Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 57

■■■■■■■■ ■■ ■■■■■ ■■ ■■■■■■

2nd Edition ■■■■ ■■ ■■■■■■


Visit to download the full and correct content document:
https://ebookstep.com/download/ebook-55896700/
More products digital (pdf, epub, mobi) instant
download maybe you interests ...

99 nombres de Dios David Steindl Rast

https://ebookstep.com/product/99-nombres-de-dios-david-steindl-
rast/

99 Tanya Jawab Masalah Hisab Rukyat Muhyiddin Khazin

https://ebookstep.com/product/99-tanya-jawab-masalah-hisab-
rukyat-muhyiddin-khazin/

99 Perbedaan Pola Pikir Pengusaha VS Karyawan Iin


Susanto

https://ebookstep.com/product/99-perbedaan-pola-pikir-pengusaha-
vs-karyawan-iin-susanto/

Os 99 namorados de Micah Summers 1st Edition Adam Sass

https://ebookstep.com/product/os-99-namorados-de-micah-
summers-1st-edition-adam-sass/
Los 99 novios de Micah Summers 1st Edition Adam Sass

https://ebookstep.com/product/los-99-novios-de-micah-summers-1st-
edition-adam-sass/

Una grammatica italiana per tutti 2 edizione aggiornata


2020 B2 B2 1st Edition Alessandra Latino Marida
Muscolino

https://ebookstep.com/product/una-grammatica-italiana-per-
tutti-2-edizione-aggiornata-2020-b2-b2-1st-edition-alessandra-
latino-marida-muscolino/

Los 99 novios de Micah Summers Edición española 1st


Edition Adam Sass

https://ebookstep.com/product/los-99-novios-de-micah-summers-
edicion-espanola-1st-edition-adam-sass/

Dog u Bat■ Say■ 99 Geleceg i Du s u nmek Kolektif

https://ebookstep.com/product/dog-u-bati-sayi-99-geleceg-i-du-s-
u-nmek-kolektif/

Aula Internacional Plus 4 B2 1 1st Edition Difusión

https://ebookstep.com/product/aula-internacional-plus-4-b2-1-1st-
edition-difusion/
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
สำนวนไทย

พิมพครั้งที่ ๒
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พิมพครั้งที่ ๒
_12-0279(000).indd 1 3/12/12 2:31:54 PM
สำนวนไทย
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน

พิมพ์ครั้งที่ ๒

_12-0279(000).indd 1 3/12/12 2:31:54 PM


b

ราชบัณฑิตยสถานจัดพิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๔ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม
พิมพ์ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๕ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม

ราชบัณฑิตยสถาน
สนามเสือป่า เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๓๕๖ ๐๔๖๖-๗๐ โทรสาร ๐ ๒๓๕๖ ๐๔๘๕
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ripub@royin.go.th เว็บไซต์ www.royin.go.th

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ
ราชบัณฑิตยสถาน.
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.-- พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน,
๒๕๕๕.
๑๐๐ หน้า

๑. ภาษาไทย--สำนวนโวหาร. ๒. สุภาษิตและคำพังเพยไทย. I. ชื่อเรื่อง.

๔๙๕.๙๑๘
ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๗๐๗๓-๔๖-๐

พิมพ์ที่ บริษัทธนาเพรส จำกัด


๔๘/๒๖-๓๑ ซ. จุฬา ๒ ถ. บรรทัดทอง แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน
กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐
โทรศัพท์ ๐ ๒๒๑๕ ๗๒๒๐ โทรสาร ๐ ๒๒๑๔ ๐๐๓๘

_12-0279(000).indd 2 3/12/12 2:31:54 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานกระแสพระราชดำริ เรื่อง ปัญหาการใช้คำไทย
ในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ณ ห้องประชุมคณะอักษรศาสตร์ เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕

_12-0279(000).indd 3 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นประธานในการประชุม

_12-0279(000).indd 4 3/12/12 2:31:55 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน
กระแสพระราชดำริ เรื่อง ปัญหาการใช้คำไทย

_12-0279(000).indd 5 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินกลับ

_12-0279(000).indd 6 3/12/12 2:31:55 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca

คำนำ
พิมพ์ครั้งที่ ๒
ราชบั ณ ฑิ ต ยสถานได้ จั ด พิ ม พ์ ห นั ง สื อ “สำนวนไทย ฉบั บ
ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน” มาแล้ ว ครั้ ง หนึ่ ง เนื่ อ งในโอกาสการจั ด กิ จ กรรม
“วันภาษาไทยแห่งชาติ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ราชบัณฑิตยสถาน” และ
ได้มอบเป็นอภินันทนาการให้แก่ส่วนราชการ สถานศึกษา เยาวชน และ
ประชาชนผู้ ส นใจ จนกระทั่ ง หนั ง สื อ ใกล้ ห มดแล้ ว ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน
จึงเห็นว่าควรพิมพ์ซ้ำเป็นครั้งที่ ๒ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการเผยแพร่ความรู้
เกี่ยวกับสำนวนไทยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
หนังสือ “สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน” เป็นหนังสือที่
รวบรวมคำอธิบายสำนวนไทยซึ่งคณะกรรมการจัดทำคำอธิบายถ้อยคำ
ภาษาไทยจัดทำขึ้นเพื่อออกอากาศในรายการวิทยุ “รู้ รัก ภาษาไทย”
และนักวรรณศิลป์กองศิลปกรรมได้คัดเลือกบทวิทยุที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับ
สำนวนไทย จำนวน ๑๒๘ เรื่อง มาปรับรูปแบบให้เหมาะสมกับการ
จัดพิมพ์เป็นหนังสือ
ราชบัณฑิตยสถานขอขอบคุณคณะกรรมการจัดทำคำอธิบายถ้อยคำ
ภาษาไทยและคณะผู้จัดทำหนังสือ “สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน”
พิมพ์ครั้งที่ ๒ ที่ได้ร่วมดำเนินการจนสามารถพิมพ์หนังสือเล่มนี้สำเร็จ
เรียบร้อยด้วยดี
ราชบัณฑิตยสถานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ “สำนวนไทย ฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน” จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ภาษาไทย และเป็นแหล่ง
อ้างอิงเรียนรู้สำหรับนักเรียนและผู้สนใจทั่วไป

ราชบัณฑิตยสถาน
๒๓ มีนาคม ๒๕๕๕

_12-0279(000).indd 7 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b

คณะกรรมการจัดทำคำอธิบายถ้อยคำภาษาไทย
๑. ศ. ดร.กาญจนา นาคสกุล ประธานกรรมการ
๒. ศ. ดร.กุสุมา รักษมณี กรรมการ
๓. นางทรงพรรณ มณีวรรณ กรรมการ
๔. รศ. ดร.นววรรณ พันธุเมธา กรรมการ
๕. ดร.นิตยา กาญจนะวรรณ กรรมการ
๖. ศ.ปรีชา ช้างขวัญยืน กรรมการ
๗. รศ. ดร.ราตรี ธันวารชร กรรมการ
๘. ศ. ดร. นพ.เรือน สมณะ กรรมการ
๙. นางสุจิตรา กลิ่นเกษร กรรมการ
๑๐. ศ. ดร.อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธ์ุ กรรมการ
๑๑. ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา กรรมการ
( ๑. นางสาวนิภาพรรณ ธาราสันติสุข
๒. นางสาวพัชรี ลินิฐฎา
๓. ดร.อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
๔. นางอัญชลี โพธิ์กิ่ง)
๑๒. ผู้อำนวยการกองศิลปกรรม กรรมการ
(นางสาวศิริพร อินทรเชียรศิริ)
๑๓. ดร.ชลธิชา สุดมุข กรรมการ
๑๔. นายปิยะพงษ์ โพธิ์เย็น กรรมการและเลขานุการ
๑๕. นางสาวศยามล แสงมณี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๑๖. นางสาววรรณทนา ปิติเขตร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

คณะผู้จัดทำหนังสือ (พิมพ์ครั้งที่ ๒)
๑. นางสาวกนกวลี ชูชัยยะ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน ที่ปรึกษา
๒. นางสาวศิริพร อินทรเชียรศิริ ผู้อำนวยการกองศิลปกรรม
๓. นางชวนพิศ เชาวน์สกุล นักวรรณศิลป์ชำนาญการ
๔. นายปิยะพงษ์ โพธิ์เย็น นักวรรณศิลป์ปฏิบัติการ

_12-0279(000).indd 8 3/12/12 2:31:55 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca

คำนำ
พิมพ์ครั้งที่ ๑
คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
กำหนดให้วันที่ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกปีเป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ และได้
มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง วันภาษาไทยแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๒๐
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง
พระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานกระแสพระราชดำริ เรื่อง
ปัญหาการใช้คำไทย ในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย คณะ
อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ห้องประชุมคณะอักษรศาสตร์
เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕
ราชบัณฑิตยสถานในฐานะหน่วยงานที่มีหน้าที่ประการหนึ่ง คือ
กำหนดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย การอนุรักษ์ภาษาไทย
มิให้แปรเปลี่ยนในทางที่เสื่อม และการส่งเสริมภาษาไทยซึ่งเป็นเอกลักษณ์
ของชาติให้ปรากฏเด่นชัดยิ่งขึ้น จึงได้จัดกิจกรรม “วันภาษาไทยแห่งชาติ
๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ราชบัณฑิตยสถาน” และในโอกาสนี้ได้พิมพ์หนังสือ
“สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน” เป็นหนังสือที่รวบรวมคำอธิบาย
สำนวนไทยซึ่งคณะกรรมการจัดทำคำอธิบายถ้อยคำภาษาไทยจัดทำขึ้น
เพื่อออกอากาศในรายการวิทยุ “รู้ รัก ภาษาไทย” ทางสถานีวิทยุกระจาย
เสียงแห่งประเทศไทย
สำนวน มีความหมายหนึ่งคือ ถ้อยคําหรือข้อความที่มีความหมาย
ไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เป็นถ้อยคำที่กะทัดรัด ให้แง่คิด
มี ค วามหมายลึ ก ซึ้ ง หากใช้ ไ ด้ ถู ก ต้ อ งตรงความหมายนอกจากจะช่ ว ย
ประหยัดถ้อยคำแล้ว ยังจะได้ชื่อว่าเป็นผู้มีวาทศิลป์ ใช้ภาษาได้สละสลวย
และคมคาย

