริหารจัดการ
ของผู้บริหาร
- หลักฐานร่องรอยที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
หน่วยงาน หรือบุคคลภายนอก เช่น บันทึกการประชุม
ผู้ปกครอง หนังสือเชิญ ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชน องค์กรต่าง ๆ
๒. สังเกต
- สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์บริบททั่วไปของสถานศึกษา
- ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการต่าง ๆ
- การรับประทานอาหารกลางวัน และการดื่มนม
- ระบบความปลอดภัยในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
- ห้องน�้ำ
- สนามเด็กเล่น
- มุมประสบการณ์ในห้องเรียน (อย่างน้อย ๔ มุม)
๓. สัมภาษณ์
เด็ก ครู ผู้บริหารผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น คณะกรรมการ
สถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ฯลฯ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
35
36
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านที่ ๓ การจัด - ความเป็นระบบ ๑. ศึกษาเอกสาร
ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็น - ความเชื่อถือได้ - ประกาศมาตรฐานและก�ำหนดค่าเป้าหมาย
ส�ำคัญ หรือด้านอื่นตามชื่อที่ - ประสิทธิผล - แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ
สถานศึกษาก�ำหนด ประจ�ำปี
- หลักสูตรสถานศึกษา ระดับปฐมวัย
- วิเคราะห์หลักสูตรปฐมวัย และหน่วยการจัดประสบการณ์
แผนการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
- โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมเด็ก
- การวิเคราะห์เด็กเป็นรายบุคคล
- เครื่องมือการประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านด้วยวิธีการที่

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
หลากหลาย
- สื่อเทคโนโลยี นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก
ฯลฯ
- แบบ อบ. ๑,๒,๓
- แบบรายงานพัฒนาการเด็ก
- แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ผลงาน/นวัตกรรมของ/แบบอย่างที่ดีของครู
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
- แฟ้มสะสมผลงานครู
- ค�ำสั่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโครงการ/
กิจกรรม
- ภาพถ่าย/วีดีทัศน์
- ร่องรอยหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- หลักฐานร่องรอยที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
หน่วยงาน หรือบุคคลภายนอก เช่น บันทึกการประชุม
ผู้ปกครอง หนังสือเชิญ ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชน องค์กรต่าง ๆ
๒. สังเกต
- การจัดประสบการณ์ส�ำคัญ
- ผลงานเด็ก
- พฤติกรรมการจัดประสบการณ์ของครู
- พฤติกรรมเด็ก
๓. สัมภาษณ์
เด็ก ครู ผู้บริหารผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น คณะกรรมการ
สถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ฯลฯ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
37
38
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านที่ ๑ คุณภาพของ - ความเหมาะสม/เป็นไปได้ ๑. ศึกษาเอกสาร/ผลงาน/รางวัล
ผู้เรียน หรือด้านอื่นๆ - ความเชื่อถือได้ - ประกาศมาตรฐานและก�ำหนดค่าเป้าหมาย
ตามที่สถานศึกษาก�ำหนด - ประสิทธิผล - แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจ�ำปี
- หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม
- รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบที่ผ่านมา
- สารสนเทศของสถานศึกษาด้านผู้เรียน เช่น ผลการทดสอบ
ระดับชาติ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การประเมินคุณลักษณะ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
อันพึงประสงค์ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การสอบวัดความสามารถการอ่าน (RT) การประเมินสมรรถนะ
ผู้เรียน
- สถิติ/ผลการชั่งน�้ำหนักวัดส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
- แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนรายบุคคล
- ผลงาน/นวัตกรรม/แบบอย่างทีด่ ใี นแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้
รางวัลต่าง ๆ ของผูเ้ รียน
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
๒. สังเกต
- พฤติกรรมของผู้เรียนในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน เช่น
พฤติกรรมการเรียนรู้ การค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง การมี
คุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก�ำหนด การใช้
สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ทักษะทางสังคม การท�ำงาน
เป็นทีม การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคล ฯลฯ
- สภาพการจัดการชั้นเรียนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
- การตอบค�ำถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้เรียน
๓. สัมภาษณ์ (กระบวนการ/วิธีการ/กิจกรรมต่างๆ)
นักเรียน ครู ผู้บริหารผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น
คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ฯลฯ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
39
40
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านที่ ๒ กระบวนการ - ความเป็นระบบ ๑. สังเกต
บริหารและการจัดการ - ความเชื่อถือได้ - สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์บริบททั่วไปของสถานศึกษา
- ประสิทธิผล - อาคารสถานที่ ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการต่าง ๆ
- ระบบความปลอดภัยในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
๒. สัมภาษณ์
นักเรียน ครู ผู้บริหารผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น คณะ
กรรมการสถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ฯลฯ
๓. ศึกษาเอกสาร
- ประกาศมาตรฐานและก�ำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
- แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ประจ�ำปี
- หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม
- รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกในรอบที่ผ่านมา
- รายงานการบริหารจัดการของสถานศึกษา
- คู่มือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา คู่มือนักเรียน
- รายงานการพัฒนา/ใช้/ประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
- คู่มือ/แนวทางการนิเทศภายในสถานศึกษาและรายงาน
การนิเทศภายในของสถานศึกษา
- สารสนเทศของสถานศึกษา ครู นักเรียน สื่อเทคโนโลยี
นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก ฯลฯ
- รายงานการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษา ID Plan
ของครู รายงานผลการพัฒนาตนเอง
- รายงานการใช้งบประมาณประจ�ำปี
- ภาพถ่ายกิจกรรม
- รายงานการด�ำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
- ผลงาน/นวัตกรรมของ/แบบอย่างที่ดีในการบริหารจัดการ
ของผู้บริหาร
- หลักฐานร่องรอยที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
หน่วยงาน หรือบุคคลภายนอก เช่น บันทึกการประชุม
ผู้ปกครอง หนังสือเชิญ ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชน องค์กรต่าง ๆ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
41
42
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านที่ ๓ กระบวนการจัด - ความเป็นระบบ ๑. สังเกต
การเรียนการสอนที่เน้น - ความเชื่อถือได้ - วิธีการ/กระบวนการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนที่สอดคล้องกับ
ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ - ประสิทธิผล แผนการจัดการเรียนรู้
- การใช้สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- การจัดชั้นเรียนและการบริหารจัดการชั้นเรียน และสภาพแวดล้อม
ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
- เทคนิคการสอน และ ฯลฯ
๒. สัมภาษณ์
นักเรียน ครู ผู้บริหารผู้ปกครอง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น
คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรต่าง ๆ ฯลฯ

