Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

วิทยานิพนธ์

การออกแบบถังบรรจุของเหลวภายใต้ แรงลมและแรงแผ่ นดินไหวของ


ภาคอุตสาหกรรมตามมาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง
DESING OF SEISMIC AND WIND LOADS OF ABOVEGROUND STORAGE
TANK ACCORDING TO THE DPT STANDARDS

นางสาวณัฐธิดา กิรติเสวี

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปี การศึกษา ๒๕๖๖
ใบรับรองวิทยานิพนธ์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปริญญา วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีโครงสร้างเพื่อสิ่ งแวดล้อมสรรค์สร้าง)


สาขาวิชา เทคโนโลยีโครงสร้างเพื่อสิ่ งแวดล้อมสรรค์สร้าง
ภาควิชา วิศวกรรมโยธา
เรื่ อง การออกแบบถังบรรจุของเหลวภายใต้แรงลมและแรงแผ่นดินไหวของภาคอุตสาหกรรมตาม
มาตรฐานกรมโยธาธิ การและผังเมือง
Desing of Seismic and Wind Loads of Aboveground Storage Tank according to the DPT
Standards

นามผู้วิจัย นางสาวณัฐธิดา กิรติเสวี

ได้ พจิ ารณาเห็นชอบโดย


อาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หลัก
(รองศาสตราจารย์ทรงพล จารุ วิศิษฏ์, Ph.D.)
อาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ร่วม
(รองศาสตราจารย์ปิยะ โชติกไกร, Ph.D.)
หัวหน้ าภาควิชา
(รองศาสตราจารย์ศุภวุฒิ มาลัยกฤษณะชลี, Ph.D.)
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รับรองแล้ว

(รองศาสตราจารย์วีระภาส คุณรัตนสิ ริ, Dr.rer.nat.)


คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
วิทยานิพนธ์

เรื่ อง

การออกแบบถังบรรจุของเหลวภายใต้แรงลมและแรงแผ่นดินไหวของภาคอุตสาหกรรมตาม
มาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง

Desing of Seismic and Wind Loads of Aboveground Storage Tank according to the DPT
Standards

โดย

นางสาวณัฐธิดา กิรติเสวี

เสนอ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เพื่อความสมบูรณ์แห่งปริ ญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีโครงสร้างเพื่อสิ่ งแวดล้อม
สรรค์สร้าง)
ปี การศึกษา 2566

บทคัดย่อภาษาไทย
ณัฐธิดา กิรติเสวี : การออกแบบถังบรรจุของเหลวภายใต้แรงลมและแรงแผ่นดินไหวของ
ภาคอุตสาหกรรมตามมาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง ปริ ญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
(เทคโนโลยีโครงสร้างเพื่อสิ่ งแวดล้อมสรรค์สร้าง) สาขาวิชาเทคโนโลยีโครงสร้างเพื่อ
สิ่ งแวดล้อมสรรค์สร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์หลัก: รองศาสตราจารย์ทรงพล จารุ วิศิษฏ์, Ph.D.
ปี การศึกษา 2566

ปั จ จุ บ ั น การออกแบบและก่ อ สร้ า งโครงสร้ า งถั ง เหล็ ก เพื่ อ ใช้ เก็ บ วัต ถุ ดิ บ มี


ความสาคัญอย่างมากในภาคอุตสาหกรรม ซึ่ งมีขอ้ จากัดในการออกแบบทั้งทางด้านสิ่ งแวดล้อม
และด้านวิศวกรรม เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานการออกแบบสากล และ มีความปลอดภัย โดยถัง
ทรงกระบอกแนวตั้ง และแนวนอนมี ม าตรฐานการออกแบบที่ แ ตกต่ า งกัน ปั จ จุ บัน ยัง ไม่ มี
มาตรฐานที่ชดั เจน งานวิจยั นี้ จึงได้ทาการเก็บข้อมูลจากผูอ้ อกแบบและงานก่อสร้างจริ ง เพื่อหา
รู ปแบบถังและแนวทางการออกแบบที่ประหยัดที่สุด