_12-0279(000).indd 9 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b

ราชบัณฑิตยสถานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือ “สำนวนไทย ฉบับ


ราชบัณฑิตยสถาน” จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ภาษาไทย และเป็นแหล่ง
อ้างอิงเรียนรู้สำหรับนักเรียนและผู้สนใจทั่วไป

ราชบัณฑิตยสถาน
๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔

_12-0279(000).indd 10 3/12/12 2:31:55 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca

สารบัญ
เรื่อง หน้า
กงเกวียนกำเกวียน...............................................................................๑
กรวดน้ำคว่ำขัน-กรวดน้ำคว่ำกะลา......................................................๑
กระเชอก้นรั่ว. .....................................................................................๒
กระดี่ได้น้ำ. .........................................................................................๒
กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอย น้ำเต้าน้อยจะถอยจม....................................๓
กระสาย-ยักกระสาย............................................................................๔
กรุ-เข้ากรุ. ...........................................................................................๕
กลับหน้ามือเป็นหลังมือ......................................................................๖
กลิ้งทูต................................................................................................๖
ก่อหวอด..............................................................................................๗
กำแพงมีหู ประตูมีช่อง.........................................................................๘
กินข้าวต้มกระโจมกลาง.......................................................................๘
กินข้าวหม้อเดียวกัน............................................................................๙
กุมภกรรณทดน้ำ.................................................................................๙
ขนทรายเข้าวัด.................................................................................๑๐
ขมิ้นกับปูน.......................................................................................๑๑
ขึ้นคาน..............................................................................................๑๑
คนชายขอบ.......................................................................................๑๒
คนหลังเขา........................................................................................๑๒

_12-0279(000).indd 11 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b

คบสองหนองแหลก...........................................................................๑๓
คลื่นใต้น้ำ.........................................................................................๑๔
คว่ำบาตร..........................................................................................๑๔
คอหอยกับลูกกระเดือก.....................................................................๑๕
คาหนังคาเขา-คาหลังคาเขา..............................................................๑๖
โคมลอย............................................................................................๑๖
เงยหน้าอ้าปาก-ลืมตาอ้าปาก............................................................๑๗
จมปลัก.............................................................................................๑๘
โจรห้าร้อย.........................................................................................๑๘
ใจปลาซิว..........................................................................................๑๙
ชักน้ำเข้าลึก ชักศึกเข้าบ้าน...............................................................๒๐
ชักแม่น้ำทั้งห้า..................................................................................๒๐
ชักหน้าไม่ถึงหลัง..............................................................................๒๑
ชั่วกัปชั่วกัลป์....................................................................................๒๒
ชั่วเคี้ยวหมากจืด..............................................................................๒๒
ชั่วลัดนิ้วมือ......................................................................................๒๓
ชีพจรลงเท้า. ....................................................................................๒๔
ชุบมือเปิบ.........................................................................................๒๔
ซื่อเหมือนแมวนอนหวด-ซื่อเป็นแมวนอนหวด..................................๒๕
ดาวรุ่ง...............................................................................................๒๖
ดีแต่เปลือก.......................................................................................๒๖
ได้คืบจะเอาศอก...............................................................................๒๗

_12-0279(000).indd 12 3/12/12 2:31:55 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca

ต่อยหอย...........................................................................................๒๗
ตะเภา-ตะเภาเดียวกัน......................................................................๒๘
ตั้งไข่.................................................................................................๒๙
ตั้งรกราก...........................................................................................๒๙
ตัดหางปล่อยวัด. ..............................................................................๓๐
ติเรือทั้งโกลน....................................................................................๓๐
เติ่ง-ค้างเติ่ง......................................................................................๓๑
ถอดเขี้ยวถอดเล็บ.............................................................................๓๑
ถอยหลังเข้าคลอง.............................................................................๓๒
ถังแตก..............................................................................................๓๓
ถี่ลอดตาช้าง ห่างลอดตาเล็น-ถี่ลอดตัวช้าง ห่างลอดตัวเล็น. ...........๓๓
ถึงพริกถึงขิง.....................................................................................๓๔
ทูษณ์ขรตรีเศียร................................................................................๓๕
นกไร้ไม้โหด.......................................................................................๓๕
น้ำขึ้นให้รีบตัก..................................................................................๓๖
น้ำท่วมหลังเป็ด................................................................................๓๖
น้ำบ่อน้อย.........................................................................................๓๗
น้ำลดตอผุด......................................................................................๓๘
บอกศาลา.........................................................................................๓๘
เบื่อเป็นยารุ......................................................................................๓๙
โบแดง...............................................................................................๔๐
ประสานงา........................................................................................๔๐

_12-0279(000).indd 13 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b

ปลูกเรือนแต่พอตัว...........................................................................๔๑
ปอด..................................................................................................๔๒
ไปลามาไหว้......................................................................................๔๒
ผู้ดีเดินตรอก ขี้ครอกเดินถนน...........................................................๔๓
ฝรั่งกังไส...........................................................................................๔๔
ฝรั่งบางเสาธง-ฝรั่งขี้นก.....................................................................๔๔
ฝรั่งมังค่า..........................................................................................๔๕
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง....................................................๔๕
แพะรับบาป......................................................................................๔๖
ฟังหูไว้หู............................................................................................๔๗
มิคสัญญี...........................................................................................๔๗
ไม่กินเส้น..........................................................................................๔๘
ไม่ดูตาม้าตาเรือ................................................................................๔๙
ไม่เต็มเต็ง-ไม่เต็มบาท-ไม่เต็มหุน......................................................๔๙
ไม้ประดับ.........................................................................................๕๐
ไม่เอาถ่าน.........................................................................................๕๐
ยักษ์ปักหลั่น.....................................................................................๕๑
ยาดำ.................................................................................................๕๒
ยาหม้อใหญ่......................................................................................๕๒
แย่งกันเป็นศพมอญ..........................................................................๕๓
โยนกลอง..........................................................................................๕๔
ร้อนอาสน์-เก้าอี้ร้อน.........................................................................๕๕

_12-0279(000).indd 14 3/12/12 2:31:55 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca

ร้อยแปด...........................................................................................๕๕
ร้อยเอ็ด............................................................................................๕๖
รากหญ้า-รากแก้ว............................................................................๕๗
เรือนสาม น้ำสี่..................................................................................๕๘
ฤๅษีเลี้ยงลิง.......................................................................................๕๙
ลงแดง...............................................................................................๕๙
ลงเอย...............................................................................................๖๐
ล้มขร................................................................................................๖๐
ล่มหัวจมท้าย....................................................................................๖๑
ลอยแพ.............................................................................................๖๒
ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก..................................................................๖๒
ลางเนื้อชอบลางยา...........................................................................๖๓
ลาในหนังราชสีห์..............................................................................๖๓
ลูกเสือลูกตะเข้.................................................................................๖๔
ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง.....................................................................๖๕
ศรศิลป์ไม่กินกัน...............................................................................๖๖
สนตะพาย.........................................................................................๖๖
สิบแปดมงกุฎ...................................................................................๖๗
เส้นตาย.............................................................................................๖๘
เสียกำซ้ำกอบ....................................................................................๖๘
หนทางพิสูจน์ม้า กาลเวลาพิสูจน์คน.................................................๖๙
หน้าถอดสี........................................................................................๖๙

_12-0279(000).indd 15 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca

หนามยอกเอาหนามบ่ง. ...................................................................๗๐
หน้าสิ่วหน้าขวาน..............................................................................๗๑
หนุมานคลุกฝุ่น.................................................................................๗๒
หมาเห่าใบตองแห้ง. .........................................................................๗๒
หมูในอวย..........................................................................................๗๓
หลังขดหลังแข็ง................................................................................๗๓
หอคอยงาช้าง...................................................................................๗๔
หัวกระไดไม่แห้ง-หัวบันไดไม่แห้ง.....................................................๗๕
หัวก่ายท้ายเกย.................................................................................๗๖
ห้าร้อย..............................................................................................๗๖
เห็นกงจักรเป็นดอกบัว.....................................................................๗๗
เหลือขอ............................................................................................๗๘
อยู่โยง...............................................................................................๗๘
อัศวินม้าขาว.....................................................................................๗๙
อาบน้ำร้อนมาก่อน...........................................................................๘๐
อาภัพเหมือนปูน...............................................................................๘๐
อีหรอบ-อีหรอบเดียวกัน. .................................................................๘๑
เอะอะมะเทิ่ง....................................................................................๘๒
เอาปูนหมายหัว................................................................................๘๒
เอามือซุกหีบ....................................................................................๘๓
โอละพ่อ...........................................................................................๘๔

_12-0279(000).indd 16 3/12/12 2:31:55 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 1