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๓. ศึกษาเอกสาร
- ประกาศมาตรฐานและก�ำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
- แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจ�ำปี
- หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
- รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม
- รายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกต่อส�ำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
- รายงานการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษา ID Plan
ของครู รายงานผลการพัฒนาตนเอง
- หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัด
การเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงให้เป็นปัจจุบัน
- เอกสารหลักฐานร่องรอยที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
ในชั้นเรียนตามที่สถานศึกษาก�ำหนด เช่น แบบบันทึก
ผลการเรียน แบบประเมินการอ่าน ตารางการจัดการเรียนรู้
ฯลฯ
- ค�ำสั่ง ระเบียบ หรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
- ผลงาน/นวัตกรรม/การปฏิบัติที่เป็นเลิศของ ครู และนักเรียน
- สารสนเทศชั้นเรียน
- เครื่องมือการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับมาตรฐานและ
ตัวชี้วัด
- สื่อ เทคโนโลยี และการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก
ประกอบการจัดการเรียนรู้
- ทะเบียนการใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ - ภูมิปัญญาท้องถิ่น

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
43
44
ด้าน แนวทางพิจารณา ข้อมูล/ร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์
- รายงานวิธีการ/การวิจัยในการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน
- ข้อมูลผลการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล
- เอกสารหลักฐานการศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนด
(ปพ.๑– ๓) และเอกสารการศึกษาตามที่สถานศึกษาก�ำหนด
- ทะเบียนคุมสื่อการสอน
- บันทึกการพัฒนาผู้เรียน
- ค�ำสั่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น แต่งตั้งผู้รับผิดชอบโครงการ/
กิจกรรม
- ภาพถ่าย/วีดีทัศน์

การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
- ร่องรอยหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่ามีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
โดยใช้กระบวนการชุมชนแห่ง การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
- หลักฐานร่องรอยที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง
หน่วยงาน หรือบุคคลภายนอก เช่น บันทึกการประชุม
ผู้ปกครอง หนังสือเชิญ ผู้ปกครอง ผู้น�ำชุมชน องค์กรต่าง ๆ
บรรณานุกรม

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๒). ราชกิจจานุเบกษา.


เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๗๔ ก (๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒).
_______. (๒๕๔๕). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๑๒๓ ก (๑๙ ธันวาคม
๒๕๔๕).
ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
(๒๕๕๔). คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔-
๒๕๕๘) ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ปี) ฉบับสถานศึกษา (แก้ไข
เพิ่มเติม พฤศจิกายน ๒๕๕๔). ค้นเมื่อ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒, จาก
http://www.onesqa.or.th/th/content-view/๙๒๑/๑๒๐๔/
_______. (๒๕๖๐). กรอบแนวทางการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกรอบสี่
(พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๓). การประชุมคณะกรรมการบริหาร สมศ. ครัง้ ที่
๑๐/๒๕๖๐. ค้นเมือ่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒, จาก https://webs.rmutl.
ac.th/assets/upload/files/๒๐๑๗/๑๑/๒๐๑๗๑๑๐๑๑๔๑
๘๒๗_๗๐๙๔๒.pdf
_______. (๒๕๖๒). กรอบแนวทางการประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกรอบสี่
(พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา. (๒๕๕๔). การติดตามตรวจสอบคุณภาพการ
ศึกษาของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.

45
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
_______. (๒๕๖๑). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ระดั บ ปฐมวั ย ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และระดั บ การศึ ก ษา
ขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด.

46
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ภาคผนวก
กฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

อาศั ย อ� ำ นาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ ง แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ


การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออก
กฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษาพ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหาร
คุ ณ ภาพการศึ ก ษาที่ ส ถานศึ ก ษาจั ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาและสร้ า ง
ความเชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษานั้นสามารถ
จัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์
ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล

49
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
“ส�ำนักงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
ข้ อ ๓ ให้ ส ถานศึ ก ษาแต่ ล ะแห่ ง จั ด ให้ มี ร ะบบการประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรี
ว่ า การกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารประกาศก� ำ หนด พร้ อ มทั้ ง จั ด ท� ำ แผนพั ฒ นา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและด�ำเนินการ
ตามแผนที่ก�ำหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา ติดตามผลการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจ�ำทุกปี
เพื่อให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหนึ่งเป็นไป
อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพให้ ห น่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด หรื อ หน่ ว ยงานที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล
สถานศึกษามีหน้าที่ในการให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะน�ำสถานศึกษา
เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ข้อ ๔ เมื่อได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓
แล้วให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
สถานศึกษาแห่งนั้นให้แก่ส�ำนักงานเพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คุณภาพภายนอก
ให้ส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและ
การติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษานั้นๆ เพื่อให้สถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

50
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ในการด�ำเนินการตามวรรคสอง ส�ำนักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงาน
ที่ได้รับรองจากส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษานั้นติดตาม
ผลการด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม
วรรคสอง เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ข้อ ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีอ�ำนาจตีความและวินิจฉัย
ปัญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้

ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑



ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

51
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่แนวทาง
ในการด�ำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุ ณ ภาพการศึ ก ษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก การประกั น คุ ณ ภาพ
การศึกษาที่แท้จริง จึงส่งผลให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายใน
และภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซ�้ำซ้อนและคลาดเคลื่อนจากการปฏิบัติ
ท� ำ ให้ ไ ม่ ส ะท้ อ นความเป็ น จริ ง และเป็ น การสร้ า งภาระแก้ ส ถานศึ ก ษาและ
บุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่ก�ำกับดูแล
และหน่วยงานภายนอกเกินความจ�ำเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์
และวิ ธี ก ารประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาเพื่ อ ให้ มี ก ลไกการปฏิ บั ติ ที่ เ อื้ อ ต่ อ การ
ด�ำเนินการตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดับ และเกิดประสิทธิภาพในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงจ�ำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้

52
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ

โดยที่ มี ป ระกาศใช้ ก ฎกระทรวงการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา


พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่ก�ำหนดเป้าหมาย
และยุ ท ธศาสตร์ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพคนไทยและการศึ ก ษาไทยในอนาคต
ประกอบกั บ มี น โยบายให้ ป ฏิ รู ป ระบบการประเมิ น และการประกั น คุ ณ ภาพ
ทั้งภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป
จ�ำเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพื่ อ การประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษา ลงวั น ที่ ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เพื่อประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่ ๑๑ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันที่
๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้ก�ำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง

53
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่ส�ำคัญข้อหนึ่ง คือ มีการก�ำหนด
มาตรฐานการศึ ก ษา และจั ด ระบบประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ และ
ประเภทการศึ ก ษาโดยมาตรา ๓๑ ให้ ก ระทรวงมี อ� ำ นาจหน้ า ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล
การศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ก�ำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศึกษา
และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง
ของการบริหารการศึกษาที่ต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดท�ำรายงาน
ประจ� ำ ปี เ สนอต่ อ หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และเปิ ด เผย
ต่อสาธารณชน เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรับรอง
การประกันคุณภาพภายนอก
ฉะนั้ น อาศั ย อ� ำ นาจตามความในมาตรา ๙ (๓) มาตรา ๔๘
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ มาตรา ๓๑
แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ ง แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม โดย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการประชุม ครั้งที่ ๕/๒๕๖๑ เมื่อวันศุกร์ที่
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศให้
ใช้ ม าตรฐานการศึ ก ษาระดั บ ปฐมวั ย ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานและระดั บ
การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับ
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถม
ศึกษา และมัธยมศึกษา ในการพัฒนาส่งเสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบับนี้

