6 ปรัชญาการศึกษาในบริบทไทย

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

จากแนวคิดปรัชญาทั้งหมด 6 แนวคิด จงอธิบายว่าแต่ละปรัชญาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโรงเรียน ด้านหลักสูตร ด้านครูผู้สอน ด้าน

กระบวนการเรียนรู้ ด้านผู้เรียน และด้านโรงเรียนได้อย่างไรโดยอธิบายให้เข้าใจอย่างละเอียด ให้สรุปเป็ นตารางโดยระบุคำสำคัญ

ปรัชญา หลักสำคัญ ด้านหลักสูตร ด้านครูผู้สอน ด้านกระบวนการ ด้านผู้เรียน ด้านโรงเรียน


เรียนรู้
1. ปรัชญาการ เน้นการศึกษาเพื่อ หลักสูตรวิชาหลักที่ ครูทำหน้าที่เป็ นผู้ จัดการเรียนการ จัดการเรียนการ มุ่งเน้นการสอน
ศึกษา พัฒนาความรู้ที่ เน้นวิชาการ เช่น ถ่ายทอดความรู้ สอนที่เน้นการให้ สอนที่เน้นให้ผู้ เนื้อหาที่เข้มงวด มี
สารัตถนิยม สำคัญและทักษะ คณิตศาสตร์ เป็ นผู้กำกับดูแลการ ความรู้พื้นฐาน เรียนได้เรียนความ การวัดผลและการ
(Essentialism พื้นฐานในทุกวิชา วิทยาศาสตร์ เรียน และให้ สอนการใช้ รู้พื้นฐาน เรียนการ ทดสอบเป็ นประจำ
) เพื่อเตรียมผู้เรียนให้ ประวัติศาสตร์ และ แนวทางในการเรียน เหตุผลและทักษะ ใช้เหตุผลและ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้
พร้อมกับชีวิตใน ภาษา โดยมีการ รู้ ครูควรมีความรู้ลึก การคิดวิจารณ์ ทักษะการคิด เรียนมีความรู้พื้น
อนาคต ท่องจำและการฝึก ซึ้งในเนื้อหาวิชาที่ วิจารณ์ ฐานที่มั่นคง
ปฏิบัติ สอน
2.ปรัชญาการ มุ่งเน้นการศึกษา หลักสูตรวิชา ครูทำหน้าที่เป็ น การจัดการเรียนรู้ กระตุ้นให้นักเรียน โรงเรียนเป็ นสถาน
ศึกษา เพื่อพัฒนาจิตใจ ศิลปศาสตร์ เน้น ศูนย์กลางของการ ที่เน้นการอภิปราย พัฒนาทักษะการ ที่พัฒนาบุคคลไปสู่
นิรันตรนิยม และสติปัญญาของ ศึกษาในวิชาคลาส เรียนการสอน เสนอ ใช้เหตุผลและสติ คิดวิเคราะห์และ ความสมบูรณ์ ผ่าน
(Perennialism ผู้เรียน โดยเชื่อว่า สิก เช่น ปรัชญา ข้อคิดและแนวคิด ปัญญาในการโต้ การใช้เหตุผล การเรียนรู้ที่มุ่งเน้น
) ความรู้ที่ดีที่สุดคือ ประวัติศาสตร์ ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้น แย้งและพัฒนา ผ่านการอภิปราย การพัฒนาความคิด
ความรู้ที่ยั่งยืน วรรณกรรม เพื่อ การคิดวิเคราะห์และ ความคิดผ่านการ และการตั้งคำถาม และจิตใจ
ตลอดกาล พัฒนาความคิด การโต้แย้ง อ่านและการเขียน ที่สำคัญ
อย่างลึกซึ้ง อย่างลึกซึ้ง
3. ปรัชญาการ เรียนรู้ผ่าน หลักสูตร ครูเป็ นผู้ให้คำ เน้นการฝึกการก ส่งเสริมการเรียนรู้ โรงเรียนเป็ นแหล่ง
ศึกษา ประสบการณ์จริง ประสบการณ์ แนะนำ ระทำ (Learning ให้ผู้เรียนได้ลงมือ สร้างเสริม
พิพัฒนาการ การแก้ปัญหา และ (Experience สร้างบรรยากาศ by Doing) และ ทำ เช่น การทำ ประสบการณ์ชีวิต
นิยม การพัฒนาทักษะ Curriculum) เน้น แบบประชาธิปไตย การแก้ปัญหา ให้ โครงงาน หรือ จริงให้ผู้เรียนได้พบ
(Progressivis การคิดวิจารณ์ โดย การเรียนรู้ผ่าน ในห้องเรียน และ ผู้เรียนเรียนรู้ผ่าน โครงการ การแก้ กับประสบการณ์
m) เชื่อว่าการเรียนรู้ที่ดี กิจกรรมและ กระตุ้นให้ผู้เรียนมี การปฏิบัติและการ ปัญหา และการมี ใหม่ ๆ ที่สอดคล้อง
ที่สุดคือการเรียนรู้ โครงการที่ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในการ ทดลองจริง ส่วนร่วมใน กับการนำไปใช้ใน
ผ่านการกระทำ ส่วนร่วมจริง ตัดสินใจ กิจกรรมต่าง ๆ ชีวิตประจำวัน