การศึกษาได้แบ่งข้อมูลเป็ น 2 กลุ่ม คือถังทรงกระบอกแนวตั้งบนดินและถังไซโล มี


จานวน 135 ใบ และ ถังทรงกระบอกแนวนอนใต้ดินและบนดินอีกจานวน 80 ใบ สาหรับข้อมูล
ถังแนวตั้งในกลุ่มที่ 1 พิจารณาถังเก็บวัตถุดิบ 3 ประเภท คือ ผงซี เมนต์ น้ า และ น้ ามัน ซึ่ งจาก
การศึกษาน้ าหนักเหล็กเปลือกถังพบว่า ถังที่ปริ มาตรเท่ากัน ถังน้ ามันมีน้ าหนักเหล็กเปลือกถัง
มากที่สุด รองลงมาคือถังเก็บน้ า และถังไซโลเก็บซี เมนต์มีน้ าหนักเหล็กเปลือกถังน้อยที่สุด และ
พบว่าอัตราส่ วนความกว้า งต่ อ ความสู งของถังประมาณ 2 เป็ นค่ าที่ ใ ห้ ผลการออกแบบที่ ใ ช้
น้ าหนักเหล็กเปลือกถังประหยัดที่สุด สาหรับข้อมูลถังแนวนอนในกลุ่มที่ 2 พบว่า สาหรับถังที่มี
ปริ มาตรเท่ากัน โดยรวมแล้วถังเก็บน้ ามันจะใช้เหล็กมากกว่าถังเก็บน้ า และน้ าหนักเหล็กจาก
ส่วนประกอบอื่นๆ ของถังชนิดใต้ดิน มีผลต่อน้ าหนักเหล็กรวมของถังอย่างมีนยั สาคัญ

___________________ ___________________________________ ____ / ____ / ____


ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์หลัก

Nattida Kiratisaevee : Desing of Seismic and Wind Loads of Aboveground Storage Tank
บทคัดย่อภาษาอัง ก ฤษ

according to the DPT Standards. Master of Engineering (Structural Technology for the Built
Environment), Major Field: Structural Technology for the Built Environment, Department of
Civil Engineering.
Thesis Advisor: Associate Professor Songpol Charuvisit, Ph.D.
Academic Year 2023

At present, the design and construction of steel storage tanks is very important in
the industrial sector and factories. The design must follow limitations on both environmental
and engineering factors according to the international design standard codes and for safety.

The collected data of storage tank have been categorized into 2 groups. The first
group is the data of 120 tanks for the Vertical cylinder and Silo including. The second group is
the data of 80 tanks for the above ground and underground Horizontal cylinder tank. From data
group 1, there storage materials of Cement, Water and Oil were considered. It is found that, for
the same size of tank, Oil tank has the heaviest steel shell weight. Silo cement tank is lighter
than Oil tank and Water tank is the lightest. In addition, the diameter to height ratio of the tank
about 2.0 shall give the optimum design for steel shell weight. For the data in group 2, for the
same size of tank, the oil tank shall use heavier steel weight than the water tank in overall
aspect. For the underground tank, the significant weight of the tank is also from other parts of
the tank in addition to the shell weight.

_________________ _______________________________ ____ / ____ / ____


Student's signature Thesis Advisor's signature

กิตติกรรมประก าศ

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานนิ พ นธ์ฉบับนี้ สาเร็ จได้ดว้ ยดีด้วยความอนุ เคราะห์ของ รศ.ดร.ทรงพล จารุ วิศิษ ฏ์


อาจารย์ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์หลัก และ รศ.ดร.ปิ ยะ โชติกไกร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิ พนธ์ร่วม ที่ได้
กรุ ณาให้คาแนะนาสนับสนุนแนวคิดในการดาเนินงานวิจยั ที่ท่านได้กรุ ณาสละเวลาอันมีค่าในการให้
คาแนะนาและแนวคิดในการดาเนิ นงานวิจยั พร้อมทั้งตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่ องและปรับปรุ งให้
วิทยานิพนธ์เล่มนี้ จนมีความสมบูรณ์สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ซึ่งข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่าง
สูง ณ โอกาสนี้

ขอขอบคุณคณาจารย์ ท่านผูท้ รงคุณวุฒิและเจ้าหน้าที่สาขาวิชาเทคโนโลยีโครงสร้างเพื่ อ


สิ่ งแวดล้อมสรรค์สร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ทีไ่่ดก้ รุ ณาประสิ ทธิ์ ประสาทวิชาความรู ้แก่ขา้ พเจ้า
ให้ความช่วยเหลือแนะนาในเรื่ องเรี ยนและการทาวิทยานิพนธ์เล่มนี้สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้่ ยดี

สาหรับการศึกษาครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ขอขอบคุณ อ.สุ นทร์ และ อ.วรวัฒน์ กิรติเสวี ท่านผูเ้ ชี่ยวชาญ
ที่ได้กรุ ณาประสิ ทธิ์ประสาทวิชาความรู ้ และ ทีมออกแบบ บริ ษทั ออสการ์ ดีเวลลอปเมนท์ จากัด คุณ
ภาคภู มิ ศุ ก รสุ ค นธ์ หั ว หน้า และฝ่ ายออกแบบเขี ย นแบบ ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ แ ละค าแนะน าที่ ดี เสมอมา
ตลอดจนจัด หาข้อ มู ล แบบโครงสร้ างถังชนิ ด ต่างๆ รวมถึ ง บริ ษ ัท ชาญนคร เอ็น จิ เนี ย ลิ่ ง รวมถึ ง
CNEMR และ PSP Specialty ที่เอื้อเฟื้ อข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์จนมีความสมบูรณ์ครบถ้วน

สุ ดท้ายนี้ ผูว้ ิจยั ขอกราบขอบคุณ บิดาและมารดา คุณสุ พร กิรติเสวีและสมาชิ กทุกคนใน


ครอบครัว และคุณพรทิ พย์ ศรี สิ ตานนท์ ซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญที่ ผลักดันจนข้าพเจ้าสาเร็ จการศึ กษาและ
สนับสนุนเป็ นกาลังใจทาให้ขา้ พเจ้ามีวนั นี้ ด้วยบุญกุศลที่สร้างไว้ท้ งั ที่ละลึกได้และละลึกไม่ได้ ผูว้ ิจยั
ขออานาจพระศรี รัตนตรัยและสิ่ งศักดิ่่์สิทธิ์ จงบันดาลให้ทุกท่ายมีแต่ความสุ ข พ้นภัยอันตรายทั้ง
ปวง ข้าพเข้าเจ้าจะละลึกถึงอยูเ่ สมอตลอดไป

ณัฐธิดา กิรติเสวี
สารบัญ

หน้ า
.......................................................................................................................................................... ค
บทคัดย่อภาษาไทย ........................................................................................................................... ค
...........................................................................................................................................................ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ .......................................................................................................................ง
กิตติกรรมประกาศ ............................................................................................................................ จ
สารบัญ ............................................................................................................................................. ฉ
สารบัญตาราง ...................................................................................................................................ฌ
สารบัญภาพ ..................................................................................................................................... ญ
เอกสารและสิ่ งอ้างอิง.........................................................................................................................2
ประวัติการศึกษา และการทางาน .......................................................................................................4
บทที่ 1 บทนา ...................................................................................................................................5
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ................................................................................5
1.1.1 ถังทรงกระบอกแนวตั้ง (Vertical Tanks)......................................................................6
1.1.2 ถังทรงกระบอกแนวนอน (Horizontal Tank) ...............................................................6
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา ....................................................................................................7
1.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบถังเหล็กทรงกระบอกรู ปแบบต่างๆ .........................................7
1.2.2 เพื่อจัดทาข้อมูลแคตตาล็อกถังเหล็ก (Catalogue) ........................................................7
1.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบและเปรี ยบเทียบน้ าหนักเปลือกถังเหล็ก..................................7
เทียบกับปริ มาตรความจุถงั แต่ละประเภท ..............................................................................7
1.2.4 เพื่อเป็ นแนวทางในการเลือกใช้ขนาดและประเภทที่เหมาะสม ...................................7