54
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ทั้ ง นี้ ใ ห้ ใช้ กั บ สถานศึ ก ษาที่ เ ปิ ด สอนระดั บ ปฐมวั ย ระดั บ การศึ ก ษา
ขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ

ประกาศ ณ วันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

55
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน


๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการ
คิดค�ำนวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๕) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

56
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษาก�ำหนด
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษาก�ำหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้
อย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ
น�ำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมิ น ผู ้ เรี ย นอย่ า งเป็ น ระบบ และน� ำ ผล
มาพัฒนาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

57
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน ๓ มาตรฐาน


ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ การจัดการประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส�ำคัญแต่ละมาตรฐาน
มีรายละเอียดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก
๑.๑ มี พั ฒ นาการด้ า นร่ า งกาย แข็ ง แรง มี สุ ข นิ สั ย ที่ ดี และดู แ ล
ความปลอดภัยของตนเองได้
๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง
อารมณ์ได้
๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดี
ของสังคม
๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน
และแสวงหาความรู้ได้
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบท
ของท้องถิ่น
๒.๒ จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
๒.๓ ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

58
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ
เพียงพอ
๒.๕ ให้ บ ริ ก ารสื่ อ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและสื่ อ การเรี ย นรู ้ เ พื่ อ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์
๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส�ำคัญ
๓.๑ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล
เต็มศักยภาพ
๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมี
ความสุข
๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะ
สมกับวัย
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน�ำผลการประเมิน
พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาการเด็ก

59
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ
แนบท้ายประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน ๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลการพัฒนาผู้เรียน
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน
๑.๑ ผลการพัฒนาผู้เรียน
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถึง
ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือ
เฉพาะครอบครัว
๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อ
เข้ า สู ่ ก ารศึ ก ษาในระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น หรื อ การอาชี พ หรื อ
การด�ำเนินชีวิตในสังคมได้ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษาก�ำหนด
๒) มีความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทย ตามศักยภาพของ
ผู้เรียนแต่ละบุคคล

60
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษาก�ำหนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ
เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
๓.๑ การจัดเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ
น�ำไปประยุกต์ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
๓.๓ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา
พัฒนาผู้เรียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

61
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ประกาศส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เรื่อง แนวปฏิบัติการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๖๑

โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑


ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ได้ก�ำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึ กษาอันส่งผลให้การด�ำเนินงานการประกันคุ ณภาพการศึก ษา
ทั้งหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานก�ำกับดูแล และหน่วยงานภายนอกที่สะท้อน
สภาพการด�ำเนินงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และก�ำหนดแนวทางในการ
ขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับหลักการประคุณภาพ
การศึกษา และมีกลไกปฏิบัติที่เอื้อต่อการด�ำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดับให้เกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดท�ำแนวปฏิบัติการ
ด�ำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้นเพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัด ส�ำนักงาน
บริ ห ารการศึ ก ษาพิ เ ศษ ส� ำ นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาทั้ ง ประถมศึ ก ษาและ
มัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาส่งเสริม ก�ำกับ
ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา โดยมีรายละเอียด ดังนี้

62
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับสถานศึกษา
ให้สถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด�ำเนินการดังต่อไปนี้
๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่น
ให้กับสังคม ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
๒. จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ดังนี้
๒.๑ ก� ำ หนดมาตรฐานการศึ ก ษาของสถานศึ ก ษาให้ เ ป็ น ไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ ก ระทรวงประกาศใช้ และให้ ส ถานศึ ก ษาก� ำ หนดเป้ า หมายความส� ำ เร็ จ
ตามมาตรฐานของสถานศึ ก ษาตามบริ บ ท ทั้ ง นี้ สามารถเพิ่ ม เติ ม มาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้
โดยให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง ด�ำเนินการและรับผิดชอบร่วมกัน
๒.๒ จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่สอดคล้อง
กั บ สภาพปั ญ หาและความต้ อ งการจ� ำ เป็ น ของสถานศึ ก ษาอย่ า งเป็ น ระบบ
โดยสะท้อนคุณภาพความส�ำเร็จอย่างชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยก�ำหนดผู้รับผิดชอบ และวิธีการที่เหมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา และน�ำผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการ
ปรับปรุงพัฒนา
๒.๖ จัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report
: SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา น�ำเสนอรายงานผลการประเมิน
ตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวต่อส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นประจ�ำทุกปี