กงเกวียนกำเกวียน
เกวียน เป็นพาหนะที่คนไทยแต่ก่อนนิยมใช้ กงเกวียน คือ
วงรอบของล้อเกวียน ส่วน กำเกวียน คือ ซี่ล้อซึ่งตรงกลางมีดุมที่มีรู
สำหรับสอดเพลาเป็นแกนยึดล้อ ๒ ข้าง เมื่อกงเกวียนหมุนไปทางใด
กำเกวียนก็หมุนตามไปทางนั้น ในภาษาไทยมีสำนวนเปรียบเทียบว่า
กงเกวียนกำเกวียน หมายถึง การกระทำใด ๆ ที่มีผลต่อผู้กระทำนั้น ๆ
เช่ น เขาทำบาปมาตลอดชี วิ ต จึ ง ต้ อ งทุ ก ข์ ท รมานเช่ น นี้ นี่ แ หละ
กงเกวียนกำเกวียน
สำนวนนี้มักใช้กันผิด ๆ ว่า *กงเกวียนกรรมเกวียน เพราะ
เข้าใจว่า กำ ในสำนวนนี้คือ กรรม ซึ่งแปลว่า การกระทำ บ้างก็ใช้
คำผิดและยังลำดับคำผิดเป็น *กงกรรมกงเกวียน ก็มี ที่ถูกต้องคือ
กงเกวียนกำเกวียน จำง่าย ๆ ว่า กง (ของ) เกวียน และ กำ (ของ)
เกวียน

กรวดน้ำคว่ำขัน-กรวดน้ำคว่ำกะลา
กรวดน้ำคว่ำขัน และ กรวดน้ำคว่ำกะลา เป็นสำนวนที่มี
ความหมายว่า ตัดขาดไม่คบหาสมาคมกันต่อไป สำนวนทั้ง ๒ นี้มีที่มา
จากการกรวดน้ำ แต่เป็นการกรวดน้ำโดยคว่ำภาชนะที่ใช้ เพื่อเป็น
การยืนยันความตั้งใจ ว่า เลิก หรือ ตัดขาด กรวดน้ำคว่ำขัน และ
กรวดน้ ำ คว่ ำ กะลา จึ ง มี ค วามหมายว่ า จะไม่ ติ ด ต่ อ ด้ ว ยอี ก ต่ อ ไป

หมายเหตุ : เครื่องหมาย * หมายถึงสำนวนที่ใช้ผิด

_12-0279(001-084).indd 1 3/12/12 2:32:28 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
2
โดยเด็ดขาด เช่น ฉันเคยอุปการะเลี้ยงดูเขาอย่างดี แต่เขากลับมา
ทรยศหักหลังฉัน ขอกรวดน้ำคว่ำขันอย่าได้พบกันอีกต่อไป, คนเลว
อย่ า งนี้ ขอกรวดน้ ำ คว่ ำ กะลาไปเลย อย่ า ได้ พ บกั น อี ก ไม่ ว่ า ชาติ นี้
หรือชาติไหน

กระเชอก้นรั่ว
กระเชอ คือ ภาชนะสานคล้ายกระจาดขนาดเล็กแต่สูงกว่า
ก้นสอบ และปากกว้าง ใช้ใส่ข้าวของแล้วกระเดียดเข้าข้างสะเอว มา
จากคำภาษาเขมรว่า กญฺเชี [ก็อญ-เจอ]
ถ้ า กระเชอก้ น รั่ ว ของที่ ใ ส่ ไว้ ก็ จ ะหลุ ด ลอดออกมาได้ จึ ง มี
สำนวนเปรียบเทียบคนที่ใช้จ่ายเงินอย่างสุรุ่ยสุร่าย ไม่รู้จักประหยัด
อี ก ทั้ ง ทรั พ ย์ สิ น เงิ น ทองที่ ห ามาได้ ก็ เ ก็ บ ออมเอาไว้ ไ ม่ อ ยู่ ว่ า เป็ น
กระเชอก้ น รั่ ว เช่ น ลู ก ทำตั ว เป็ น กระเชอก้ น รั่ ว อย่ า งนี้ เมื่ อ ไรจะ
ตั้งตัวได้ ต้องรู้จักเก็บหอมรอมริบเสียบ้าง อะไรไม่ควรจ่ายก็อย่าไป
จ่ายให้เสียเงิน
สำนวนนี้มักใช้กับผู้หญิง ซึ่งส่วนใหญ่มีหน้าที่ดูแลการใช้จ่าย
เงินในบ้าน และเรียกผู้หญิงที่ไม่รู้จักอดออมว่า แม่กระเชอก้นรั่ว

กระดี่ได้น้ำ
สำนวนกระดี่ได้น้ำ ใช้เปรียบเทีย บกั บ กิ ริ ย าของคนที่ แ สดง
อาการดีใจหรือตื่นเต้น เช่น พวกพนักงานพอรู้ว่า ปีใหม่นี้บริษัทมี
โครงการพาไปพักผ่อนที่จังหวัดภูเก็ต ก็ดีใจราวกับกระดี่ได้น้ำ

_12-0279(001-084).indd 2 3/12/12 2:32:28 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 3
ปลากระดี่ เป็ น ปลาน้ ำ จื ด ลั ก ษณะคล้ า ยปลาสลิ ด แต่ ตั ว
เล็กกว่า พื้นลำตัวเป็นสีเทาเงิน มีอยู่ชุกชุมตามแหล่งน้ำที่น้ำไหลไม่แรง
เช่น ลำคลอง หนอง บึง ทั่วทุกภาคของประเทศไทย ในสมัยก่อน
ถ้ า วิ ด น้ ำ ในท้ อ งร่ อ งเรื อ กสวนไร่ น า หรื อ แหล่ ง น้ ำ ตื้ น ๆ ก็ มั ก จะได้
ปลากระดี่ไปทำอาหาร ปลากระดี่ที่ตกปลักหรือค้างอยู่ในที่น้ำน้อย
เพราะน้ำแห้งลง ถ้ามีน้ำใหม่ไหลลงไปเพิ่มมากขึ้น ก็จะแสดงอาการ
ดี ใจ โดยกระโดดไปมา และด้ ว ยลำตั ว คล้ า ยสี เ งิ น เมื่ อ กระทบกั บ
แสงแดด ก็ทำให้เห็นพฤติกรรมชัดเจน จึงนำมาเปรียบเทียบกับอาการ
ดีใจของคนที่ตื่นเต้นอย่างระงับไว้ไม่อยู่

กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอย น้ำเต้าน้อยจะถอยจม
กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอย น้ำเต้าน้อยจะถอยจม เป็นสำนวน
หมายถึง ยุคที่มีความวิปริตผิดปรกติ กระเบื้องซึ่งมีน้ำหนักมาก ปรกติ
จะจมน้ำ กลับลอยน้ำได้ เปรียบเหมือนคนชั่วที่เฟื่องฟู คือได้ดี และ
เป็นแบบอย่างให้คนชั่วอื่น ๆ ทำชั่วตาม ส่วนลูกน้ำเต้าแห้งซึ่งปรกติ
ลอยน้ำได้ กลับจมน้ำลงไป เปรียบได้กับคนดีที่กลับตกต่ำ นอกจาก
ไม่ เ ป็ น ที่ ส นใจของสั ง คมแล้ ว ยั ง ถู ก คนชั่ ว รั ง แกเอา เช่ น ในข่ า ว
โทรทัศน์มีแต่ภาพและข่าวของคนชั่วทำผิดกฎหมายอยู่เต็มจอ แต่ก็
ไม่สามารถเอาตัวมาลงโทษได้ คนดีได้แต่ท้อแท้ เป็นยุคที่กระเบื้องจะ
เฟื่องฟูลอย น้ำเต้าน้อยจะถอยจมแท้ ๆ

_12-0279(001-084).indd 3 3/12/12 2:32:28 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
4
สำนวนนี้เป็นสำนวนเก่า ปรากฏครั้งแรกในเพลงยาวพยากรณ์
กรุงศรีอยุธยาว่า
“ผู้มีศีลจะเสียซึ่งอำนาจ นักปราชญ์จะตกต่ำต้อย
กระเบื้องจะเฟื่องฟูลอย น้ำเต้าอันลอยนั้นจะถอยจม”

กระสาย-ยักกระสาย
คำว่ า กระสาย ในตำรั บ แพทย์ ไ ทยแผนโบราณ หมายถึ ง
เครื่ อ งแทรกยาซึ่ ง ใช้ เ พิ่ ม ลงในเครื่ อ งยาที่ ป รุ ง แล้ ว เพื่ อ เพิ่ ม ฤทธิ์ ย า
ให้มีสรรพคุณยาสูงขึ้น ส่วนใหญ่จะเป็นน้ำ จึงเรียกว่า น้ำกระสาย
หรือ น้ำกระสายยา อาจเป็นน้ำเปล่าต้มสุก น้ำผึ้ง น้ำมะนาว น้ำสุรา
น้ำชะเอมต้ม น้ำรากถั่วพูต้ม น้ำผลยอต้ม น้ำเปลือกมะรุมต้ม เป็นต้น
เครื่องยาชนิดเดียวกันเมื่อเปลี่ยนน้ำกระสายยาก็จะใช้รักษาโรคได้
ต่างกัน เช่น ยาขนานเดียวกันเมื่อใช้กระวาน กานพลู อบเชย เป็นต้น
บดเป็นผง แล้วใช้น้ำผลยอต้มสุกเป็นน้ำกระสายยา จะใช้แก้อาเจียน
แต่ถ้าใช้น้ำรากถั่วพูต้มเป็นน้ำกระสายยา จะใช้แก้อาการอ่อนเพลีย
และถ้ า ใช้ น้ ำ ชะเอมต้ ม เป็ น น้ ำ กระสายยา จะใช้ แ ก้ อ าการเซื่ อ งซึ ม
เมื่อใช้ยากับน้ำกระสายอย่างหนึ่งแล้วโรคไม่ทุเลา หมอก็จะเปลี่ยน
น้ำกระสายยา จึงเป็นที่มาของสำนวนว่า ยักกระสาย
ยักกระสาย หมายความว่า เปลี่ยนน้ำกระสายยาเมื่อยาไทย
ที่ ใช้ เ ดิ ม ไม่ ไ ด้ ผ ล หรื อ เปลี่ ย นน้ ำ กระสายยาเพื่ อ ใช้ รั ก ษาให้ ถู ก โรค
โดยปริยายหมายความว่า เปลี่ยนไปใช้อย่างอื่นหรือวิธีอื่น เช่น คนที่