สอดคล้องกับปริ มาตรที่ออกแบบและเป็ นแนวทางในการเลือกขนาดความจุถงั ที่เหมาะสม


กับลักษณะของรู ปแบบโครงสร้าง ..............................................................................7
1.2.5 เพื่อศึกษามาตรฐานการการออกแบบความหนาของโครงสร้างเปลือกถังไซโลฐาน
กรวยใช้วิธีการออกแบบ ความหนาของ ASME Section VIII Division1 และ
Structural Engineering Handbook ..............................................................................7
1.2.6 เพื่อศึกษาประเมินผลการตอบสนองภายใต้แรงกระทาแผ่นดินไหวของของถังบรรจุ
น้ ามัน (Oil Tank).........................................................................................................7
1.3 ขอบเขตการศึกษา ..................................................................................................................7
1.3.1 การศึกษานี้ได้ทาการเก็บรวมข้อมูลการออกแบบงถังเหล็กรู ปแบบต่างๆ
ประกอบด้วยถังทรงกระบอกแนวตั้งจานวน 135 ใบ และถังเหล็กทรงกระบอก
แนวนอนจานวน 80 ใบ เพื่อนามาศึกษาเปรี ยบเทียบและออกแบบที่ปริ มาตรความจุถงั
ต่างๆ จากแบบและรายการคานวณ โดยใช้ขอ้ กาหนดและมาตรฐานการออกแบบ
ตามที่ระบุในรายการคานวณ .......................................................................................7
1.3.2 การศึกษานี้เพื่อเปรี ยบเทียบน้ าหนักเปลือกถังถังเหล็กทรงกระบอกแนวตั้งและ
แนวนอน โดยจัดกลุ่มตามลักษณะโครงสร้างแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ........................7
การออกแบบถังกลุ่มที่ 1 คือโครงสร้างถังเหล็กทรงกระบอกแนวตั้ง ...........................................7
(Aboveground Vertical tank, AG) แบ่งได้ตามลักษณะโครงสร้างอีก 2 ประเภท คือถังบรรจุ
ของเหลววางบนดิน และถังเหล็กยกสู งจากพื้นฐานกรวยหรื อไซโล (Silo) ใช้บรรจุผง
ปูนซีเมนต์,น้ าและน้ ามัน ใช้มาตรฐานการออแบบของ Pressure Vessel, ASME
Section.VIII Division 1 และ AISC (ASD)............................................................................7
การออกแบบถังกลุ่มที่ 2 คือการออกแบบถังเหล็กทรงกระบอกแนวนอน (Horizontal Tank)ซึ่ง
โครงสร้างถังเหล็กบรรจุของเหลว แบ่งได้ตามลักษณะโครงสร้าง 2 ประเภท คือ ถัง
ทรงกระบอกแนวนอนใต้ดิน (Cylindrical Underground Tank) และถังทรงกระบอก
แนวนอนบนดิน (Cylindrical Underground Tank) ใช้บรรจุน้ าและน้ ามัน นิยมใช้ที่สถานี
บริ การน้ ามันและโรงงานอุตสาหกรรม ใช้มาตรฐานการออกแบบ Pressure Vessel, ASME
Section.VIII Division 1, UL-58 ............................................................................................8

4.ถังทรงกระบอกแนวนอนบนดิน (Aboveground Horizontal Tank หรื อ Skid Tank) ใช้บรรจุน้ า


และน้ ามันในสถานีบริ การน้ ามันและภาคอุตสาหกรรม ใช้มาตรฐานการออกแบบ Pressure Vessel,
ASME Section.VIII Division 1, UL-142 ..........................................................................................8
1.3.4 ในการศึกษาเพื่อเปรี ยบเทียบน้ าหนักของเปลือกถังเหล็กแต่ละประเภท ตามมาตรฐาน
การออกแบบและข้อกาหนดที่ระบุในรายการคานวณ .................................................8
1.3.5 การศึกษานี้เป็ นแนวทางในการเลือกใช้ขนาดถังเล็กและใหญ่ให้สอดคล้องกับ
ปริ มาตรที่ออกแบบ รวมถึงประเภทและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางถังที่เหมาะสมกับลักษณะของ
รู ปแบบโครงสร้างถังเหล็กโดยพิจารณา น้ าหนักของเปลือกถังเหล็กตามข้อกาหนดการออกแบบที่
ระบุในรายการคานวณ.......................................................................................................................8
1.3.5 การออกแบบความหนาของโครงสร้างเปลือกถังไซโลฐานกรวยยกสู งจากพื้นโดยใช้วิธีการ
ออกแบบ Shallow Bin Designed โดย Suspensed botton ที่มีมุมลาดเอียงตามมาตรฐานออกแบบ....8
1.3.6 ในการศึกษานี้ใช้วิธีออกแบ One-Foot Method ของ API 650 โดยมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ถัง ขาย ...............................................................................................................................................8
สารบัญตาราง

หน้ า
ตารางที่ 1 ผลการเปรี ยบเทียบน้ าหนักเหล็กเปลือกถังและถังน้ ามัน ..................................................9
ตารางที่ 2 ผลการเปรี ยบเทียบน้ าหนักเหล็กเปลือกถังและถังน้ ามัน ..................................................9
สารบัญภาพ

หน้ า
ภาพที่ 1 ถังบรรจุของเหลวทรงกระบอกแนวตั้ง วางบนดิน...............................................................9
เอกสารและสิ่ง อ้างอิง

