Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

 

     
(Tricarboxylic acid cycle)

จากบทที ๒ ได้ กล่าวไปแล้ วว่าเมือกลูโคสเข้ าสูว่ ิถีไกลโคไลซิส เพือสร้ างพลังงาน หรื อ ATP กลูโคส
จะถูกเปลียนเป็ นไพรู เว็ตเป็ นผลผลิตสุดท้ าย ไพรู เว็ตทีเกิดขึ +นมีวิถีเมตาบอลิซมึ ได้ หลายวิถีปฏิกิริยา ในสภาวะ
ทีไม่มีออกซิเจน หรื อออกซิเจนไม่เพียงพอ ไพรู เว็ตจะเข้ าสูว่ ิถีการหมักเป็ นแอลกอฮอล์ หรื อแลคเตท พลังงานที
เกิดขึ +นจากวิถีเมตาบอลิซมึ นี +มีปริ มาณน้ อย ในสภาวะทีมีออกซิเจน กลูโคสจะถูกออกซิไดซ์อย่างสมบูรณ์ได้
คาร์ บอนไดออกไดซ์เป็ นผลผลิต กระบวนการสลาย
สารอาหารในสภาวะทีมีออกซิเจนบางครัง+ เรี ยกว่า
“” (Respiration) ความหมายในเชิงสรี รวิทยา
หรื อความหมายในมุมกว้ าง การหายใจหมายถึง การ
ใช้ ออกซิเจนของสิงมีชีวิตหลายเซลล์ (Multicellular
organism’s uptake of O2) และปลด ปล่อยคาร์ บอนได-
ออกไซด์ออกมา นักชีวเคมี (Biochemist) และนักเซลล์
วิทยา (Cell biologist) มีการใช้ คํา “” ในมุมที
แคบกว่านัน คือ กระบวนการระดับเซลล์ทีเซลล์มีการ
ใช้ ออกซิเจน และผลิตคาร์ บอนไดออกไซด์ จึงมีการ
เรี ยกกระบวนการนี +ใหม่วา่ “ ” หรื อ
“Cellular respiretion”
การหายใจระดับเซลล์เกิดขึ +น ๓ ขันตอน +
หลักๆ (รู ป ๓.๑) คือ ขันแรก + โมเลกุลของสารอาหารที
ให้ พลังงาน (กลูโคส กรดไขมันและกรดอมิโนบาง
ชนิด) ถูกออกซิไดซ์ให้ เป็ นสารทีมีคาร์ บอน ๒ อะตอม
ทีอยู่ในรู ปของหมูอ่ ะเซ็ทติล (Acetyl group) ของอะเซ็ท
ติลโคเอนไซม์เอ (Acetyl–coenzyme A หรื อ Acetyl–  . แสดงการสลายสารอาหาร (โปรตีน ไขมัน
CoA) ขันที + สองหมูอ่ ะเซ็ทติลเข้ าสูว่ ฎั จักรกรดซิตริ ก และคาร์ โบไฮเดรท) ในการหายใจระดับเซลล์ ซึง#
(Citric acid cycle) หรื อวัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก
ประกอบด้ วย ๓ ขัน' ขันที ' # ๑ การรวมกับ
ออกซิเจน (Oxidation) ของกรดไขมัน กลูโคสและ
(Tricarboxylic acid cycle) หรื อทีเรารู้ จกั ในอดีตคือ วัฎ กรดอมิโนบางชนิดได้ อะเซ็ตติลโคเอ ขันที ' # ๒ การ
จักรเคร็ บ (Kreb’s cycle) เอนไซม์ตา่ งๆ ในวัฏจักร รวมของหมู อ
่ ะเซ็ ต ติ ล กับ ออกซิเ จนในวั
ฎ จักรกรด
ซิตริ กซึง# ประกอบด้ วย ๔ ขันตอนและปลดปล่
' อย
ออกซิไดซ์สารคาร์ บอนสองอะตอมให้ เป็ นคาร์ บอนได-
ออกไซด์ (CO2) ส่วนพลังงานทีปลดปล่อยออกมาอยู่
ออกซิเจนออกมา ขันที ' # ๓ อิเล็กตรอนถูกนําพา
โดย NADH และ FADH2 ถูกนําเข้ าสูไ่ มโตคอนเด
ในรู ปของตัวพาอิเล็กตรอนทีอยู่ในรู ปทีถกู รี ดิวซ์ ซึง รี ยและห่วงโซ่การถ่ายเทอิเล็กตรอนที#สดุ ได้ นํ 'า
ได้ แก่ NADH และ FADH2 ขันที + สาม โคเอนไซม์ทีอยู่ใน และ ATP ออกมา
+ กออกซิไดซ์ทําให้ ได้ อิเล็กตรอนและโปรตอน (Proton: H+) อิเล็กตรอน
รู ปรี ดิวซ์ (ตัวพาอิเล็กตรอน) เหล่านันจะถู
ถูกถ่ายเทให้ ออกซิเจน ซึง ถือได้ วา่ เป็ นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ าย (Final electron acceptor) โดยผ่านโมเลกุล
ลําเลียงอิเล็กตรอนทีสง่ ผ่านกันเป็ นทอดๆ (บางครัง+ เรี ยกว่า “Respiratory chain”) การถ่ายเทอิเล็กตรอนนี +ทําให้
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๘๔

มีการปลดปล่อยพลังงานออกมาในรู ปของ “ATP” เรี ยกการสร้ างพลังงานด้ วยกระบวนการว่า “Oxidative