_12-0279(001-084).indd 4 3/12/12 2:32:28 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 5
มี ไขมั น ในเลื อ ดสู ง ไม่ ค วรกิ น อาหารที่ ท ำด้ ว ยกะทิ ถ้ า อยากจะกิ น
แกงเขี ย วหวานก็ ล องยั ก กระสายใช้ น มพร่ อ งไขมั น แทนกะทิ ไ ด้ ,
งบประมาณที่ ไ ด้ ม านี้ ส ำหรั บ ใช้ พิ ม พ์ ห นั ง สื อ แจก อย่ า ยั ก กระสาย
ไปทำอย่างอื่น, เธอชอบกินไข่มาก วันหนึ่งต้ม วันหนึ่งทอด บางทีก็
ทำไข่ตุ๋น ไข่พะโล้ ยักกระสายไปเรื่อย ๆ

กรุ-เข้ากรุ
คำว่ า กรุ มี ๒ ความหมาย ความหมายแรก กรุ ใช้ เ ป็ น
คำกริ ย า หมายถึ ง ปิ ด , กั้ น ช่ อ งว่ า ง, รองไว้ ข้ า งล่ า ง เช่ น แม่ ค้ า
กรุชะลอมบรรจุผลไม้ด้วยใบตอง อีกความหมายหนึ่ง กรุ ใช้เป็น
คำนาม หมายถึง ห้องในพระเจดีย์ พระปรางค์ หรือฐานชุกชี หรือ
ช่องว่างที่ทำไว้ใต้ดิน สำหรับเก็บพระพุทธรูป พระเครื่อง หรือของ
มี ค่ า อื่ น ๆ เช่ น เครื่ อ งราชู ป โภคทองคำสมั ย อยุ ธ ยาขุ ด ได้ จ ากกรุ
พระปรางค์วัดราชบูรณะ
ปัจจุบัน กรุ มีความหมายขยายออก หมายถึงแหล่งรวบรวม
หรือสะสมของโบราณของมีค่าอื่น ๆ เช่น กรุหนังสือเก่า กรุพระเครื่อง
กรุเครื่องเพชร นอกจากนี้ กรุ ยังใช้ในความหมายเปรียบเทียบในคำ
ว่า ย้ายเข้ากรุ เก็บเข้ากรุ หมายถึงย้ายข้าราชการจากตำแหน่งเดิม
เข้ามาประจำกรมหรือกระทรวงโดยไม่มีหน้าที่ใด ๆ ให้รับผิดชอบ
ทั้งนี้อาจเป็นการลงโทษหรือเพื่อให้ได้พักผ่อนก่อนเกษียณอายุราชการ

_12-0279(001-084).indd 5 3/12/12 2:32:28 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
6
กลับหน้ามือเป็นหลังมือ
กลับหน้ามือเป็นหลังมือ เป็นสำนวน หมายความว่า กลับเป็น
ตรงกันข้าม
หน้ามือ คือ ด้านที่เป็นฝ่ามือ ด้านที่มีลายมือ ส่วนหลังมือคือ
ส่วนที่อยู่ตรงกันข้าม กลับหน้ามือเป็นหลังมือ เป็นสำนวนที่มักจะใช้
กับการเปลี่ยนพฤติกรรมของคนที่กลับเป็นตรงกันข้ามกับที่เคยเป็น
มาแต่เดิม มักจะใช้กับพฤติกรรมที่เปลี่ยนจากร้ายมาดี เช่น เด็กที่
เดิมเป็นเด็กเกเรและหลงผิดไปเสพยา จนถูกจับไปเข้าโรงเรียนวิวัฒน์
พลเมือง เมื่อออกมาแล้วกลับหน้ามือเป็นหลังมือ กลายเป็นเด็กที่
ประพฤติ ต นดี เอาใจใส่ ก ารเรี ย น ไม่ ไ ปมั่ ว สุ ม กั บ ใคร ทำให้ พ่ อ แม่
สบายใจมาก

กลิ้งทูต
กลิ้งทูต น่าจะเลือนมาจากคำว่า ทูษณ์ ซึ่งเป็นชื่อน้องชาย
คนหนึ่งของทศกัณฐ์
ที่ ม าของสำนวนนี้ มี ว่ า นางสำมนั ก ขาซึ่ ง เป็ น น้ อ งสาวคน
สุดท้องของทศกัณฐ์ไปเที่ยวป่า และไปพบพระรามก็เกิดหลงรัก เข้าไป
เกี้ยวพาราสี แต่เห็นนางสีดาอยู่ในที่นั้นด้วย จึงเข้าไปทำร้าย พระราม
ให้ พ ระลั ก ษมณ์ จั บ นางสำมนั ก ขามาลงโทษด้ ว ยการตั ด จมู ก เท้ า
และมื อ นางจึ ง ไปฟ้ อ งพญาขร ให้ ย กพลพรรคไปรบกั บ พระราม
แต่ พ ญาขรแพ้ ตายในที่ ร บ พวกไพร่ พ ลที่ เ หลื อ ตายพากั น ไปหา
พญาทูษณ์ น้องชายรองลงมาให้ไปรบกับพระราม พระรามทำลาย

_12-0279(001-084).indd 6 3/12/12 2:32:28 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 7
กองทั พ พญาทู ษ ณ์ จ นหมดสิ้ น พญาทู ษ ณ์ ต้ อ งเหาะขึ้ น ไปแอบบน
กลีบเมฆ พระรามแผลงศรพรหมาสตร์ ถูกพญาทูษณ์ตกลงมากลิ้ง
กับพื้นสิ้นชีวิต
กลิ้ ง ทู ษ ณ์ ซึ่งต่อมาเลือนมาเป็ น กลิ้ ง ทู ต มี ค วามหมายว่ า
ล้มกลิ้งกับพื้นอย่างไม่เป็นท่า เช่น นักมวยฝ่ายแดงถูกต่อยกลิ้งทูต
ให้กรรมการนับสิบ หรือหมายความว่า ล้มลงตาย เช่น โจรถูกตำรวจ
ที่ไล่ตามมายิงกลิ้งทูตอยู่กลางถนน

ก่อหวอด
หวอด คือ ฟองน้ำที่ปลาบางชนิด เช่น ปลากระดี่ ปลากัด
ใช้เป็นที่เก็บไข่ เมื่อถึงเวลาจะวางไข่ ปลาเพศผู้เพศเมียที่เป็นคู่กันจะ
ช่วยกันพ่นน้ำให้เกิดฟองน้ำเป็นแพติดอยู่ตามกอหญ้าในน้ำ แล้วจึง
วางไข่ที่แพฟองน้ำนั้น ไข่ปลาจะอาศัยหวอดนี้อยู่จนเจริญเติบโตเป็น
ลูกปลา
คำว่า ก่อ หมายถึง ทำให้เกิดขึ้น, ทำให้มีขึ้น สำนวน ก่อหวอด
ใช้เปรียบกับการทำหวอดของปลา หมายถึงเริ่มรวมตัวเพื่อก่อการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง มักเป็นสิ่งที่ไม่ดีและไม่สงบ เช่น พนักงานบริษัทนี้
กำลังก่อหวอดเรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำ สหภาพแรงงานก็สนับสนุน
ให้พนักงานบริษัทอื่นเข้าร่วมชุมนุมด้วย

_12-0279(001-084).indd 7 3/12/12 2:32:28 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
8
กำแพงมีหู ประตูมีช่อง
กำแพงมี หู ประตู มี ช่ อ ง หรื อ กำแพงมี หู ประตู มี ต า
หมายความว่ า การพูดหรือทำอะไรต้องระมั ด ระวั ง เพราะแม้ จ ะดู
เสมือนว่าปกปิดมิดชิด คืออยู่ในกำแพงหรือปิดประตูแล้ว ก็ยังอาจมีคน
ล่วงรู้ได้
สาเหตุที่นำคำว่า กำแพง และ ประตู มาใช้คู่กัน อาจเป็น
เพราะทั้งกำแพงและประตูที่ปิดอยู่ เป็นสิ่งที่กั้นบังไว้ไม่ให้ได้เห็นหรือ
ได้ยิน แต่กำแพงและประตูก็อาจมีช่องมีรูให้แอบฟังหรือแอบดูได้ จึง
เปรียบว่ากำแพงมีหู ประตูมีช่อง หรือ กำแพงมีหู ประตูมีตา
สำนวนนี้บางทีมีผู้ใช้ผิดว่า *หน้าต่างมีหู ประตูมีช่อง