เอกสารและสิ่ งอ้างอิง
ประวัติการศึกษา และการท างาน

ประวัติการศึกษา และการทางาน

ชื่ อ-นามสกุล ณัฐธิดา กิรติเสวี


วัน เดือน ปี เกิด 22 กุมภาพันธ์ 2532
สถานที่เกิด จ.กรุ งเทพฯ
ที่อยู่ปัจจุบัน 99/143 ซ.งามวงศ์วาน 44 ถ.งามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร
ประวัติการศึกษา วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต (วิศวกรรมโยธา) (พ.ศ.2560)
วิศวกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต วิศวกรรมโยธา๗ วศ.บ. (พ.ศ.2561)
ประสบการณ์การทางาน Windsor Park and Golf Club (2557-2559)
บริ ษทั ออการ์ ดีเวลลอปเมนท์ จากัด (2559-ปัจจุบนั )
บทที่ 1
บทนา
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ปั จจุ บนั การออกแบบและก่อสร้างโครงสร้างถังเหล็กเพื่อใช้เก็บวัตถุดิบมี ความสาคัญและ
เป็ นที่นิยมใช้อย่างมากในภาคอุตสาหกรรม ซึ่ งมีขอ้ จากัดในการออกแบบทั้งทางด้านสิ่ งแวดล้อม
และด้าน วิศวกรรม เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐานการออกแบบสากลและมีความปลอดภัย โดยถัง
ทรงกระบอกแนวตั้งและแนวนอนมี มาตรฐานการออกแบบที่ แตกต่างกัน ซึ่ งในปั จจุบนั ประเทศ
ไทยยังไม่มีมาตรฐานที่ชดั เจน งานวิจยั นี้ จึงได้ทาการเก็บข้อมูลจากผูอ้ อกแบบและงานก่อสร้างจริ ง
เพื่ อเป็ นแนวทางการศึกษาและเปรี ยบเทียบผลการออกแบบ เพื่ อหารู ปแบบถังและแนวทางการ
ออกแบบที่ประหยัดที่สุด
โดยแบ่งตามลักษณะของโครงสร้างถังออกได้ 2 กลุ่ม คือ ถังทรงกระบอกแนวตั้งบนดินและ
ถังทรงกระบอกแนวตั้งบนดินถังไซโล มีจานวน 135 ใบ และ ถังทรงกระบอกแนวนอนใต้ดินและ
บนดินอีกจานวน 80 ใบ สาหรับข้อมูลถังแนวตั้งในกลุ่มที่ 1 พิจารณาถังเก็บวัตถุดิบ 3 ประเภท คือ
ผงซีเมนต์ น้ า และ น้ ามัน ซึ่งเป็ นที่นิยมนาไปใช้เป็ นโครงสร้างสาหรับจัดเก็บของเหลวเช่น สารเคมี
และ สารอัน ตรายไวไฟ ในภาคอุ ต สาหกรรมโดยเฉพาะอุ ต สาหกรรม ปิ โตรเคมี ที่ ใ ช้ ใ น
กระบวนการผลิ ตน้ ามันเชื้ อเพลิ งและสารเคมี อนั ตรายที่ ใช้สาหรั บ เก็บ น้ ามันเชื้ อเพลิ ง เนื่ องจาก
วัตถุดิบ ที่นามาใช้ในกระบวนการผลิตเช่น ตัวทาละลาย ตัวเร่ งปฏิกิริยา ตัวทาปฏิกิริยา เป็ นสาร
สารเคมี ชนิ ดอันตรายและเป็ นพิ ษ ต่อสิ่ งแวดล้อม หากเกิ ดเหตุที่ ท าให้ถ ังเกิ ดความเสี ยหายท าให้
ของเหลวเกิดการรั่วไหลและแพร่ กระจาย โดยเฉพาะสารเคมีประเภทไวไฟที่มีปริ มาณมาก เสี่ ยงต่อ
การทาให้เกิ ดเพลิ งไหม้ การระเบิ ด และก่ อให้เกิดความเสี ยหายแก่ สิ่งปลูกสร้ างและสิ่ งแวดล้อม
อย่างมาก ดังนั้นถังบรรจุของเหลวในภาคอุตสาหกรรมปิ โตรเคมีเป็ นโครงสร้างที่มีความสาคัญต่อ
ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน โดยเฉพาะการใช้เป็ นสถานที่เก็บรักษาวัตถุอนั ตรายตามกฎหมาย
ว่าด้วยวัตถุอนั ตรายประเภทวัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุมีพิษ อันเป็ นวัตถุประสงค์หลักของการ
ใช้งานถังบรรจุของเหลวที่ใช้สาหรับเก็บและจ่ายของเหลวไวไฟ และควรได้รับการออกแบบอย่าง
เหมาะสมเพื่อให้มีความปลอดภัยตามหลักมาตรฐานสากล
ในงานวิศ วกรรมโยธา มี ก ารออกแบบภาชนะบรรจุ ของเหลวโดยการใช้เหล็ก มาท าเป็ น
โครงสร้างผนังเปลือกถังและถูกนามาใช้กนั อย่างแพร่ หลาย เพื่อทาความเข้าใจลักษณะโครงสร้างถัง
เหล็กในการรับแรงภายใน (Internal Pressure) และการตอบสนองต่อที่แรงภายนอกที่มากระทาเป็ น
สิ่ งสาคัญสาหรับการออกแบบที่ปลอดภัยและประหยัด
6