phosphorylation” กระบวนการหายใจของเซลล์ มีความสลับซับซ้ อนกว่าวิถีไกลโคไลซิสมาก
ในบทนี +จะได้ กล่าวถึงการเปลียนไพรู เว็ตไปเป็ นหมูอ่ ะเซ็ทติล หลังจากนันจึ + งเข้ าสูว่ ฎั จักรกรดซิตริ ก
+ อเพือให้ เป็ นเกียรติแก่นกั วิทยาศาสตร์ ผ้ คู ้ นพบชือ Sir Hans Krebs) เคร็ บเป็ นผู้ที
หรื อวัฎจักรเคร็ บ (ซึง ตังชื
สามารถอธิบายให้ ความกระจ่างเกียวกับปฏิกิริยาในวัฏจักร และเอนไซม์ทีเร่ งปฏิกิริยาการสังเคราะห์สารมัธ
ยันต์ทีทําให้ วฎั จักรเคร็ บสามารถดําเนินต่อไปได้ วัฏจักรเคร็บถือได้ วา่ เป็ นจุดศูนย์กลาง หรื อ “Hub” ในวิถีเม
ตาบอลิซมึ ของเซลล์ ทังวิ + ถีแคทตาบอลิซมึ และอะนาบอลิซมึ และมีความเกียวข้ องอย่างใกล้ ชิดกับวิถีเมตาบอ
ลิซมึ ต่างๆ
  (Overview of the Citric Acid Cycle)
หน้ าทีทีสําคัญของวัฎจักรกรดซิตริ กในกระบวนการเปลียนโมเลกุลทีมีพลังงานให้ เป็ น ATP
คือ อะไร โมเลกุลทีให้ พลังงาน (Fuel molecules) คือสารประกอบคาร์ บอน (Carbon
compound) ทีเมือถูกออกซิไดซ์ได้ และมีการสูญเสียอิเล็กตรอนออกไป วัฏจักรกรดซิตริ กจึง
ประกอบด้ วยชุดของปฏิกิริยาออกซิเดชัน -รี ดกั@ ชัน (Series of oxidation–reduction reaction)
Hans-Krebs ทําให้ เกิดปฏิกิริยารวมตัวกับออกซิเจน (Oxidation) ของอะเซ็ทติลและเกิดคาร์ บอนไดออก-
1900-1981
ไซด์ออกมา ๒ โมเลกุล รู ปแบบของปฏิกิริยาในวัฏจักรกรดซิตริ กแสดงดังรู ป ๓.๒
สารประกอบ ๔ คาร์ บอนอะตอม (Four–carbon compouind) คือ ออกซาโลอะซีเตท (Oxaloacetate) รวมตัว
กับอะเซ็ทติลทีมี ๒ คาร์ บอนอะตอม (Two–carbon acetyl unit) เกิดเป็ นกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิกทีมี ๖ คาร์ บอน
อะตอม (Six-carbon tricarboxylic acid) ซึง ก็คือ ซิเตรท (Citrate) ซิเตรทเกิดปฏิกิริยาดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน ดึงเอาหมู่
คาร์ บ๊อกซิลออก (Decarboxylation) เปลียนเป็ นสารประกอบ ๕ คาร์ บอนอะตอม (α–คีโตกลูตาเรต: α–
Ketoglutarate) จากนัน+ α–คีโตกลูตาเรตถูกออกซิไดซ์ดงึ เอาหมูค่ าร์ บ๊อกซิลออกเปลียนเป็ นสารประกอบ ๔
คาร์ บอนอะตอม (Four–carbon compound) หรื อซัคซิเนต (Succinate) จากนันซั + คซิเนตถูกเปลียนเป็ นออก
ซาโลอะซีเตรท นัน หมายความว่า สารประกอบ ๒ คาร์ บอนอะตอมเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กในรูปของหน่วย-
อะเซ็ทติล (Acetyl unit) และมีการปลดปล่อยคาร์ บอนออกมา ๒ อะตอมในรู ปของคาร์ บอนไดออกไซด์ ๒
โมเลกุล ไฮไดร์ ไอออน (Hydride ions) ๓ ไอออน (H:_) (๖ อิเล็กตรอน หรื อ ๓ คูอ่ ิเล็กตรอน) ถูกถ่ายทอดไปยัง
โมเลกุลนิโคตินาไมด์อะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ (Nicotinamide adenine dinucleotide) หรื อ “NAD+” ในขณะที
ไฮโดรเจนอะตอม ๑ คู่ (เนืองจากเป็ น ๒ อิเล็กตรอน หรื อ อิเล็กตรอน ๑ คู)่ ถูกถ่ายทอดไปยังโมเลกุลของฟลา
วินอะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ (Flavin adenine dinucleotide) หรื อ “FAD” ดังนันหน้ + าทีของวัฏจักรกรดซิตริ ก คือ การ
เก็บเกียวอิเล็กตรอนพลังงานสูง (High-energy electron) จากสารคาร์ บอนทีให้ พลังงาน (Carbon fuel) มี
ข้ อสังเกตคือ วัฏจักรกรดซิตริ กเองไม่ได้ เป็ นวัฏจักรทีสร้ างพลังงาน หรื อ ATP และออกซิเจน ดังรู ป ๓.๓

(Overview of the Citric Acid Cycle)


 . แสดงภาพรวมของวัฏจักรกรดซิตริ ก

อะตอม (2–carbon unit) และให้


วัฏจักรนี ' ออกซิไดซ์หน่วยคาร์ บอน ๒
คาร์ บอนไดออกไซด์ ๒ โมเลกุล GTP ๑

(๘ อิเล็กตรอน) ในรูปของ NADH และ


โมเลกุลและอิเล็กตรอนพลังงานสูง ๔ คู่
FADH2
๘๕ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

วัฏจักรกรดซิตริ กทําให้ มีการปลดปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากอะเซ็ทติลโคเอ (Acetyl CoA) หรื อ


หน่วยอะเซ็ทติล และใช้ อิเล็กตรอนทีถกู ปลดปล่อยออกมานี +ไปใช้ ในการสร้ าง NADH และ FADH2 ในขณะทีวิถี
ออกซิเดทีฟฟอสโฟรี เลชัน อิเล็กตรอนเหล่านี +จะถูกปล่อยออกมาอีกครัง+ ในปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Reoxidation)
ของ NADH และ FADH2 อิเล็กตรอนทีถกู ปลดปล่อยในครัง+ นี +มีการถ่ายทอดไปตามโปรตีนทีอยู่บนเยือหุ้มไมโต
คอนเดรี ยหลายชนิด (Series of membrane proteins) (เราเรี ยกว่า ห่วงโซ่การลําเลียงอิเล็กตรอน) ทําให้ เกิด
ความแตกต่างทางความเข้ มข้ นของโปรตอน (Proton gradient) ระหว่างเยือหุ้มไมโตคอนเดรี ย หลังจากนัน+
โปรตอนเหล่านี +มีการไหลกลับเข้ าภายในเมตริ กของไมโตคอนเดรี ยผ่าน “ATP synthase” ทําให้ มีการสร้ าง
“ATP” จาก “ADP” และฟอสเฟตอนินทรี ย์ (Inorganic phosphate) เพราะฉะนันวั + ฏจักรกรดซิตริ กจึงต้ องการ
ออกซิเจนโดยอ้ อม เนืองจากออกซิเจนเป็ นตัวรับอิเล็กตรอนในขันสุ + ดท้ ายของห่วงโซ่การถ่ายทอดอิเล็กตรอน
เพือสร้ าง NAD และ FAD
+

 . แสดงการหายใจระดับเซลล์ (Cellular respiration) วัฏจักรกรดซิตริ กขันแรกของการหายใจระดั


ดึงอิเล็กตรอนพลังงานสูงจากสารประกอบคาร์ บอนที$มาจากสารอาหาร (Carbon fuel) (ซ้ าย) อิเล็กตรอนเหล่านี ไป
 บเซลล์ เป็ นการ

รี ดวิ ซ์ O2 มีผลทําให้ เกิดความแตกต่างทางความเข้ มข้ นของโปรตอน (Proton gradient) (กลาง) ซึง$ ใช้ ในการสร้ าง
“ATP” (ขวา) การรี ดวิ ซ์ O2 และสังเคราะห์ ATP คือ กระบวนการออกซิเดทีฟฟอสโฟรี เลชัน$ (Oxidative
phosphorylation)
วัฏจักรกรดซิตริ กเมือทํางานร่ วมกับกระบวนการออกซิเดทีฟฟอสโฟรี เลชัน คือ หนทางหลักทีเซลล์
ใช้ ในการสร้ างพลังงานในภาวะทีมีออกซิเจน ในเซลล์ของมนุษย์วิถีทางนี +สามารถสร้ างพลังงานให้ กบั เซลล์ได้
มากกว่า ๙๕ เปอร์ เซ็นต์ การสร้ างพลังงานด้ วยวิธีนี +ถือได้ ว่า เป็ นวิธีการสร้ างพลังงานทีมปี ระสิทธิภาพมาก
เนืองจากเพียงโมเลกุลของสารอาหารให้ พลังงานเพียงเล็กน้ อย สามารถถูกนํามาเปลียนเป็ น NADH และ
FADH2 ปริ มาณมาก มีข้อสังเกตจากรู ป ๓.๒ คือ โมเลกุลของสาร ๔ คาร์ บอนอะตอม (ออกซาโลอะซีเตท) ซึง
เป็ นการเริ มต้ นขันแรกของวั
+ ฏจักรกรดซิตริ กถูกสร้ างขึ +นมาใหม่หลังจากทีวฏั จักรนี +ผ่านพ้ นไป ๑ รอบ ออก
ซาโลอะซีเตทจึงเป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา โดยมีสว่ นร่ วมในปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของหมูอ่ ะเซ็ทติลแต่ตวั มันเองถูก
สร้ างขึ +นมาใหม่ (Regenerate) ดังนันออกซาโลอะซี
+ เตท ๑ โมเลกุลสามารถมีสว่ นในปฏิกิริยาออกซิเดชัน กับอะ-
เซ็ทติลได้ หลายโมเลกุล
   !  (Formation of Acetyl Coenzyme from Pyruvate)
ในสิงมีชีวิตทีใช้ ออกซิเจน กลูโคสและนํ +าตาลชนิดอืนๆ กรดไขมันและกรดอะมิโนอืนๆ ถูกออกซิไดซ์
ไปเป็ นคาร์ บอนไดออกไซด์และนํ +าผ่านวัฏจักรกรดซิตริ กและการหายใจระดับเซลล์ หรื อกระบวน การออกซิเด
ทีฟฟอสโฟรี เลชัน ก่อนทีสารมัธยันต์ตา่ งๆ รวมทังสารมั
+ ธยันต์จากวิถีไกลโคไลซิสจะเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ ก สาย
โซ่คาร์ บอน (Carbon skeletons) ของนํ +าตาลและสายโซ่คาร์ บอนของกรดไขมันจะต้ องถูกสลายให้ เป็ นหมู่อะ-
เซ็ทติลของอะเซ็ทติลโคเอเสียก่อน นัน คือ สารมัธยันต์ซงึ เป็ นสารประกอบคาร์ บอนจากวิถีไกลโคไลซิสจะต้ อง
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๘๖