กินข้าวต้มกระโจมกลาง
กิ น ข้ า วต้ ม กระโจมกลาง เป็ น สำนวนเปรี ย บการกระทำที่
เร่ ง รี บ ผลี ผ ลามโดยไม่ พิ จ ารณาให้ ร อบคอบเสี ย ก่ อ น มั ก ทำให้ เ กิ ด
ผลเสียขึ้นแก่ตนเองได้ เหมือนกับการรีบจ้วงกินข้าวต้มร้อน ๆ จาก
กลางชาม ข้ า วต้ ม อาจลวกปากจนลิ้ น พอง คำว่ า กระโจม ในที่ นี้
หมายถึง ผลีผลามโถมเข้าไป สำนวน กินข้าวต้มกระโจมกลาง ใช้พูด
เป็ น ข้ อ คิ ด สะกิ ด ใจให้ ก ระทำสิ่ ง ใด ๆ อย่ า งรอบคอบ ตามขั้ น ตอน
อย่ า เร่ ง รี บ หรื อ ผลี ผ ลาม เช่ น ถ้ า จะซื้ อ ที่ ดิ น ก็ ต้ อ งตรวจดู โ ฉนดให้
ถูกต้อง อย่ากินข้าวต้มกระโจมกลาง รีบซื้อไปจะถูกหลอก

_12-0279(001-084).indd 8 3/12/12 2:32:29 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 9

กินข้าวหม้อเดียวกัน
กินข้าวหม้อเดียวกัน เป็นสำนวน มีความหมายว่า กินข้าว
ที่ หุ ง ในหม้ อ ใบเดี ย วกั น สำนวนนี้ ม าจากพฤติ ก รรมของคนที่ อ ยู่
เป็ น ครอบครัว ย่อมจะกินข้าวจากหม้ อ ที่ หุ ง ครั้ ง เดี ย วในแต่ ล ะมื้ อ
อาหารหลั ก ของคนไทยคื อ ข้ า ว คนไทยกิ น ข้ า วทุ ก วั น บางคนกิ น
วันละมื้อเดียว แต่บางคนก็กินหลายมื้อ คนที่กินข้าวจากหม้อเดียวกัน
คื อ คนในครอบครั ว เดี ย วกั น ไม่ ว่ า จะเป็ น ครอบครั ว เล็ ก ที่ มี เ พี ย ง
พ่อ แม่ ลูก หรือครอบครัวใหญ่ที่มีปู่ย่าตายายและลุงป้าน้าอาอยู่ด้วย
ก็ ต าม คนในครอบครั ว เดี ย วกั น ควรรั ก ใคร่ ส มั ค รสมานสามั ค คี กั น
ไม่ แ ตกแยกทะเลาะเบาะแว้ ง กั น ในบางครั้ ง อาจนำคำว่ า กิ น ข้ า ว
หม้ อ เดี ย วกั น มาใช้ เ ป็ น สำนวนในความหมายที่ ก ว้ า งขึ้ น หมายถึ ง
คนที่อยู่ในคณะเดียวกัน ใช้ชีวิตอยู่ด้วยกัน และผูกพันกันอย่างใกล้ชิด
เหมือนเป็นคนในครอบครัวเดียวกัน เช่น เราเป็นลิเกคณะเดียวกัน
กินข้าวหม้อเดียวกันก็ต้องรักใคร่กลมเกลียวกัน

กุมภกรรณทดน้ำ
กุมภกรรณทดน้ำ ประกอบด้วยคำว่า กุมภกรรณ กับ ทดน้ำ
กุมภกรรณ เป็นตัวละครยักษ์ในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นน้องของ
ทศกัณฐ์ คำว่า ทดน้ำ หมายถึง กั้นหรือขวางทางน้ำ คำว่า ทด มา
จากคำภาษาเขมร ทส่ [ตั๊วะฮ์] แปลว่า ขัดหรือขวาง

_12-0279(001-084).indd 9 3/12/12 2:32:29 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
10
ตามเรื่ อ ง กุ ม ภกรรณจำเป็ น ต้ อ งช่ ว ยทศกั ณ ฐ์ ท ำศึ ก กั บ
พระราม กุมภกรรณคิดอุบายตัดศึกโดยเนรมิตกายให้ใหญ่เท่าภูเขา
แล้ ว ไปนอนขวางทางน้ ำ เพื่ อ มิ ใ ห้ น้ ำ ไหลไปถึ ง ที่ ตั้ ง ทั พ ของพระราม
ไพร่พลของพระรามจะได้อดน้ำตายภายในเจ็ดวัน เมื่อพระรามรู้อุบาย
ของกุ ม ภกรรณจึ ง ใช้ ใ ห้ ห นุ ม านไปทำลายพิ ธี ท ดน้ ำ ของกุ ม ภกรรณ
เกิดการต่อสู้กันจนกุมภกรรณพ่ายแพ้หนีกลับเข้าเมืองไป
กุ ม ภกรรณทดน้ ำ นำมาใช้ เ ป็ น สำนวน หมายถึ ง ผู้ ที่ น อน
เกะกะขวางทางคนอื่ น เช่ น หลี ก ไปให้ พ้ น ทางหน่ อ ย คนจะเดิ น
มานอนเป็นกุมภกรรณทดน้ำอยู่ได้

ขนทรายเข้าวัด
ประเพณีขนทรายเข้าวัดในช่วงเทศกาลสงกรานต์เป็นประเพณี
ที่มีมาแต่โบราณ โดยสมมุติว่าบริเวณรอบ ๆ พระวิหารเป็นเสมือนหนึ่ง
สี ทั น ดรสมุ ท รที่ ปู ล าดด้ ว ยทรายขาว ตรงกลางมี เขาพระสุ เ มรุ คื อ
พระวิหารซึ่งเป็นที่ประทับขององค์พระศาสดาคือพระประธาน
บางท่านกล่าวว่าการที่คนเดินเข้าไปในวัด เมื่อออกมาอาจมี
เศษทรายติดเท้ามาด้วย จึงต้องขนทรายเข้าวัดด้วยการนำมาก่อเป็น
พระเจดี ย์ ใ นเทศกาลสงกรานต์ เ พื่ อ เป็ น การทดแทน บางวั ด ก็ ใ ห้
แต่ละคนสร้างเป็นเจดีย์ขนาดเล็กไปทั่วบริเวณวัด บางวัดก็ให้รวมกัน
สร้ า งเป็ น เจดี ย์ ข นาดใหญ่ เ พี ย งองค์ เ ดี ย ว ซึ่ ง ก็ ถื อ ว่ า เป็ น กุ ศ โลบาย
อีกอย่างหนึ่งที่จะให้พระสามารถนำทรายไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้

_12-0279(001-084).indd 10 3/12/12 2:32:29 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 11

ขมิ้นกับปูน
ขมิ้ นกับปูน เป็นสำนวน หมายถึง ไม่ถูกกัน, เข้ากันไม่ได้,
ทะเลาะกั น อยู่ ป ระจำ, ใช้ เ ปรี ย บคนที่ ไ ม่ ถู ก กั น อยู่ ด้ ว ยกั น ไม่ ไ ด้
มักวิวาทกัน เช่น พี่น้องสองคนนี้อย่างกับขมิ้นกับปูน เข้าใกล้กันทีไร
เป็นต้องทะเลาะกันทุกที
ในสมั ย ก่ อ นคนไทยนิ ย มกิ น หมาก วิ ธี ก ารกิ น หมากนั้ น คื อ
ใช้ปูนแดงบ้ายบนใบพลู ม้วนจีบเป็นรูปยาว ๆ แล้วเคี้ยวกับหมาก
อาจเคี้ยวยาจืดหรือยาฉุนและเครื่องหอมอื่น ๆ เช่น กานพลู พิมเสน
ร่ ว มไปด้ ว ย เมื่ อ เคี้ ย วแล้ ว จะมี น้ ำ ลายออกมาปนกั บ หมากพลู เ ป็ น
น้ำหมากสีแดงซึ่งผู้กินหมากจะบ้วนทิ้ง ปูนแดงนี้ทำจากหินปูนหรือ
เปลือกหอยเผาให้ไหม้เป็นผง มีสีขาว เมื่อนำปูนขาวนี้มาผสมกับ
น้ำขมิ้นซึ่งมีสีเหลือง จะเกิดปฏิกิริยาทำให้ปูนเปลี่ยนสีเป็นสีแดงทันที
ขมิ้นกับปูนที่มีปฏิกิริยากันเช่นนี้ คนโบราณถือว่าเป็นสิ่งที่ขัดแย้งกัน
จึงนำมาเปรียบกับคนที่ไม่ถูกกัน มักวิวาทกัน ว่า เหมือนขมิ้นกับปูน

ขึ้นคาน
ขึ้ น คาน เป็ น สำนวน หมายถึ ง มี อ ายุ เ ลยวั ย แต่ ง งานแล้ ว
แต่ยังไม่ได้แต่งงาน เดิมเป็นคำที่มีความหมายในเชิงเยาะเย้ยเล็กน้อย
เพราะแต่โบราณมานิยมให้ผู้หญิงแต่งงานเพื่อให้มีผู้ดูแลและป้องกันภัย
ผู้หญิงที่ไม่แต่งงานอาจจะเป็นเพราะหาผู้ที่คู่ควรหรือถูกใจไม่ได้ เช่น
เพื่อนเราคนนี้คงจะขึ้นคานแน่ ๆ อายุเกือบ ๔๐ แล้ว ยังไม่พบใคร
ถูกใจเลย