ในงานวิจยั นี้ โครงสร้างถังเหล็กทรงกระบอกแนวตั้งและแนวนอนนิ ยมใช้ในอุตสาหกรรม


เพื่ อเก็ บ วัตถุ ดิบ เช่ น สารเคมี น้ าเสี ย และผลิ ตภัณ ฑ์ ปิ โตรเลี ย ม ผูอ้ อกแบบส่ วนใหญ่ ท ราบเพี ย ง
คร่ าวๆ ว่าถังเก็บน้ ายกระดับเป็ นแบบที่ประหยัดสุ ด เช่น การศึกษาของ สุ เทพ บูรณะวิทยาภรณ์ [1]
ได้ศึกษาการออกแบบถังน้ าคอนกรี ตเสริ มเหล็กรู ปทรงกระบอกยกระดับ ขนาดต่างๆ เพื่อให้ได้ถงั ที่
มีราคาถูกที่สุด อย่างไรก็ตามการศึกษายังไม่ครอบคลุมถังรู ปแบบต่างๆ เช่น แนวตั้ง แนวนอน บน
ดิน และ ใต้ดิน ซึ่ งชนิดของถังเหล็กงมีลกั ษณะโครงสร้างตามประกาศกระทรวงพลังงาน [2] โดย
การศึกษานี้แบ่งลักษณะของโครงสร้างถังออก 2 กลุ่ม คือ
1.1.1 ถังทรงกระบอกแนวตั้ง (Vertical Tanks)
ในประเทศไทยส่ วนใหญ่ใช้มาตรฐานการออกแบบของ American Petroleum Institute
Standard (API 650) [3] ในการออกแบบถังเหล็กทรงกระบอกแนวตั้งวางบนดิ นบรรจุ ของเหลว
(AGV หรื อ AG) ใช้บรรจุน้ ามัน มีการกาหนดขนาดความหนาต่าสุ ดที่ยอมให้ของแผ่นเหล็กชิ้นส่ วน
โครงสร้างของถัง ซึ่ งในขั้นตอนนี้ ข้ ึนอยู่กับประสบการณ์ ของผูอ้ อกแบบที่ จะกาหนดความหนา
ความสู งของถัง และเส้ น เส้ น ผ่านศู น ย์ก ลางถังให้ไ ด้ป ริ ม าตรที่ ต้องการใช้งาน มี ความแข็งแรง
สามารถต้านทานแรงตามสมมติฐานของผูอ้ อกแบบ ซึ่ งบางครั้งปริ มาตรถังเท่ากันแต่อาจออกแบบ
ได้น้ าหนักเหล็กที่มากกว่าทาให้สิ้นเปลืองกว่า หลังจากได้ขนาดเบื้องต้นของโครงสร้างแล้วจึงทา
การออกแบบตามมาตรฐานข้อ ก าหนดความปลอดภัย และตรวจสอบเงื่ อ นไขการออกแบบ
โครงสร้างเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงที่ยอมให้ (ASD) ตามมาตรฐาน AISC [4] หลังจากออกแบบความ
หนาของถัง AGV และ Silo ทั้ง 2 แบบจะได้น้ าหนั ก เหล็ ก เปลื อกถัง เพื่ อ น าไปเปรี ย บเที ย บผล
การศึกษา
1.1.2 ถังทรงกระบอกแนวนอน (Horizontal Tank)
สาหรับโครงสร้างถังทรงกระบอกแนวนอนใต้ดินและบนดิ น นิ ยมใช้สาหรับเก็บน้ ามัน
และน้ าที่ ส ถานี บ ริ การน้ ามัน ท่าอากาศยาน และ โรงงานอุตสาหกรรม โดยอ้างอิ งมาตรฐานการ
ออกแบบของถังเหล็กรับแรงดัน (Pressure Vessel Handbook) [6], UL58 [7] และ ASME Section
VIII, Division 1 (2004) [8] หั วข้อ UG-27, UG-28 โดยส่ วนใหญ่ ลู ก ค้าเป็ นคนก าหนดขนาด
รู ปแบบและปริ มาตรถังมาให้เบื้องต้น โดยขนาดความกว้างของถังจะปรับเปลี่ยนได้ตามความเห็น
ของวิศวกรผูอ้ อกแบบ
งานวิจยั นี้ ได้ทาการเก็บรวมข้อมูลการออกแบบโครงสร้ างถังทรงกระบอกแนวตั้งจานวน
135 ใบและแนวนอนจานวน 80 ใบ เพื่อนามาศึกษาเปรี ยบเทียบและออกแบบที่ปริ มาตรความจุถงั
ต่างๆ เพื่อหารู ปแบบถังและแนวทางการออกแบบที่ประหยัดและมีความปลอดภัย
7