ถูกเปลียนเป็ น “  ” (Acetyl CoA) อะเซ็ทติลโคเอเป็ นสารประกอบทีวฏั จักรกรดซิตริ กยอมรับให้ เข้ า
สูว่ ฏั จักรได้ ดังนันโมเลกุ
+ ลสารอาหารทุกชนิดทีต้องเข้ าสู่วฏั จักรกรดซิตริ กต้ องถูกเปลียนแปลงให้ เป็ นอะ-เซ็ท
ติลโคเอเสียก่อน ในทํานองเดียวกันกรดอะมิโนหลายชนิดต้ องถูกเปลียนให้ เป็ นอะเซ็ทติลโคเอเสียก่อนจึงจะ
สามารถเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กได้ นอกจากนี +กรดอะมิโนบางชนิดยังอาจเปลียนแปลงเป็ นสารมัธยันต์ชนิดอืน
ในวัฏจักรกรดซิตริ กจึงจะสามารถเข้ าสูว่ ฏั จักรได้ อย่างไรก็ตามในลําดับต่อไปจะเน้ นกล่าวถึงการเปลียน
แปลงไพรู เว็ตจากวิถีไกลโคไลซิสให้ เป็ นอะเซ็ทติลโคเอ (ถูกออกซิไดซ์) และคาร์ บอนไดออกไซด์โดยเอนไซม์ !
 " # " $   (Pyruvate dehydrogenase complex) ซึง เป็ นกลุม่ เอนไซม์ ๓ ชนิดทีอยู่ในไมโตคอน
เดรี ยของเซลล์สิงมีชีวิตชันสู
+ งและไซโตพลาสซึมของเซลล์สิงมีชีวิตชันตํ + า (Prokaryotic cells)
หมูอ่ ะเซ็ทติล (Acetyl group) เข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กด้ วยการเปลียนเป็ นอะเซ็ทติลโคเอนไซม์เอ
(Acetyl–SCoA หรื อ Acetyl CoA) (รู ป ๓.๔) โคเอนไซม์เอ (Coenzyme A : CoASH หรื อ CoA) ประกอบด้ วยหมู่
เบต้ าเมอร์ แคปโตเอทิลามีน (β–mercaptoethylamine group) ทีจบั กับกรดแพนโทเธนิก (Pantothenic acid)
ด้ วยเอไมด์ (Amide linkage) ซึง จับส่วน ๓’–ฟอสโฟอะดีโนซีน (3’–Phosphoadenosine moiety) ด้ วย “Pyrophos-
phate bridge” หมูอ่ ะเซ็ทติลของอะเซ็ทติลโคเอจับกับส่วนซัลไฮดริ ล (Sulfhydryl portion) ของหมูเ่ บต้ าเมอร์
แคปโตเอทิลามีนด้ วยพันธะไธโอเอสเทอร์ (Thioester bond) ดังนันโคเอ + (CoA) จึงทําหน้ าทีเป็ นตัวพาหมูอ่ ะเซ็ท
ติล (Acetyl group carrier) หรื อ ตัวพาหมูเ่ อซิล (Acyl group carrier) อืนๆ (A ในสัญลักษณ์ CoA คือ กระบวนการ
นําหมูอ่ ะเซ็ทติลเข้ าสูส่ ารประกอบ)

 . แสดงโครงสร้ างของโคเอนไซม์เอ (Coenzyme A: CoA) หมู่ไฮดร็ อกซิลของกรดแพนโทเธนิกเชื$อมต่อกับ ADP


ด้ วยพันธะฟอสเฟตเอสเทอร์ (Phosphate ester bond) และหมู่คาร์ บ๊อกซิลยึดติดกับเบต้ าเมอร์ แคปโตเอทิลามีนใน
Amide linkage หมู่ไฮดร๊ อกซิลที$ตําแหน่ง 3’ ของ ADP มีหมู่ฟอสเฟตที$ไม่ปรากฏใน ADP หมู่ซลั ไฮดริ ล (–SH) ของ
เมอร์ แคปโตเอทิลามีนสร้ างพันธะไธโอเอสเทอร์ (Thioester) กับอะซีเตรทในอะเซ็ทติลโคเอนไซม์เอ (Acetyl CoA)
ภาพล่างซ้ าย

อะเซ็ทติลโคเอเป็ นสารประกอบพลังงานสูง (High–energy compound) พลังงานอิสระสําหรับ


ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสพันธะไธโอเอสเทอร์ มีคา่ ประมาณ –๑๓.๕ กิโลจูนต่อโมล (kJ/mol) ทําให้ ปฏิกิริยานี +คาย
พลังงานมากกว่าปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส ATP เล็กน้ อย (~๑ กิโลจูนต่อโมล)
ปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์คือ ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟดีคาร์ บ๊อก
ซิเลชัน (Oxidative decarboxylation) ปฏิกิริยานี +เป็ นกระบวนการออกซิเดชัน ทีผนั กลับไม่ได้ (Irreversible
oxidation process) โดยหมูค่ าร์ บ๊อกซิล (Carboxyl group) ถูกย้ ายออกจากไพรู เว็ตเกิดเป็ นกาซคาร์ บอนได-
ออกไซด์และโมเลกุลทีเหลือซึง มี ๒ คาร์ บอนอะตอมเปลียนเป็ นหมูอ่ ะเซ็ทติลของอะเซ็ทติลโคเอ ดังรู ป ๓.๕
ปฏิกิริยานี +มี NADH เกิดขึ +น ทําให้ เกิดไฮไดรไอออน (:H+) ซึง จะถูกถ่ายทอดเข้ าสูห่ ่วงโซ่การถ่ายทอดอิเล็กตรอน
๘๗ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

(ในขันตอนการหายใจระดั
+ บเซลล์ตอ่ ไป) (รู ป ๓.๑) ซึง ลําเลียงอิเล็กตรอน ๑ คู่ (๒ อิเล็กตรอน) ไปยังตัวรับคือ
ออกซิเจน การลําเลียงอิเล็กตรอนจาก NADH ไปยังออกซิเจนนี +ทีสดุ ให้ พลังงาน ๒.๕ ATP ต่อการลําเลียง
อิเล็กตรอน ๑ คู่

 . แสดง Overall reaction ที$ถูกเร่ งโดยเอนไซม์ไพรู เวตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ (Pyruvate


dehydrogenase complex; PDC) มีโคเอนไซม์เข้ าร่ วมปฏิกิริยานี  ๕ ชนิด และมีเอนไซม์ ๓ ชนิด
ที$รวมกันเป็ นเอนไซม์คอมเพล็กซ์