_12-0279(001-084).indd 11 3/12/12 2:32:29 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
12
คำว่า ขึ้นคาน เป็นสำนวนมาจากการเรียกเรือที่ยกขึ้นพาด
ไว้บนคานเพื่อซ่อมรอยรั่ว ยาชัน ทาน้ำมันใหม่ ในตอนนั้นเรือจึงใช้
ประโยชน์ ไ ม่ ไ ด้ ค้ า งเติ่ ง อยู่ บ นคาน ต่ อ มาจึ ง นำคำว่ า ขึ้ น คาน
มาเปรียบกับหญิงที่มีอายุมากและอยู่เป็นโสด

คนชายขอบ
คนชายขอบ คือ คนที่อยู่ห่างไกลจากสังคม มักหมายถึงผู้ที่
ไม่ ไ ด้ รั บ การดู แล ไม่ได้รับบริการหรือความคุ้ ม ครองจากรั ฐ อย่ า งที่
คนอื่น ๆ ได้รับ เป็นคนที่ต้องดูแลตนเอง และมีวัฒนธรรมของตนเอง
ที่อาจจะแตกต่างจากวัฒนธรรมของคนที่อยู่ในเมือง
คนชายขอบต่างกับคนหลังเขา ตรงที่คนหลังเขาเน้นการไม่
รับรู้ข่าวสาร จึงกลายเป็นคนที่ไม่ทันสังคม ไม่ทันโลก แต่คนชายขอบ
เน้นคนที่มีอิสระ มีพฤติกรรม ความคิด หรือวัฒนธรรมของตนเอง
และพยายามให้สังคมยอมรับกลุ่มของตน

คนหลังเขา
คนหลังเขา หมายถึง คนที่ไม่รู้เรื่องราวอะไร คนที่ไม่ได้รับ
ข่าวสาร เพราะอยู่ไกลถึงหลังเขา แต่โบราณมาคนที่อยู่ป่าอยู่เขามักจะ
ไม่ได้รับข่าวสาร ไม่รู้เรื่องความเป็นไปของบ้านเมือง ไม่ได้รับความรู้
ทางวิทยาการหรือเทคโนโลยีใด ๆ ไม่ทราบความก้าวหน้าของโลก

_12-0279(001-084).indd 12 3/12/12 2:32:29 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 13
ก็เป็นคนที่ล้าหลังไม่ทันคนอยู่แล้ว ยิ่งถ้าอยู่หลังเขาก็ยิ่งไกลออกไปอีก
ความไม่ รู้ ไม่ ทั น คน ไม่ ทั น ความก้ า วหน้ า ของโลกก็ ยิ่ ง มากขึ้ น เป็ น
ทวีคูณ
สรุปว่า คนหลังเขา คือคนที่โง่เพราะไม่รู้ เช่น คุณไม่ติดตาม
ข่าวคราว ไม่เรียนรู้วิทยาการอะไร ก็จะเป็นคนหลังเขา

คบสองหนองแหลก
คบสองหนองแหลก เป็นสำนวน หมายความว่า ความลับใด
ที่รู้ถึงบุคคลที่สองแล้ว ก็มักจะมีเรื่องยุ่งยากเกิดขึ้นตามมา เหมือน
หนองน้ำที่มีปลาอาศัยอยู่มาก หากบอกให้คนอื่นรู้ ก็จะมีคนมาจับปลา
ในหนองนั้น ถ้ามากันมาก ๆ ปลาก็จะหมดหนอง หรือคนจะไปลุยจน
หนองนั้นถูกเหยียบย่ำทำลาย
คำว่า คบ เป็นคำกริยา หมายถึงเข้าเป็นพวกเดียวกัน เช่น
คบค้า คบหา ได้แก่การไปมาหาสู่เข้าเป็นพวกเดียวกัน คบสอง คือ
ยอมให้คนคนหนึ่งมาเข้าเป็นพวกด้วย ส่วน หนองแหลก คือ แอ่งน้ำ
หรือหนองน้ำที่ถูกเหยียบย่ำจนเละเทะ
คบสองหนองแหลก เป็ น สำนวนโบราณที่ มุ่ ง สอนให้ รู้ ว่ า
ถ้ามีความลับ ไม่ควรบอกให้คนอื่นทราบ เพราะจะไม่สามารถเก็บ
ความลับนั้นได้ เช่น บอกแล้วว่าซุ้มตรงนี้เงียบเชียบดี เหมาะที่จะมา
นั่งดูหนังสือสอบ แต่ดูซิตอนนี้คนเยอะแยะเอะอะไปหมด ฉันไม่น่า
บอกให้เธอรู้เลย คบสองหนองแหลกแท้ ๆ

_12-0279(001-084).indd 13 3/12/12 2:32:29 PM


bcadbcadbcadbcadbcadbca b
14
คลื่นใต้น้ำ
คำว่า คลื่นใต้น้ำ เป็นศัพท์ทางภูมิศาสตร์ ซึ่งตรงกับคำภาษา
อั ง กฤษว่ า swell หมายถึ ง คลื่ น ในมหาสมุ ท รที่ มี ช่ ว งคลื่ น ยาว
สม่ำเสมอและยอดเรียบ เคลื่อนตัวมาจากแหล่งกำเนิดที่อยู่ไกลมาก
คลื่นใต้น้ำเป็นคลื่นที่มองเห็นไม่ชัดเมื่ออยู่ในทะเลลึก แต่เมื่อเคลื่อนที่
ถึงฝั่งจึงเป็นคลื่นขนาดใหญ่ ชาวเรือถือว่าเป็นสัญญาณบอกเหตุว่า
จะเกิดพายุ
คลื่นใต้น้ำ นำมาใช้เปรียบเทียบความเคลื่อนไหวอย่างลับ ๆ
เพื่อต่อต้านหรือก่อความไม่สงบ เช่น เวลานี้บ้านเมืองดูเหมือนสงบ
แต่ความจริงก็มีกลุ่มคนที่เคลื่อนไหวเป็นคลื่นใต้น้ำอยู่

คว่ำบาตร
คว่ำบาตร หมายถึง ไม่ยอมคบค้าสมาคมด้วย เป็นสำนวนที่มี
ที่มาจากการที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้สงฆ์สวดประกาศไม่ให้คบ
อุ บ าสกอุ บ าสิ ก าผู้ ป ระกอบด้ ว ยโทษประการใด ๆ ใน ๘ ประการ
ได้แก่ ๑. พยายามทำให้ภิกษุเสื่อมลาภ ๒. พยายามทำให้ภิกษุได้รับ
ความเสียหาย ๓. พยายามทำให้ภิกษุอยู่ไม่ได้ ๔. ด่าหรือบริภาษภิกษุ
๕. ทำให้ภิกษุแตกกับภิกษุด้วยกัน ๖. ติเตียนพระพุทธ ๗. ติเตียน
พระธรรม และ ๘. ติเตียนพระสงฆ์ พระสงฆ์จะทำสังฆกรรมในเขตสีมา
เรียกว่าพิธีคว่ำบาตร โดยภิกษุรูปหนึ่งจะประกาศบรรยายโทษคฤหัสถ์
ผู้ นั้ น และเสนอให้ ส งฆ์ ค ว่ ำ บาตรเขา ด้ ว ยการไม่ ย อมเกี่ ย วข้ อ งด้ ว ย

_12-0279(001-084).indd 14 3/12/12 2:32:29 PM


a bcadbcadbcadbcadbcadbca
สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 15
ไม่ยอมรับอาหารที่ถวาย ไม่ยอมแสดงธรรมให้ ไม่ยอมทำพิธีเกี่ยวกับ
ศพของผู้นั้น แต่ถ้าผู้นั้นรู้สึกตัวมาขอขมาต่อหน้าคณะสงฆ์ รับรองว่า
จะไม่ประพฤติเช่นนั้นอีก พระสงฆ์ก็จะทำพิธีสวดประกาศยกโทษให้
เรียกว่าพิธีหงายบาตร
สำนวน คว่ำบาตร นำมาใช้โดยทั่วไปในความหมายว่าไม่ยอม
คบค้าสมาคมด้วย ซึ่งตรงกับคำว่า boycott ในภาษาอังกฤษ เช่น
สหรัฐคว่ำบาตรพม่าด้วยการห้ามนำเข้าสินค้าทุกประเภทจากพม่า

คอหอยกับลูกกระเดือก
คอหอย เป็นคำที่ใช้เรียกอวัยวะภายในลำคอ ซึ่งเป็นช่องผ่าน
ของลมหายใจและอาหาร ตั้งแต่หลังโพรงจมูก หลังช่องปากลงไป
จนถึงหลังกล่องเสียงแล้วต่อกับหลอดอาหาร
แม้ว่าคอหอยจะทำหน้าที่ทั้งเป็นทางเดินอาหารและทางเดิน
ของลมหายใจ แต่จะไม่ทำหน้าที่ดังกล่ า วพร้ อ มกั น สิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้
คอหอยทำหน้าที่แยกกันเช่นนั้นได้คือ กล่องเสียง หรือที่มองเห็นจาก
ด้านนอกเป็น ลูกกระเดือก ร่างกายมีระบบประสาทควบคุมการทำงาน
ของการหายใจและของการกิ น อาหารให้ ส อดคล้ อ งกั น โดยขณะ
หายใจ ทางจมู ก ปากมั ก จะปิ ด และลิ้ น จะอยู่ เ ต็ ม ช่ อ งปากพอดี
ลูกกระเดือกจะอยู่นิ่ง ขณะที่กลืนอาหารลูกกระเดือกจะเคลื่อนที่ขึ้น
ไปชนกับโคนลิ้น ทำให้ฝาของกล่องเสียงที่อยู่ทางด้านหน้า พับไปทาง
ด้านหลังปิดกล่องเสียง อาหารจึงเคลื่อนไปทางด้านหลังกล่องเสียง

_12-0279(001-084).indd 15 3/12/12 2:32:29 PM


Another random document with
no related content on Scribd:
¹⁄₂ lb. treacle
¹⁄₂ lb. sugar
2 table-spoons powdered ginger
1 tea-spoon carbonate of soda
3 eggs
Melt the butter, sugar, and treacle in a saucepan, and pour them
gradually when not too hot over the well-beaten eggs stirring
continually. Add the soda and ginger, then the flour, stirring it well in.
Bake in a slow oven for an hour and half in a well-greased tin.