1.2 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา


1.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบถังเหล็กทรงกระบอกรู ปแบบต่างๆ ตามมาตรฐานการ
ออกแบบสากล
1.2.2 เพื่อจัดทาข้อมูลแคตตาล็อกถังเหล็ก (Catalogue) แบ่งตามขนาดและปริ มาตร
ความจุของถังและประเภทของถังทรงกระบอกแนวตั้งและแนวนอนในประเทศไทยตาม
มาตรฐานการออกแบบสากล
1.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบและเปรี ยบเทียบน้ าหนักเปลือกถังเหล็ก
เทียบกับปริ มาตรความจุถงั แต่ละประเภท
1.2.4 เพื่อเป็ นแนวทางในการเลือกใช้ขนาดและประเภทที่เหมาะสม สอดคล้องกับ
ปริ มาตรที่ออกแบบและเป็ นแนวทางในการเลือกขนาดความจุถงั ที่เหมาะสมกับลักษณะ
ของรู ปแบบโครงสร้าง
1.2.5 เพื่อศึกษามาตรฐานการการออกแบบความหนาของโครงสร้างเปลือกถังไซโลฐาน
กรวยใช้วิธีการออกแบบ ความหนาของ ASME Section VIII Division1 และ Structural
Engineering Handbook
1.2.6 เพื่อศึกษาประเมินผลการตอบสนองภายใต้แรงกระทาแผ่นดินไหวของของถัง
บรรจุน้ ามัน (Oil Tank) โดยวิธีแรงสถิตเทียบเท่า เพื่อศึกษาความสามารถในการรับแรง
แผ่นดินไหวของถังน้ ามัน
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.3.1 การศึ ก ษานี้ ได้ ท าการเก็ บ รวมข้ อ มู ล การออกแบบงถั ง เหล็ ก รู ป แบบต่ า งๆ
ประกอบด้วยถังทรงกระบอกแนวตั้งจานวน 135 ใบ และถังเหล็กทรงกระบอกแนวนอน
จานวน 80 ใบ เพื่อนามาศึกษาเปรี ยบเทียบและออกแบบที่ปริ มาตรความจุถงั ต่างๆ จากแบบ
และรายการคานวณ โดยใช้ขอ้ กาหนดและมาตรฐานการออกแบบตามที่ระบุในรายการ
คานวณ
1.3.2 การศึ กษานี้ เพื่อเปรี ยบเที ยบน้ าหนักเปลื อกถังถังเหล็กทรงกระบอกแนวตั้งและ
แนวนอน โดยจัดกลุ่มตามลักษณะโครงสร้างแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ
การออกแบบ ถั ง กลุ่ ม ที่ 1 คื อ โครงส ร้ า งถั ง เห ล็ ก ท รงกระบ อกแน วตั้ ง
(Aboveground Vertical tank, AG) แบ่งได้ตามลักษณะโครงสร้างอี ก 2 ประเภท คือถัง
บรรจุของเหลววางบนดิน และถังเหล็กยกสู งจากพื้นฐานกรวยหรื อไซโล (Silo) ใช้บรรจุผง
ปู น ซี เมนต์ , น้ าและน้ ามั น ใช้ ม าตรฐานการออแบบของ Pressure Vessel, ASME
Section.VIII Division 1 และ AISC (ASD)
8