ปรัชญา หลักสำคัญ ด้านหลักสูตร ด้านครูผู้สอน ด้านกระบวนการ ด้านผู้เรียน ด้านโรงเรียน


เรียนรู้
4. ปรัชญาการ เน้นการศึกษาเพื่อ หลักสูตรแกนกลาง ครูต้องกระตุ้นให้ ใช้วิธีการลงมือ ผู้เรียนได้เรียนรู้ มุ่งเน้นการฝึกฝน
ศึกษาปฏิรูปนิยม สร้างสังคมใหม่ (Core Curriculum) เด็กเห็นความ กระทำด้วย ผ่านการ ความคิด
(Reconstructionis และแก้ไขปัญหา เน้นการศึกษา จำเป็ นในการ ตนเอง และ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ การ
m) สังคม เชื่อว่าการ ปัญหาสังคม และ สร้างสรรค์สังคม ศึกษาผ่านการทำ กิจกรรมและ วางแผน และการ
ศึกษาคือเครื่องมือ วิชาที่ส่งเสริม ใหม่ โดยใช้ โครงงาน โครงการที่เน้น พัฒนาสังคมใหม่
ในการสร้างการ ความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการแบบ ศึกษาวิทยา การแก้ปัญหา ให้ผู้เรียนพร้อม
เปลี่ยนแปลงทาง และการวิเคราะห์ ประชาธิปไตย ศาสตร์ สังคม และส่ง รับมือกับความ
สังคม ปัญหา ประวัติศาสตร์ เสริมการคิดเชิง เปลี่ยนแปลง
และปรัชญา เพื่อ วิพากษ์
ให้เข้าใจปัญหา
สังคมอย่างลึกซึ้ง
5. ปรัชญาการ เน้นการค้นพบและ หลักสูตรที่เน้นวิชา ครูต้องกระตุ้นให้ เน้นการมีส่วนร่วม นักเรียนได้รับการ โรงเรียนต้องสร้าง
ศึกษา รู้จักตนเอง การ มนุษยศาสตร์ เด็กค้นพบตนเอง และการศึกษา ส่งเสริมให้เรียนรู้ บรรยากาศแห่ง
อัตถิภาวนิยม พัฒนาตนเอง และ (Humanities) เช่น มีส่วนร่วมในการ มนุษย์ในแง่มุม เพื่อค้นพบและ เสรีภาพ ให้ผู้เรียน
(Existentialism) การเลือกเส้นทาง ปรัชญา วรรณคดี เรียนรู้ และเคารพ ต่าง ๆ ไม่เห็น พัฒนาตนเองผ่าน ได้แสดงออกและ
ชีวิตด้วยตนเอง ศิลปะ เพื่อส่งเสริม สิทธิซึ่งกันและกัน ด้วยกับการศึกษา กิจกรรมที่หลาก ค้นพบตนเองใน
โดยให้ความสำคัญ การค้นพบตนเอง ครูควรมีความ แบบท่องจำ เน้น หลาย และแสดง สภาพแวดล้อมที่
กับเสรีภาพและ และการเข้าใจโลก ซื่อสัตย์และจริงใจ การเรียนรู้ผ่าน ความคิดเห็น เสริมสร้างและ
ความรับผิดชอบ ต่อผู้เรียน การมีส่วนร่วม อย่างเสรี ปลอดภัย
ส่วนบุคคล และการปฏิบัติ
จริง
6. พุทธปรัชญา เน้นการพัฒนา หลักสูตรที่เน้นการ ครูเป็ นผู้ชี้แนะ เน้นการปฏิบัติ นักเรียนได้รับการ โรงเรียนเน้นการ
การศึกษา จิตใจ ปฏิบัติธรรม การ แนวทางการปฏิบัติ ธรรมและการ ส่งเสริมให้ได้ ฝึกปฏิบัติธรรม
(Buddhism) การปฏิบัติธรรม ศึกษาพุทธศาสนา ธรรม ศึกษาเชิงปฏิบัติ เรียนรู้ผ่านการ การเรียนรู้เกี่ยวกับ
และ และการพัฒนา สอนและให้คำ การสอนที่มุ่งเน้น ปฏิบัติธรรมและ พุทธศาสนา และ
การเข้าถึงความ จริยธรรม เพื่อให้ผู้ ปรึกษาในการ การปฏิบัติจริง การพัฒนาจิตใจ การนำหลักธรรม
จริงสูงสุด เพื่อให้ผู้ เรียนมีความรู้และ พัฒนาจิตใจและ และการเรียนรู้ ผ่านการฝึกฝน ไปใช้ในชีวิต
เรียนมีจิตใจสงบ ปฏิบัติตามหลัก การเข้าใจธรรมะให้ ผ่านการฝึกฝน และการศึกษาเชิง ประจำวัน
และมีสติปัญญาที่ ธรรม แก่ผู้เรียน และการสะท้อน ปฏิบัติในชีวิต
ได้รับการพัฒนา ผลต่อตนเอง ประจำวัน
แล้ว

นายนำพล โชคศิริ เลขที่ 23 รหัส 676550098-4 ป.บัณฑิต รุ่น 10 ห้อง 3

You might also like