One Egg Cake

¹⁄₂ cup butter


1 cup powdered sugar
1 egg
1 cup milk
2 cups flour
¹⁄₂ tea-spoon carbonate of soda
1 tea-spoon cream of tartar
1 tea-spoon vanilla, or the grated rind and juice of half a
lemon
Cream the butter and add the sugar. Beat well together. Beat the
egg till light and add it, and then the milk with the soda dissolved in
it. Stir in the flour with which the cream of tartar should be mixed.
Beat well together and add the vanilla. Bake in a shallow tin in a
moderate oven for half-an-hour.

Plain Sultana Cake


1 lb. flour
¹⁄₄ lb. butter
¹⁄₄ lb. sugar
¹⁄₂ lb. sultanas, currants, or raisins
2 ozs. peel
2 eggs
¹⁄₂ pint milk
Rub the butter into the flour. Add the sugar, then the peel cut into
small pieces, and well-floured fruit. Beat the eggs till light and
creamy. Add them to the mixture. Dissolve the soda in the milk. Work
all together thoroughly with the hands. Bake at once for an hour to
an hour and a half.
OR,
Substitute one tea-spoon baking powder for the carbonate of
soda. Beat the butter to a cream. Add the sugar, eggs, and fruit,
beating all the time. Mix the baking powder with the flour. Add the
flour to the mixture with the milk and beat well. Bake about one and
a half hours in a moderate oven.

Seed Cake—Lunch
1 lb. flour
¹⁄₄ lb. dripping or butter
¹⁄₄ lb. moist sugar
1 tea-spoon ground carraway seed
1 egg
1 oz. candied peel
¹⁄₂ pint milk
¹⁄₂ tea-spoon carbonate of soda
Rub the butter into the flour. Add sugar, seed, candied peel, egg,
and the milk in which the soda has been dissolved. Mix the whole
thoroughly, working together with the hand. Bake at once for one and
a quarter hours in a moderate oven.
THE END
Index

Almond Cake, 16.

” ” (Dutch), 19.

” Cakes, 91.

” Icing, 67.

Almonds, How to Blanch, 4.

American Hard Gingerbread, 73.

American Soft Gingerbread, 72.

American Sponge Cake, 11.

Angel Cake, 17.

Baking Powder, 2.

Balloon Cakes, 113.

Berwick Sponge Cake, 11.

Black Cake, 51.

Boiled Icing, 66.

Bottle Cakes, 91.

Bread Cake, 78.


Breakfast Scones, 114.

Brioche, 79.

Buttercup Cake, 42.

Butter Rings, 92.

Californian Fig Cake, 35.

Caraway Cakes, 93.

Chocolate Cakes, 42-44.

” ” 93, 94.

” Icing, 67, 68.

Cider Cake, 52.

Cinnamon Biscuits, 94.

” Cakes, 85.

Coburg Cakes, 95.

Cocoanut Cake, 17.

” Cones, 96.

” Icing, 68.

Cocoanut Pound Cake, 18.

” Rings, 96.

Coffee Cake, 36.

Cornflour Cakes, 97.


Cringles, 115.

Crullers, 85.

Crumpets, 112, 115.

Currant Cake, 52.

Dough Cake, 80.

Doughnuts, 86.

” with Yeast, 86.

Dropped Scones, 116.

Dutch Almond Cake, 19.

Echaudés, 117.

Eggs, How to Beat, 5.

Eversley Cake, 19.

Fillings for Layer Cakes, 31-34.

Fluffy Cakes, 98.

Fruit Cakes, 53, 54.

” Cake without Eggs, 126.

” Layer Cake, 37.

Gateau de Savoie, 12.


Gelatine Icing, 66.

Genoa Cake, 55.

German Biscuits, 99.

Gingerbread, 126.

” hard, 73.

” loaf, 74.

” nuts, 99.

” soft, 72, 73.

Ginger Snaps, 100.

Gold Cake, 44.

Golden Corn Cake, 117.

Ground Rice Biscuits, 100.

Hazel Nut Biscuits, 101.

Icing without Eggs, 66.

Imperial Cake, 55.

Jam Sandwich, 37, 38.

Kletskoppen, 101.

Kugelhupf, 80.
Lady Cake, 20.

Layer Cakes, 29, 30.

” ” Fillings for, 31-34.

Lemon Layer Cake, 38.

Little Biscuits, 102.

Little Breakfast Rolls, 118.

Little Dutch Cakes, 102.

Louisa Cakes, 103.

Macaroons, 103.

Madeleines, 104.

Marbled Cake, 45.

Measures, Table of, 2.

Measuring, 1.

Milanese Cake, 13.

Muffins, 111, 113.

Nut Cake, 46.

Oat Cakes, 105.

One Egg Cake, 127.

Orange Biscuits, 105.


” Wafers, 106.

Oven, Management of, 6.

Pitcaithley Bannock, 56.

Plain Icing, 65.

Plain Sultana Cake, 127.

Portuguese Gingerbread, 74.

Potato Flour Cake, 20.

Pound Cakes, 21, 22.

Puff-ball Doughnuts, 87.

Raisins, How to Stone, 3.

Ribbon Cake, 39.

Rice Cake, 22, 23.

” Cakes, 107, 109.

Rock Cakes, 107, 108.

Scones, 118, 119.

” Soda, 119.

Scotch Bun, 82.

” Gingerbread, 75.

Seed Cake, 56.


” ”, 128.

” Dough Cake, 82.

Shortbread, 46, 47.

”, 108.

” Biscuits, 109.

Simnel Cake, 57.

Snowballs, 87.

Snow Cake, 24.

” Cakes, 109.

Spice Cake, 59.

Sponge Cake, 13.

” ” American, 11.

” ” Berwick, 11.

” Fingers, 110.

Sugar Cakes, 110.

Sultana Cakes, 59-61.

Sultana or Seed Cake, 61.

Swiss Roll, 40.

Table of Measures, 2.

Tea Buns, 120.


” Cakes, 121, 123.

Tins, How to Grease, 6.

Tutti Frutti Icing, 69.

Walnut Cake, 47.

Wedding Cake, 51.

White Cakes, 24, 25.

White Fruit Cake, 62.

Whole Meal Biscuits, 110.

Yellow Icing, 69.

York Cakes, 123.

Yorkshire Cake, 124.

” Parkin, 76.

PRINTED BY
TURNBULL AND SPEARS,
EDINBURGH
Transcriber’s Notes
Punctuation inconsistencies and omissions have been fixed.
Page 45: The m in muslin was printed upside down in the original; this has been fixed.
Page 73: “mi k” changed to “milk”
Page 109: “grated cocoannt” changed to “grated cocoanut”
The recipe list for Almond Cake--I includes brandy but this is not referenced in the
instructions of the original.
The recipe for Plain Sultana Cake references soda in the instructions, but this is
missing from the ingredient list in the original.
*** END OF THE PROJECT GUTENBERG EBOOK THE CAKE
AND BISCUIT BOOK ***

Updated editions will replace the previous one—the old editions will
be renamed.

Creating the works from print editions not protected by U.S.


copyright law means that no one owns a United States copyright in
these works, so the Foundation (and you!) can copy and distribute it
in the United States without permission and without paying copyright
royalties. Special rules, set forth in the General Terms of Use part of
this license, apply to copying and distributing Project Gutenberg™
electronic works to protect the PROJECT GUTENBERG™ concept
and trademark. Project Gutenberg is a registered trademark, and
may not be used if you charge for an eBook, except by following the
terms of the trademark license, including paying royalties for use of
the Project Gutenberg trademark. If you do not charge anything for
copies of this eBook, complying with the trademark license is very
easy. You may use this eBook for nearly any purpose such as
creation of derivative works, reports, performances and research.
Project Gutenberg eBooks may be modified and printed and given
away—you may do practically ANYTHING in the United States with
eBooks not protected by U.S. copyright law. Redistribution is subject
to the trademark license, especially commercial redistribution.

START: FULL LICENSE


THE FULL PROJECT GUTENBERG LICENSE
PLEASE READ THIS BEFORE YOU DISTRIBUTE OR USE THIS WORK

To protect the Project Gutenberg™ mission of promoting the free


distribution of electronic works, by using or distributing this work (or
any other work associated in any way with the phrase “Project
Gutenberg”), you agree to comply with all the terms of the Full
Project Gutenberg™ License available with this file or online at
www.gutenberg.org/license.

Section 1. General Terms of Use and


Redistributing Project Gutenberg™
electronic works
1.A. By reading or using any part of this Project Gutenberg™
electronic work, you indicate that you have read, understand, agree
to and accept all the terms of this license and intellectual property
(trademark/copyright) agreement. If you do not agree to abide by all
the terms of this agreement, you must cease using and return or
destroy all copies of Project Gutenberg™ electronic works in your
possession. If you paid a fee for obtaining a copy of or access to a
Project Gutenberg™ electronic work and you do not agree to be
bound by the terms of this agreement, you may obtain a refund from
the person or entity to whom you paid the fee as set forth in
paragraph 1.E.8.