การออกแบบถัง กลุ่ ม ที่ 2 คื อ การออกแบบถัง เหล็ ก ทรงกระบอกแนวนอน


(Horizontal Tank)ซึ่ งโครงสร้างถังเหล็กบรรจุของเหลว แบ่งได้ตามลักษณะโครงสร้าง 2
ประเภท คื อ ถังทรงกระบอกแนวนอนใต้ดิน (Cylindrical Underground Tank) และถัง
ทรงกระบอกแนวนอนบนดิน (Cylindrical Underground Tank) ใช้บ รรจุ น้ าและน้ ามัน
นิยมใช้ที่สถานี บริ การน้ ามันและโรงงานอุตสาหกรรม ใช้มาตรฐานการออกแบบ Pressure
Vessel, ASME Section.VIII Division 1, UL-58

4.ถังทรงกระบอกแนวนอนบนดิน (Aboveground Horizontal Tank หรือ Skid


Tank) ใช้บ รรจุ น้ ำและน้ ำมันในสถานีบริการน้ำมันและภาคอุตสาหกรรม ใช้มาตรฐานการ
ออกแบบ Pressure Vessel, ASME Section.VIII Division 1, UL-142

1.3.3 งานวิจยั นี้ จดั ทาข้อมูลแคตตาล็อก (Catalogue) แบ่งตามขนาดและประเภทของถัง


เหล็กทรงกระบอกแนวตั้งและแนวนอนอ้างอิงจากขนาดที่ ใช้ก่อสร้างในประเทศไทย โดยใช้ขอ้
กาหนดการออกแบบตามที่ระบุในรายการคานวณ
1.3.4 ในการศึกษาเพื่อเปรี ยบเทียบน้ าหนักของเปลือกถังเหล็กแต่ละประเภท ตาม
มาตรฐานการออกแบบและข้อกาหนดที่ระบุในรายการคานวณ

1.3.5 การศึ ก ษานี้ เป็ น แนวทางในการเลื อ กใช้ ข นาดถั ง เล็ ก และใหญ่ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ
ปริ ม าตรที่ ออกแบบ รวมถึ งประเภทและขนาดเส้ นผ่ านศู น ย์ก ลางถั งที่ เหมาะสมกับ ลั กษณะของ
รูปแบบโครงสร้างถังเหล็กโดยพิจารณา น้ำหนักของเปลือกถังเหล็กตามข้อกำหนดการออกแบบที่ระบุ
ในรายการคำนวณ

1.3.5 การออกแบบความหนาของโครงสร้างเปลือกถังไซโลฐานกรวยยกสู งจากพื้นโดยใช้


วิธีการออกแบบ Shallow Bin Designed โดย Suspensed botton ที่มีมุมลาดเอียงตามมาตรฐาน
ออกแบบ

1.3.6 ในการศึกษานี้ใช้วิธีออกแบ One-Foot Method ของ API 650 โดยมีขนาดเส้นผ่าน


ศูนย์กลางถัง ขาย

นอกจากนี้การจัดเรี ยงแผ่นเหล็กหลังคาตามข้อแนะนาของ API 650 ยังมี ข้อบกพร่ องที่ตอ้ ง


ปรับปรุ ง เนื่องจากการเกิดช่องว่างของการเรี ยงแผ่นเหล็กหลังคา และไม่มีการเสริ มค้ ายันลมสาหรับ
โครงสร้ า ง ส่ งผลให้ อ ายุ ก ารใช้ง านของถัง สั้ น ลง และยัง ขาดรายละเอี ย ดของถัง ประเภท Self
Support Roof Structure และการเสริ ม Wind Bracing.
9

ตารางที่ 1 ผลการเปรี ยบเทียบน้ าหนักเหล็กเปลือกถังและถังน้ ามัน

ตารางที่ 2 ผลการเปรี ยบเทียบน้ าหนักเหล็กเปลือกถังและถังน้ ามัน

ภาพที่ 1 ถังบรรจุของเหลวทรงกระบอกแนวตั้ง วางบนดินใช้บรรจุนำ้ มันขนำดต่ำงๆ

You might also like