ปฏิกิริยาการกําจัดไฮโดรเจน (Dehydrogenation) ร่ วมกับปฏิกิริยาการกําจัดคาร์ บอนไอออกไซด์


(Decarboxylaion) ของไพรู เวตซึง ทําให้ ได้ หมูอ่ ะเซ็ทติลของอะเซ็ทติลโคเอ (ดังสมการในรู ป ๓.๕) ต้ องอาศัย
ปฏิกิริยาทีเกิดต่อเนืองกันจากเอนไซม์ ๓ ชนิดทีแตกต่างกันและโคเอนไซม์ หรื อหมูพ่ ร็ อสเธติก (Prosthetic
groups) ทีแตกต่างกัน ๕ ชนิด ได้ แก่ ไธอะมีนไพโรฟอสเฟต (Thiamine pyrophosphate: TPP) ฟลาวินอะดีนีน
ไดนิวคลีโนไทด์ (Flavin adenine dinucleotide; FAD), โคเอนไซม์เอ (Coenzyme A) (บางครัง+ CoA อาจเขียนย่อๆ
เป็ น CoA–SH เพือเน้ นบทบาทของหมูซ่ ลั ไฮดริ ล; –SH) นิโคตินาไมด์อะดีนีนไดนิวคลีโอไทด์ (Nicotinamide
adenine dinucleotide; NAD) และไลโปเอต (Lipoate) สําหรับในมนุษย์ยงั มีองค์ประกอบทีจําเป็ นต่อระบบนี +คือ
วิตามินอีก ๔ ชนิด ซึง ได้ แก่ ไธอะมีน (Thiamine) (ใน TPP) ไรโบฟลาวิน (Riboflavin) (ใน FAD) ไนอะซีน (Niacin)
(ใน NAD) และแพนโทธีเนต (Pantothenate) (ใน CoA)
!  " # " $    (Pyruvate Dehydrogenase Multienzyme Complex; PDC)
โดยทัว ไปมัลติเอนไซม์คอมเพล็กซ์ (Multienzyme complex) คือ กลุม่ ของเอนไซม์ทีรวมกลุม่ กันแบบ
นอนโควาเลนซ์ (Noncovalently associated enzymes) เพือเร่ งปฏิกิริยาทีเป็ นลําดับต่อเนืองกันอย่างน้ อย ๒
ขันตอนหรื
+ อมากกว่า PDC ประกอบด้ วยเอนไซม์ ๓ ชนิดคือ ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส (Pyruvate dehydrogenase:
E1) ไดไฮโดรไลโปอิลทรานส์อะเซ็ตทิเลส (Dihydrolipoyl transacetylase: E2) และเอนไซม์ไดไฮโดรไลโปอิลดี
ไฮโดรจีเนส (Dihydrolipoyl dehydrogenase: E3) (ดังรู ป ๓.๖)

 . โครงสร้ างของไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์จาก Azotobacter vinelandii a) คือแกนกลางของ


คอมเพล็กซ์ (Core) ประกอบด้ วย ๒๔ E2 chain b) คือ แบบจําลองคอมเพล็กซ์ทงหมด
แกนกลางคือ ๑๒ E1 dimer (สีนํ าเงิน) และ 6 E3 dimer (สีเขียว) แขนที$แกว่งได้ ไลโปเอไมด์
ั สิ$งที$อยู่รอบๆ

(Lipoamide swinging arm) ของ E2 คือ สีส้ม โครงสร้ างทังหมดประกอบด้


สาย (60 individual polypeptide chains) ในขณะที$แต่ละกลุ่ม E1 และ E3 อยู่กนั เป็ นไดเมอร์
 วยสายโพลีเปปไทด์ ๖๐

แบบจําลองในรู ป (b) มีขนาดใหญ่กว่าแบบจําลอง (a) โดยมีแกน E2 protein แสดงด้ วยสีชมพู


บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๘๘

 . แสดงปฏิกิริยา ๕ ปฏิกิริยาของ PDC E1 (Pyruvate dehydrogenase) ประกอบด้ วย TPP


และเร่ งปฏิกิริยาที$ ๑ และ ๒ E2 (Dihydrolipoyl transacetylase) ประกอบด้ วย Lipoamide
และเร่ งปฏิกิริยาที$ ๓ E3 (Dihydrolipoyl dehydrogenase) ประกอบด้ วย FAD และ “Redox-
active disulfide” และเร่ งปฏิกิริยาที$ ๔ และ ๕

การเปลียนไพรู เว็ตเป็ นอะเซ็ทติลโคเอเกิดขึ +นจากปฏิกิริยา ๕ ปฏิกิริยา ดังรู ป ๓.๗ และกลไกการ


เกิดปฏิกิริยาแสดงดังรู ป ๕.๘

 . แสดงปฏิกิริยาออกซิเดทีฟดีคาร์ บ๊อก


ซิเลชัน ของไพรูเว็ตไปเป็ นอะเซ็ทติลโคเอ
Oxidized Oxidized
lipoyllysine lipoyllysine
โดยเอนไซม์ไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนสคอม

ปฏิกิริยากับไธอะมีนไพโรฟอสเฟต (TPP)
เพล็กซ์ ปฏิกิริยาขั (นที ๑ ไพรูเว็ตทํา

ของไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนส (E1) เกิด


Hydroxyethyl derivative ปฏิกิริยาขันที ( 

หมูอ่ ะเซ็ทติลจาก TPP ไปยัง Oxidized


๒ มีการย้ ายอิเล็กตรอน ๑ คูแ่ ละ

form ของ Lipoyllysyl group ของเอนไซม์


(Dihydrolipoyl transacetylase: E2) เกิด
เป็ น Acetyl thioester ของ Reduced
lipoyl group ปฏิกิริยาขั (นที ๓ เป็ นการ
Reduced ย้ ายพันธะไธโอเอสเทอร์ จาก E2 ไปยัง
lipoyllysine CoA ได้ อะเซ็ทติลโคเอและ “Reduced
form” (Disulfide) ของ Lipoyl group ขั (น
ที ๔ ไดไฮโดรไลโปอิลดีไฮโดรจีเนส (E3)

Reduced lipoyl group ของ E2 ไปยัง


ทําให้ มีการย้ าย ๒ ไฮโดรเจนอะตอมจาก

FAD ของ E3 ทําให้ “Lipoyllysyl group”


ของ E2 กลับไปอยูใ่ นรูป “Oxidized
form” ปฏิกิริยาขั (นที ๕ “Reduced
FADH2” ของ E3 ย้ ายไฮไดรไอออนไปยัง
NAD+ เกิดเป็ น NADH ทําให้ เอนไซม์คอม
เพล็กซ์พร้ อมสําหรับการทําปฏิกิริยาใน
รอบต่อไป
รู ป ๓.๘ แสดงขันตอนของทั
+ ง+ ๕ ปฏิกิริยาในการเปลียนไพรู เว็ตไปเป็ นอะเซ็ทติลโคเอ โดยการทํางาน
ของเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ หรื อ “PDC” ปฏิกิริยาขันที +  ๑ เป็ นปฏิกิริยาทีคล้ ายคลึงกับปฏิกิริ-
ยาทีถกู เร่ งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีคาร์ บ๊อกซิเลส (Pyruvate decarboxylase) อะตอมคาร์ บอนตําแหน่งที
๘๙ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

๑ (C1) ของไพรู เว็ตถูกย้ ายออกจากโมเลกุลในรู ปของคาร์ บอนไดออกไซด์ และอะตอมคาร์ บอนตําแหน่งที ๒