1.B. “Project Gutenberg” is a registered trademark. It may only be


used on or associated in any way with an electronic work by people
who agree to be bound by the terms of this agreement. There are a
few things that you can do with most Project Gutenberg™ electronic
works even without complying with the full terms of this agreement.
See paragraph 1.C below. There are a lot of things you can do with
Project Gutenberg™ electronic works if you follow the terms of this
agreement and help preserve free future access to Project
Gutenberg™ electronic works. See paragraph 1.E below.
1.C. The Project Gutenberg Literary Archive Foundation (“the
Foundation” or PGLAF), owns a compilation copyright in the
collection of Project Gutenberg™ electronic works. Nearly all the
individual works in the collection are in the public domain in the
United States. If an individual work is unprotected by copyright law in
the United States and you are located in the United States, we do
not claim a right to prevent you from copying, distributing,
performing, displaying or creating derivative works based on the
work as long as all references to Project Gutenberg are removed. Of
course, we hope that you will support the Project Gutenberg™
mission of promoting free access to electronic works by freely
sharing Project Gutenberg™ works in compliance with the terms of
this agreement for keeping the Project Gutenberg™ name
associated with the work. You can easily comply with the terms of
this agreement by keeping this work in the same format with its
attached full Project Gutenberg™ License when you share it without
charge with others.

1.D. The copyright laws of the place where you are located also
govern what you can do with this work. Copyright laws in most
countries are in a constant state of change. If you are outside the
United States, check the laws of your country in addition to the terms
of this agreement before downloading, copying, displaying,
performing, distributing or creating derivative works based on this
work or any other Project Gutenberg™ work. The Foundation makes
no representations concerning the copyright status of any work in
any country other than the United States.

1.E. Unless you have removed all references to Project Gutenberg:

1.E.1. The following sentence, with active links to, or other


immediate access to, the full Project Gutenberg™ License must
appear prominently whenever any copy of a Project Gutenberg™
work (any work on which the phrase “Project Gutenberg” appears, or
with which the phrase “Project Gutenberg” is associated) is
accessed, displayed, performed, viewed, copied or distributed:
This eBook is for the use of anyone anywhere in the United
States and most other parts of the world at no cost and with
almost no restrictions whatsoever. You may copy it, give it away
or re-use it under the terms of the Project Gutenberg License
included with this eBook or online at www.gutenberg.org. If you
are not located in the United States, you will have to check the
laws of the country where you are located before using this
eBook.

1.E.2. If an individual Project Gutenberg™ electronic work is derived


from texts not protected by U.S. copyright law (does not contain a
notice indicating that it is posted with permission of the copyright
holder), the work can be copied and distributed to anyone in the
United States without paying any fees or charges. If you are
redistributing or providing access to a work with the phrase “Project
Gutenberg” associated with or appearing on the work, you must
comply either with the requirements of paragraphs 1.E.1 through
1.E.7 or obtain permission for the use of the work and the Project
Gutenberg™ trademark as set forth in paragraphs 1.E.8 or 1.E.9.

1.E.3. If an individual Project Gutenberg™ electronic work is posted


with the permission of the copyright holder, your use and distribution
must comply with both paragraphs 1.E.1 through 1.E.7 and any
additional terms imposed by the copyright holder. Additional terms
will be linked to the Project Gutenberg™ License for all works posted
with the permission of the copyright holder found at the beginning of
this work.

1.E.4. Do not unlink or detach or remove the full Project


Gutenberg™ License terms from this work, or any files containing a
part of this work or any other work associated with Project
Gutenberg™.

1.E.5. Do not copy, display, perform, distribute or redistribute this


electronic work, or any part of this electronic work, without
prominently displaying the sentence set forth in paragraph 1.E.1 with
active links or immediate access to the full terms of the Project
Gutenberg™ License.
1.E.6. You may convert to and distribute this work in any binary,
compressed, marked up, nonproprietary or proprietary form,
including any word processing or hypertext form. However, if you
provide access to or distribute copies of a Project Gutenberg™ work
in a format other than “Plain Vanilla ASCII” or other format used in
the official version posted on the official Project Gutenberg™ website
(www.gutenberg.org), you must, at no additional cost, fee or expense
to the user, provide a copy, a means of exporting a copy, or a means
of obtaining a copy upon request, of the work in its original “Plain
Vanilla ASCII” or other form. Any alternate format must include the
full Project Gutenberg™ License as specified in paragraph 1.E.1.

1.E.7. Do not charge a fee for access to, viewing, displaying,


performing, copying or distributing any Project Gutenberg™ works
unless you comply with paragraph 1.E.8 or 1.E.9.

1.E.8. You may charge a reasonable fee for copies of or providing


access to or distributing Project Gutenberg™ electronic works
provided that:

• You pay a royalty fee of 20% of the gross profits you derive from
the use of Project Gutenberg™ works calculated using the
method you already use to calculate your applicable taxes. The
fee is owed to the owner of the Project Gutenberg™ trademark,
but he has agreed to donate royalties under this paragraph to
the Project Gutenberg Literary Archive Foundation. Royalty
payments must be paid within 60 days following each date on
which you prepare (or are legally required to prepare) your
periodic tax returns. Royalty payments should be clearly marked
as such and sent to the Project Gutenberg Literary Archive
Foundation at the address specified in Section 4, “Information
about donations to the Project Gutenberg Literary Archive
Foundation.”

• You provide a full refund of any money paid by a user who


notifies you in writing (or by e-mail) within 30 days of receipt that
s/he does not agree to the terms of the full Project Gutenberg™
License. You must require such a user to return or destroy all
copies of the works possessed in a physical medium and
discontinue all use of and all access to other copies of Project
Gutenberg™ works.

• You provide, in accordance with paragraph 1.F.3, a full refund of


any money paid for a work or a replacement copy, if a defect in
the electronic work is discovered and reported to you within 90
days of receipt of the work.

• You comply with all other terms of this agreement for free
distribution of Project Gutenberg™ works.

1.E.9. If you wish to charge a fee or distribute a Project Gutenberg™


electronic work or group of works on different terms than are set
forth in this agreement, you must obtain permission in writing from
the Project Gutenberg Literary Archive Foundation, the manager of
the Project Gutenberg™ trademark. Contact the Foundation as set
forth in Section 3 below.

1.F.

1.F.1. Project Gutenberg volunteers and employees expend


considerable effort to identify, do copyright research on, transcribe
and proofread works not protected by U.S. copyright law in creating
the Project Gutenberg™ collection. Despite these efforts, Project
Gutenberg™ electronic works, and the medium on which they may
be stored, may contain “Defects,” such as, but not limited to,
incomplete, inaccurate or corrupt data, transcription errors, a
copyright or other intellectual property infringement, a defective or
damaged disk or other medium, a computer virus, or computer
codes that damage or cannot be read by your equipment.

1.F.2. LIMITED WARRANTY, DISCLAIMER OF DAMAGES - Except


for the “Right of Replacement or Refund” described in paragraph
1.F.3, the Project Gutenberg Literary Archive Foundation, the owner
of the Project Gutenberg™ trademark, and any other party
distributing a Project Gutenberg™ electronic work under this
agreement, disclaim all liability to you for damages, costs and
expenses, including legal fees. YOU AGREE THAT YOU HAVE NO
REMEDIES FOR NEGLIGENCE, STRICT LIABILITY, BREACH OF
WARRANTY OR BREACH OF CONTRACT EXCEPT THOSE
PROVIDED IN PARAGRAPH 1.F.3. YOU AGREE THAT THE
FOUNDATION, THE TRADEMARK OWNER, AND ANY
DISTRIBUTOR UNDER THIS AGREEMENT WILL NOT BE LIABLE
TO YOU FOR ACTUAL, DIRECT, INDIRECT, CONSEQUENTIAL,
PUNITIVE OR INCIDENTAL DAMAGES EVEN IF YOU GIVE
NOTICE OF THE POSSIBILITY OF SUCH DAMAGE.

1.F.3. LIMITED RIGHT OF REPLACEMENT OR REFUND - If you


discover a defect in this electronic work within 90 days of receiving it,
you can receive a refund of the money (if any) you paid for it by
sending a written explanation to the person you received the work
from. If you received the work on a physical medium, you must
return the medium with your written explanation. The person or entity
that provided you with the defective work may elect to provide a
replacement copy in lieu of a refund. If you received the work
electronically, the person or entity providing it to you may choose to
give you a second opportunity to receive the work electronically in
lieu of a refund. If the second copy is also defective, you may
demand a refund in writing without further opportunities to fix the
problem.

1.F.4. Except for the limited right of replacement or refund set forth in
paragraph 1.F.3, this work is provided to you ‘AS-IS’, WITH NO
OTHER WARRANTIES OF ANY KIND, EXPRESS OR IMPLIED,
INCLUDING BUT NOT LIMITED TO WARRANTIES OF
MERCHANTABILITY OR FITNESS FOR ANY PURPOSE.

1.F.5. Some states do not allow disclaimers of certain implied


warranties or the exclusion or limitation of certain types of damages.
If any disclaimer or limitation set forth in this agreement violates the
law of the state applicable to this agreement, the agreement shall be
interpreted to make the maximum disclaimer or limitation permitted
by the applicable state law. The invalidity or unenforceability of any
provision of this agreement shall not void the remaining provisions.

You might also like