63
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผล
การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามค�ำแนะน�ำของ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง
๓. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของ
สถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะของ
ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
ของสถานศึกษา
ระดับส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในฐานะ
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล ด�ำเนินการดังต่อไปนี้
๑. ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ รายงานผลการประเมิ น ตนเองของสถานศึ ก ษา
ตลอดจนให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน�ำสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่งอย่างต่อเนื่อง
๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่างๆ ที่ต้องการให้มี
การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น และจัดส่งไปยังส�ำนักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช้เป็นข้อมูลและ
แนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก

64
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึ ก ษาตามข้ อ เสนอแนะของส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อการน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
๔. ให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และ
ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก
ระดับส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อส�ำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
๒. ศึกษา วิเคราะห์ สรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) และรวบรวมประเด็ น ที่ ต ้ อ งการให้ มี
การประเมินผลและติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องหรือ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา ไปยังส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุ ณ ภาพการศึ ก ษา (สมศ.) เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา
๔. ประสานความร่ ว มมื อ กั บ ส� ำ นั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดบุคคลร่วมเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
กับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.)

65
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และให้
ข้อมูลเพิ่มเติมในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอก

ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

นายบุญรักษ์ ยอดเพชร
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

66
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
คณะทำ�งาน

ที่ปรึกษา
ดร.อ�ำนาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดร.วัฒนาพร ระงับทุกข์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ดร.วิษณุ ทรัพย์สมบัติ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักทดสอบทางการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้รับผิดชอบโครงการ
ดร.มธุรส ประภาจันทร์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสุอารีย์ ชื่นเจริญ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ดร.ฉัตรชัย หวังมีจงมี นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นายประสิทธิ์ ท�ำกันหา นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

67
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
นางสาวยลดา โพธิสิงห์ พนักงานจ้างเหมาบริการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นายสท้าน พวกดอนเค็ง พนักงานจ้างเหมาบริการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสาวปทิตตา ฉายแสง พนักงานจ้างเหมาบริการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาเนื้อหา
ดร.ไพรวัลย์ พิทักษ์สาลี ข้าราชการบ�ำนาญ
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คณะยกร่างและเขียนเอกสาร
ดร.มธุรส ประภาจันทร์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสุอารีย์ ชื่นเจริญ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ดร.ฉัตรชัย หวังมีจงมี นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.

68
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
นางอรอุมา หวังมีจงมี นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
ส�ำนักติดตามและประเมินผล
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
ดร.บุญสุ่ม อินกองงาม ข้าราชการบ�ำนาญ
นางจินตนา เหนือเกาะหวาย ข้าราชการบ�ำนาญ
นางปัทมพร สุรกิจบวร ข้าราชการบ�ำนาญ
นางบัวบาง บุญอยู่ ข้าราชการบ�ำนาญ
รศ.ดร.สมบัติ ท้ายเรือค�ำ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาหลักสูตรการสอน
และการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นางสาวสมลักษณ์ พิมสกุล ผู้อ�ำนวยการกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ชลบุรี เขต ๒
ดร.สุทธิลักษณ์ ภูริชัยพัฒน์ ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต ๓๙ (พิษณุโลก)
ดร.ชนกนาถ วงษ์ค�ำจันทร์ ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดขอนแก่น
นางสาววิชุดา แดนเมือง ศึกษานิเทศก์ช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุตรดิตถ์

69
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
คณะบรรณาธิการกิจ
ดร.มธุรส ประภาจันทร์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสุอารีย์ ชื่นเจริญ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ดร.ฉัตรชัย หวังมีจงมี นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นายประสิทธิ์ ท�ำกันหา นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ดร.บุญสุ่ม อินกองงาม ข้าราชการบ�ำนาญ
นางปัทมพร สุรกิจบวร ข้าราชการบ�ำนาญ
นางบัวบาง บุญอยู่ ข้าราชการบ�ำนาญ
นางสาวสมลักษณ์ พิมสกุล ผู้อ�ำนวยการกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี
เขต ๒

70
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ออกแบบปก
นางสาวศิรินทิพย์ ล�้ำเลิศ นักประชาสัมพันธ์ช�ำนาญการ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
อุบลราชธานี เขต ๔

71
การเตรียมความพร้อมของสถานศึกษาเพื่อรับการประเมินคุณภาพภายนอก
สำานักทดสอบทางการศึกษา
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

http://bet.obec.go.th ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๗ - ๘ ๐ ๒๖๒๘ ๕๘๖๒

You might also like