(C2) ได้ รับอิเล็กตรอน (Oxidation state) ถูกยึดติดกับไธอามีนไพโรฟอสเฟต (Thiamine pyrophosphate: TPP)
(เป็ นหมูไ่ ฮดร๊ อกซีเอธทิล (Hydroxyethyl group)) ปฏิกิริยาขันที+  ๒ หมูไ่ ฮดร๊ อกซีเอธทิลถูกออกซิไดซ์ไปเป็ นกรด
คาร์ บ๊อกซิลิก (Carboxylic acid) หรื ออะซีเตรท (Acetate) ในปฏิกิริยาออกซิเดชัน ขันตอนนี + + อิเล็กตรอน ๒ ตัว
หรื อ ๑ คูถ่ กู ย้ ายออกมีผลไปรี ดิวซ์พนั ธะ –S–S– ของหมูไ่ ลโปอิล (Lipoyl group) บน E2 ทําให้ ได้ หมูไ่ ธออล
(Thiol group: –SH) ๒ หมู่ อะซีเตรททีเกิดขึ +นนี +ในขันแรกถู
+ กทําให้ เป็ นเอสเทอร์ (Esterify) หรื อสร้ างพันธะเอส
เทอร์ กบั ๑ หมู่ “Lipoyl –SH” (Lipoyl –SH group) จากนันจึ + งย้ ายพันธะเอสเทอร์ (Transesterify) ไปยัง “CoA”
เกิดเป็ นอะเซ็ทติลโคเอ (Acetyl CoA) (ปฏิกิริยาขันที+  ๓) ดังนันพลั
+ งงานจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน เป็ นแรงผลักให้
เกิดการสร้ างพันธะไธโอเอสเทอร์ พลังงานสูง (High–energy thioester) ของอะซีเตรท ปฏิกิริยาทีเหลือถูกเร่ ง
ปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ (ปฏิกิริยาขั +นที ๔ และ ๕) เป็ นการถ่ายเทอิเล็กตรอน ซึง
จําเป็ นสําหรับการทําให้ หมูไ่ ลโปอิลของ E2 อยู่ในรู ปทีถกู ออกซิไดซ์ (Oxidized form) ซึง เป็ น “Disulfide” ขันตอน
+
นี + เป็ นการเตรี ยมเอนไซม์ให้ พร้ อมสําหรับปฏิกิริยาในรอบใหม่ต่อไปของปฏิกิริยาออกซิเดชัน อิเล็กตรอนทีถกู
ย้ ายออกจากหมูไ่ ฮดร๊ อกซีเอธทิลทีได้ มาจากไพรู เว็ตโดยผ่าน FAD ไปยัง NADH
กลไกการทํางานทีสําคัญของไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์คือ “การแกว่งแขนไลโปอิลไลซิล”
(Swinging lipoyllysyl arms) ของ E2 ซึง รับอิเล็กตรอน ๒ อิเล็กตรอน (๑ คู)่ มาจาก E1 และหมูอ่ ะเซ็ทติลจาก
ไพรู เว็ตผ่านไปยัง E3 เอนไซม์และโคเอนไซม์ทงหมดนีั+ +ถูกรวมให้ อยู่กนั เป็ นกลุม่ (Cluster) ทําให้ สารมัธยันต์ที
เกิดขึ +นจากปฏิกิริยาแต่ละขันสามารถทํ
+ าปฏิกิริยาในขันต่
+ อไปได้ อย่างรวดเร็ ว โดยไม่ต้องเคลือนย้ ายออกไป
จากส่วนผิวของเอนไซม์คอมเพล็กซ์
 &'$ !  " # " $ (Control of Pyruvate Dehydrogenase)
PDC ควบคุมการผ่านของหน่วยอะเซ็ทติล (Acetyl unit) ทีเกิดจากวิถีไกลโคไลซิสเข้ าวัฏจักรกรดซิ
ตริ ก ปฏิกิริยาดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน หรื อการดึงเอาหมูค่ าร์ บ๊อกซิลออกจากไพรู เว็ตโดยเอนไซม์ E1 เป็ นปฏิกิริยาที
ผันกลับไม่ได้ และไม่มีวิถีปฏิกิริยาใดๆ ในสัตว์เลี +ยงลูกด้ วยนํ +านมทีสามารถสร้ างอะเซ็ทติลโคเอได้ อีกแล้ ว วิถี
ปฏิกิริยาการสร้ างอะเซ็ทติลโคเอมีการควบคุมอย่างน้ อย ๒ ระบบดังนี +คือ
๑. การยับยังวิ+ ถีปฏิกิริยาด้ วยผลผลิต หรื อ “Product inhibition” ผลผลิตทีสําคัญทีผลในการยับยัง+
ปฏิกิริยาการสร้ างอะเซ็ทติลโคเอคือ NADH และอะเซ็ทติลโคเอ (รู ป ๓.๙a)
๒. การดัดแปลงพันธะโควาเลนซ์ (Covalent modification) ด้ วยการเติมหมูฟ่ อสเฟต (Phospho-
rylation)/การดึงเอาหมูฟ่ อสเฟตออก (Dephosphorylation) ของเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส
(E1) (รู ป ๓.๙b)
 &  ()) (Control by Product Inhibition)
NADH และอะเซ็ทติลโคเอแย่งกับ NAD+ และโคเอในการเข้ าจับกับเอนไซม์ทีเร่ งปฏิกิริยา ทําให้
เอนไซม์ทรานส์โลเคส (Translocase: E2) และไดไฮโดรไลโปอิลดีไฮโดรจีเนส (E3) เร่ งปฏิกิริยาผันกลับ (รู ป ๓.๙
a) เมืออัตราส่วน [NADH]/[NAD+] และ [Acetyl CoA]/[CoA] สูง มีผลทําให้ เอนไซม์ “E2” อยู่ในรู ป “Acetylated
form” ไม่สามารถรับหมู่ “Hydroxyethyl group” จาก TPP บน E1 ได้ ทําให้ TPP ยึดติดอยู่บน E1 อย่างแน่นหนา
ในรู ป “Hydroxyethyl form” จึงลดอัตราการดึงหมูค่ าร์ บ๊อกซิลออกจากไพรู เว็ต (Pyruvate decarboxylation)
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๙๐

 . แสดงปั จจัยการควบคุมการทํางานของ PDC a) การยับยั (งโดยผลผลิต (Product inhibition) NADH และอะเซ็ทติลโคเอ
แย่งกับ NAD+ และ CoA ในปฏิกิริยาที 7 และ 8 ของปฏิกิริยาทีถกู เร่งโดยเอนไซม์ไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนส เมือระดับของ NADH
และอะเซ็ทติลโคเอสูง ปฏิกิริยาผันกลับทีถกู เร่งโดย E2 และ E3 จะเกิดขึ (น (ตามลูกศรแดง =) ซึง มีผลไปยับยังการสร้
ติลโคเอ b) เป็ นการดัดแปลงพันธะโควาเลนซ์ทีเกิดขึ (นในเซลล์สิงมีชีวิตชันสู ( ง เอนไซม์ไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนส (E1) ถูก
( างอะเซ็ท

inactivated โดยการถูกเติมหมูฟ่ อสเฟต (Phosphorylation) ทีกรดอะมิโนตําแหน่ง “Ser” ในปฏิกิริยาทีถกู เร่งโดยเอนไซม์ไพรู

(ซ้ าย) ซึง ถูกกระตุ้นให้ ทํางานอีกครัง( โดย E1 ตัวยับยั (งและตัวกระตุ้นการทํางานของไคเนส (Kinase) ดังบัญชีทางด้ านขวา
เว็ตดีไฮโดรจีเนสไคเนส (ด้ านขวา) หมูฟ่ อสเฟตนี (ถูกไฮโดรไลซ์โดยการทํางานของเอนไซม์ไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนสฟอสฟาเตส

และตัวกระตุ้นการทํางานของฟอสฟาเตสแสดงทางด้ านซ้ าย

 &  !*+ +, -!*+ + (Control by Phosphorylation/Dephos-


phorylation)
การควบคุมการเปลียนไพรู เว็ตเป็ นอะเซ็ทติลโคเอด้ วยการเติม หรื อดึงหมูฟ่ อสเฟตออกจากเอนไซม์
+ ง (Eukaryotic cell) เท่านัน+ เอนไซม์คอมเพล็กซ์เหล่านี +
คอมเพล็กซ์พบได้ เฉพาะในเซลล์ของสิงมีชีวิตชันสู
ประกอบด้ วยไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสไคเนส (Pyruvate dehydrogenase kinase) และไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสฟอสฟา
เตส (Pyruvate dehydrogenase phosphatase) จับกับเอนไซม์ไดไฮโดรไลโปอิลทรานส์อะเซ็ทติเลส (E2 Core)
เอนไซม์ไคเนสมีผลไปหยุดการทํางาน (Inactivate) ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส (E1) ด้ วยการเร่ งปฏิกิริยาการเติมหมู่
ฟอสเฟตทีเอนไซม์ดีไฮโดรจีเนสทีกรดอะมิโนตําแหน่งซีรีน (Ser residue) โดย ATP (รู ป ๓.๙b) ปฏิกิริยา
ไฮโดรไลซิสทีตําแหน่ง “PhosphoSer residue” เป็ นการกระตุ้นให้ เอนไซม์ฟอสฟาเตสในคอมเพล็กซ์ทํางานอีก
ครัง+
เอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสไคเนส ถูกกระตุ้นให้ ทํางานโดยผ่านการปฏิสมั พันธ์กบั “Acetylated
form” ของเอนไซม์ E2 ในลําดับต่อมาผลผลิตทีเกิดจากปฏิกิริยา (NADH และอะเซ็ทติลโคเอ) ซึง นอกจากมีผล
โดยตรงต่อ PDC แล้ ว ยังมีผลโดยอ้ อมในการกระตุ้นการทํางานของเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสไคเนส ผลก็
คือ การเติมหมูฟ่ อสเฟตทีเอนไซม์คอมเพล็กซ์ทําให้ หยุดการทํางานของเอนไซม์คอมเพล็กซ์ หรื อผลผลิตจาก
ปฏิกิริยามีผลไปยับยังการทํ
+ างานของเอนไซม์เอง อะเซ็ทติลโคเอและ NADH ยังเป็ นผลผลิตจากปฏิกิริยาออกซิ
เดชัน ของกรดไขมัน ดังนันการยั
+ บยังการทํ
+ างานของ PDC ด้ วยวิธีนี +เป็ นหนทางทีเซลล์ใช้ ในการเก็บรักษาคาร์
โบไฮเดรทไว้ ในเซลล์ เมือสามารถใช้ ไขมันเป็ นแหล่งพลังงานได้
๙๑ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

แคลเซียมไอออน (Ca2+) เป็ นตัวให้ สญั ญาณสือสารทุติยภูมิ (Second messenger) ทีสําคัญทีแสดง


ถึงความต้ องการพลังงานของเซลล์ทีเพิมขึ +น (เช่น กรณีทีมกี ารหดรัดตัวของกล้ ามเนื +อ) การเพิมขึ +นของแค
ลเซียมไอออน มีผลส่งเสริ มให้ เอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสฟอสฟาเตสเพิมการทํางาน ดังนันเป็
+ นการกระตุ้น
ให้ PDC ทํางาน
ฮอร์ โมนอินซูลินมีสว่ นเกียวข้ องกับการควบคุมระบบนี +เช่นกัน โดยทํางานผ่านการกระตุ้นเอนไซม์
ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสฟอสฟาเตสทางอ้ อม โดยปกติอินซูลินมีผลทําให้ มีการสังเคราะห์ไกลโคเจนด้ วยการ
กระตุ้นเอนไซม์ฟอสโฟโปรตีนฟอสฟาเตส (Phosphoprotein phosphatase) เมือในกระแสเลือดมีระดับกลูโคส
เพิมสูงขึ +น ร่ างกายตอบสนองด้ วยการหลัง ฮอร์ โมนอินซูลิน ทําให้ มีการสังเคราะห์อะเซ็ทติลโคเอและไกลโคเจน
เพิมขึ +น อะเซ็ทติลโคเอเป็ นสารตังต้ + นในการสังเคราะห์กรดไขมัน และยังเป็ นสารให้ พลังงานทีเข้ าสูว่ ฏั จักรกรด
ซิตริ ก ยังมีปัจจัยอืนๆ ทังที
+ เป็ นตัวกระตุ้นและตัวยับยังในการควบคุ
+ มการทํางานในระบบของเอนไซม์ไพรู เว็ตดี
ไฮโดรจีเนส (Pyruvate dehydrogenase system) (รู ป ๓.๙b) การควบคุมในระบบนี +อาจไม่เหมือนกับเมตาบอลิ
ซึมของไกลโคเจนตรงทีการควบคุมในระบบนี +ไม่ได้ รับผลกระทบจาก cAMP
ไพรู เว็ตจากวิถี Aaerobic glycolysis สามารถเข้ าสูไ่ มโตคอนเดรี ย ถ้ าร่ างกายมีความต้ องการ
พลังงาน หรื อ ATP ไพรู เว็ตอาจต้ องถูกเปลียนไปเป็ นอะเซ็ทติล-โคเอ (Acetyl-CoA) เพือเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ ก
(Citric acid cycle) แต่ถ้าร่ างกายมีพลังงานอย่างเพียงพอแล้ วไพรู เว็ตจะถูกนําไปสังเคราะห์เป็ นกรดไขมัน
ต่อไป ปฏิกิริยาการเปลียนไพรูเว็ตไปเป็ นอะเซ็ทติล-โคเอ ถูกเร่ งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอม
เพล็กซ์ (Pyruvate dehydrogenase complex: PDC) ปฏิกิริยานี +เป็ นปฏิกิริยาทีผนั กลับไม่ได้ (Irriversible) และไม่
สามารถใช้ เปลียนอะเซ็ทติล-โคเอไปเป็ นไพรู เว็ตหรื อกลูโคสได้ ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ในตับถูก
กระตุ้นได้ โดยอินซูลนิ ในขณะทีในสมองและประสาท เอนไซม์นี +ไม่ตอบสนองต่อฮอร์ โมน
โคแฟคเตอร์ (Cofactors) และโคเอนไซม์ (Coenzymes) ทีใช้ ในปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยไพรู เว็ตดีไฮโดร
จีเนส ได้ แก่
๑. ไธอะมีนไพโรฟอสเฟต (Thiamine pyrophosphate; TPP) (มาจากวิตามินไธอะมีน)
๒. กรดไลโปอิก (Lipoic acid)
๓. โคเอนไซม์-เอ (CoA) จากแพนโทธีเนต (Pantothenate)
๔. FADH2 จากไรโบฟลาวิน
๕. NADH จากไนอะซีน (Niacin) (บางส่วนอาจสังเคราะห์มาจากทริ ปโตเฟน)
เอนไซม์ชนิดอืนๆ ทีคล้ ายคลึงกับไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ ซึง มีการใช้ ไธอะมีนเช่นเดียวกัน
ได้ แก่
๑. อัลฟา-คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส (α–Ketoglutarate dehydrogenase) ในวัฏจักรกรดซิตริ ก
๒. Branched–chain ketoacid dehydrogenase (เมตาบอลิซมึ ของ Branched–chain amino acids)
ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ถกู ยับยังได้ + โดยผลผลิตของมันเองคือ อะเซ็ทติล-โคเอ การควบคุม
ลักษณะนี +มีความสําคัญในหลายบริ บทและควรพิจารณาร่ วมกับไพรู เว็ตคาร์ บ๊อกซิเลส (Pyruvate carboxy-
lase) เอนไซม์อืนๆ ในไมโตคอนเดรี ยซึง ใช้ ไพรู เว็ต (เข้ าสูว่ ิถีการสร้ างกลูโคส (กลูโคนีโอเจนีซิส))
ภาวะทีร่างกายมีระดับไธอะมีนไม่เพียงพอ (Insufficient thiamine) มีผลไปขัดขวางการออกซิเดชัน
ของกลูโคส ทําให้ เนื +อเยือทีใช้ ออกซิเจนสูง เช่น สมองและกล้ ามเนื +อหัวใจเกิดภาวะล้ มเหลวเป็ นอันดับต้ นๆ
นอกจากนี + Branched–chain amino acid ยังสามารถใช้ เป็ นแหล่งพลังงานในสมองและกล้ ามเนื +อได้ อีกด้ วย
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๙๒

 ,$ /"$ (Thiamine Deficiency: Wernicke-Korsakoff Syndrome)


ภาวะทีร่างกายขาดแคลนไธอะมีนพบเห็นได้ บ่อยๆ ในผู้ป่วยด้ วยพิษสุราเรื อ+ รัง (Alcoholic)
ผู้ป่วยกลุม่ นี +มักเกิดกลุม่ อาการทีซบั ซ้ อนร่ วมกับ Wericke peripheral neuropathy และ Korsakoff psychosis
แอลกอฮอลมีผลไปขัดขวางการดูดซึมไธอะมีนจากลําไส้ อาการของการขาดแคลนไธอะมีนได้ แก่
๑. การทํางานของกล้ ามเนื +อไม่ประสานกัน (Ataxia)
๒. การกรอกลูกตาไปมาผิดปกติ (Ophthalmoplegia) ตากระตุก (Nystagmus)
๓. สูญเสียความจําและวิกลจริ ต (Confabulation)
๔. เลือดออกในสมอง (Cerebral hemorrhage)
อาจพบฟภาวะหัวใจล้ มเหลวแทรกซ้ อนได้ (Web beri–beri) เนืองจากได้ รับ ATP ไม่เพียงพอและ
มีการสะสมคีโตนบอดี +ในกล้ ามเนื +อหัวใจ
เอนไซม์ชนิดอืนๆ ทีคล้ ายคลึงกับไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ ซึง มีการใช้ ไธอะมีน
เช่นเดียวกัน ได้ แก่
๑. อัลฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส (α–Ketoglutarate dehydrogenase) ในวัฏจักรกรดซิตริ ก
๒. Branched–chain ketoacid dehydrogenase (เมตาบอลิซมึ ของ Branched-chain amino
acids)
อาจพบภาวะหัวใจล้ มเหลวแทรกซ้ อนได้ (Web beri–beri) เนืองจากได้ รับ ATP ไม่เพียงพอและมีการ
สะสมคีโตนบอดี +ในกล้ ามเนื +อหัวใจ
.$  (Reactions of the Citric Acid Cycle)
วัฏจักรกรดซิตริ กเป็ นวิถีปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของอะเซ็ทติลโคเอ ดังรู ป ๓.๑๐ เริ มต้ นด้ วยการรวมตัว
ของสารทีมีคาร์ บอน ๔ อะตอม คือ ออกซาโลอะซีเตรทกับสารทีมีคาร์ บอน ๒ อะตอม (หมู-่ อะเซ็ทติล
ของอะเซ็ทติลโคเอ) หรื อกล่าวอีกอย่างได้ ว่า การเข้ าสูว่ ฏั จักรเริ มจากอะเซ็ทติลโคเอให้ หมูอ่ ะเซ็ทติลกับสาร-
ประกอบทีมีคาร์ บอน ๔ อะตอม (ออกซาโลอะซีเตรท) เกิดปฏิกิริยาเพือสร้ างสารประกอบทีคาร์ บอน ๖ อะตอม
คือ ซิเตรท (Citrate) จากนันซิ + เตรทเปลียนแปลงเป็ นไอโซซิเตรท ซึง เป็ นสารประกอบทีมีคาร์ บอน ๖ อะตอม
เช่นกัน ไอโซซิเตรทถูกดึงเอาไฮโดรเจนออกและมีคาร์ บอนไดออกไซด์เกิดขึ +น ทําให้ เกิดเป็ นสารประกอบทีมี
คาร์ บอน ๕ อะตอม (อัลฟา-คีโตกลูตาเรต (α–Ketoglutarate) (บางครัง+ มีการเรี ยกสารนี +ว่า “Oxoglutarate”)
อัลฟา–คีโตกลูตาเรตเกิดปฏิกิริยาต่อไป ทําให้ เปลียนเป็ นสารประกอบ ๔ คาร์ บอนอะตอม (ซัคซิเนต)
(Succinate) และคาร์ บอนไดออกไซด์โมเลกุลที ๒ จากนันซั + คซิเนตเกิดปฏิกิริยาอีก ๓ ขันตอนเปลี
+ ยนแปลงเป็ น
ออกซาโลอะซีเตรท ซึง เป็ นการเริ มวัฏจักรรอบใหม่อีกครัง+ โดยออกซาโลอะซีเตรทเกิดปฏิกิริยารวมตัว
กับอะเซ็ทติลโคเอโมเลกุลอืนอีก ในแต่ละรอบของวัฏจักรจะมีหมูอ่ ะเซ็ทติล (๒ คาร์ บอนอะตอม) ในรู ป
ของอะเซ็ทติลโคเอเข้ าสูว่ ฏั จักร และมีคาร์ บอนไดออกไซด์ ๒ โมเลกุลออกจากวัฏจักร และมีการใช้ ออกซาโลอะ
ซีเตรท ๑ โมเลกุลในการสร้ างซิเตรท แต่หลังจากทีเกิดวิถีปฏิกิริยาอย่างต่อเนืองหลายปฏิกิริยาแล้ ว ออก
ซาโลอะซีเตรทจะถูกสร้ างขึ +นมาใหม่ โดยไม่มีการกําจัดออกซาโลอะซีเตรทออกไปจากวัฏจักร ในทางทฤษฎี
ออกซาโลอะซีเตรทเพียง ๑ โมเลกุลสามารถนําไปสูป่ ฏิกิริยาออกซิเดชัน หมูอ่ ะเซ็ทติลได้ อย่างไม่มีทีสิ +นสุด และ
ในความเป็ นจริ งระดับของออกซาโลอะซีเตรทภายในเซลล์มีอยู่ในระดับตํามาก ปฏิกิริ-ยาในวัฏจักรกรดซิตริ ก
จํานวน ๔ ปฏิกิริยาจาก ๘ ปฏิกิริยาเป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชัน พลังงานจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน เป็ นพลังงานที
ถูกเก็บไว้ อย่างมีประสิทธิภาพในรู ปของ NADH และ FADH2
๙๓ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

 " 0 ($$. (The Citric Acid Cycle Has Eight Steps)
ปฏิกิริยา ๘ ขันตอนในวั
+ ฏจักรเป็ นการเปลียนแปลงทางเคมี ซิเตรทซึง เกิดขึ +นมาจากอะเซ็ทติลโคเอ
และออกซาโลอะซีเตรทถูกออกซิไดซ์ตอ่ ไปได้ คาร์ บอนไดออกไซด์ และพลังงานทีเกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน
นี +ถูกเก็บไว้ ในรู ปของ NADH และ FADH2

 . แสดงปฏิกิริยาในวัฏจักรกรดซิตริ ก อะตอมของคาร์ บอนบริ เวณแถบสีแดงคือส่วนที$ได้ มาจากอะซีเตรท


ของอะเซ็ทติลโคเอในการเกิดวัฏจักรรอบแรก คาร์ บอนอะตอมเหล่านี ไม่ได้ ถกู ขับออกในรู ปของ

ของการถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยัง FAD หรื อ NAD+ เกิดเป็ น FADH2 หรื อ NADH ปฏิกิริยาขันตอนที $ 1, 3


คาร์ บอนไดออกไซด์ในรอบแรกของวัฏจักร ลูกศรสีแดงแสดงถึงขันตอนที  $มีการปล่อยพลังงานออกมาในรู ป

และ 4 เป็ นปฏิกิริยาที$ผนั กลับไม่ได้ ในเซลล์ ส่วนปฏิกิริยาในขันตอนอื




 $ 5 อาจเป็ น ATP หรื อ GTP ขึ นอยู่กบั เอนไซม์ซคั ซินิลโคเอซินเธเทส (Succinyl-CoA


 $นๆ เป็ นปฏิกิริยาที$ผนั กลับได้ ผลผลิต

synthetase) ที$เป็ นตัวเร่ งปฏิกิริยา


จากปฏิกิริยาในขันที

.($$"1 2    (Formation of Citrate)


เป็ นปฏิกิริยาขันตอนแรกของวั
+ ฏจักร เป็ นการรวมอะเซ็ทติลโคเอเข้ ากับออกซาโลอะซีเตรทและ
เปลียนเป็ นซิเตรท ปฏิกิริยานี +ถูกเร่ งโดยเอนไซม์ซิเตรทซินเตส (Citrate synthase) ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๙๔

ในปฏิกิริยานี +เมธิลคาร์ บอนของหมูอ่ ะเซ็ทติลถูกเชือมต่อกับหมูค่ าร์ บอนิล (C2) ของออกซาโลอะซีเต


รท ไซโตรอิลโคเอ (Cytroyl–CoA) คือ สารมัธยันต์ทีเกิดขึ +นทีบริ เวณ “Active site” ของเอนไซม์ สารมัธยันต์นี +จะ
ถูกไฮโดรไลซิสอย่างรวดเร็ วได้ โคเอ (CoA) อิสระและซิเตรท และถูกปล่อยออกมาจาก Active site ปฏิกิริยา
ไฮโดรไลซิสสารมัธยันต์ทีมีพนั ธะไธโอเอสเทอร์ พลังงานสุง (High-energy thioester intermediate) ทําให้
ปฏิกิริยาดําเนินต่อไปข้ างหน้ า ซึง เป็ นปฏิกิริยาทีคลายพลังงานออกมา พลังงานอิสระปริ มาณมาก (เป็ นลบ) ที
เกิดขึ +นนี +มีความจําเป็ นต่อการดําเนินไปของวัฏจักรกรดซิตริ กมาก เนืองจากระดับของออกซาโลอะซีเตรทมีอยู่
ในระดับตํามาก โคเอทีถกู ปล่อยออกมาในปฏิกิริยานี +ถูกนําไปใช้ ใหม่ในวัฏจักร เพือเปลียนไพรู เว็ตไป
เป็ นอะเซ็ทติลโคเอทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ (PDC)
ออกซาโลอะซีเตรทเป็ นซับสเตรทแรกทีเข้ าจับกับเอนไซม์ ทําให้ เกิดการเปลียนแปลงรูปร่ าง (Con-
formational change) ในส่วนของ Flexible domain ทําให้ เกิดบริ เวณจับยึด (Binding site) สําหรับซับสเตรทชนิด
ทีสองซึง ก็คือ อะเซ็ทติลโคเอ เมือไซโตนิลโคเอ (Citronyl-CoA) ถูกสร้ างขึ +น (เป็ นสารมัธยันต์ของปฏิกิริยา) ที
บริ เวณออกฤทธิNของเอนไซม์ ทําให้ เกิดการเปลียนแปลงทางโครงสร้ างและเกิดการไฮโดรไลซิสไธโอเอสเทอร์
(Thioester hydrolysis) ทําให้ CoA–SH ถูกปล่อยออกมา
.($$"1 3    )*$ –$  (Formation of Isocitrate via cis-
Aconitate)
เป็ นปฏิกิริยาทีผนั กลับได้ ทีเปลีย นซิเตรทไปเป็ นไอโซซิเตรท (Isocitrate) โดยผ่านการสร้ างโมเลกุลที
เป็ นสือกลาง หรื อเป็ นสารมัธยันต์ทีเรี ยกว่า “ซิ ส–อะโคนิเตท” (Cis–Aconitate) ซึง โดยปกติมกั ไม่แยกตัวออก
จาก Active site ของเอนไซม์ ปฏิกิริยานี +ถูกเร่ งโดยเอนไซม์อะโคนิเทส (Aconitase) บางครัง+ มีการเรี ยกเอนไซม์นี
อีกอย่างว่า “อะโคนิเตทไฮดราเตส” (Aconitate hydratase) ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง เอนไซม์อะโคนิเตทสามารถเร่ ง
ปฏิกิริยาผันกลับในการเติมนํ +า (H2O) ให้ กบั พันธะคู่ (Double bond) ของซิส–อะโคนิเตททีจบั กับเอนไซม์
(Enzyme–bound cis–aconitate) ได้ อย่างน้ อย ๒ วิถีทางคือ ทีซิเตรทและทีไอโซซิเตรท

เอนไซม์อะโคนิเตสมี “Iron–sulfur center” (รู ป ๓.๑๑) ซึง ทําหน้ าทีทงเป็


ั + นทีจบั ยึดของซับเตรท
บริ เวณออกฤทธิN (Active site) และในการเร่ งปฏิกิริยาการเติม หรื อกําจัดนํ +าออก
 . แสดง Iron–sulfur center ในอะโคนิ
เทส (Aconitase) Ion–sulfur center แสดงด้ วยสี
แดง ส่วนโมเลกุลของซิเตรทแสดงด้ วยสีฟา้
Cys residue ๓ ตัวของเอนไซม์จบั กับ Fe ๓
อะตอม Fe อะตอมที# ๔ จับกับหมูค่ าร์ บ๊อกซิล
ของซิเตรทและยึดกับหมูไ่ ฮดร๊ อกซิลของซิเต
รท (เส้ นปะ) ส่วน :B บนเอนไซม์ชว่ ยทําให้ ซเิ ต
รทเข้ าไปอยูใ่ นบริเวณออกฤทธ์ (Active site)
Iron–sulfur ทําหน้ าที#ทงเป็
ั ' นทีจ# บั ของซับสเตรท
และเร่งปฏิกิริยา
๙๕ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

.($$"1 4 .  51$    . .6$+–"! ,


 $   (Oxidation of Isocitrate to α–Ketoglutarate and CO2)
ปฏิกิริยาในขันต่ + อไปเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส (Isocitrate dehydrogenase) เร่ งปฏิกิริยาออก
ซิเดทีฟดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน ของไอโซซิเตรทได้ อลั ฟา–คีโตกลูตาเรต (α-Ketoglutarate) (รู ป ๓.๑๒)

 . แสดงกลไกการเกิดปฏิกิริยาของไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส (Isocitrate dehydrogenase) ในปฏิกิริยานี ซับสเต


รทคือไอโซซิเตรท (Isocitrate) สูญเสียคาร์ บอนไป ๑ อะตอมโดยปฏิกิริยาออกซิเดทีฟดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน$ (Oxidative
decarboxylation) ปฏิกิริยาในขันที  $ , ไอโซซิเตรทจับกับเอนไซม์และถูกออกซิไดซ์โดบไฮไดรซ์ลําเลียงไปยัง NAD+
หรื อ NADP+, ขึ นอยู่กบั ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสไอโซไซม์ เป็ นผลทําให้ หมู่คาร์ บอนิลจัดโมเลกุลสําหรับปฏิกิริยาดีคาร์
บ๊ อกซิเลชัน$ (Decarboxylation) ในขันที  $ , การมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างออกซิเจนของหมู่คาร์ บอนิลที$ยดึ กับ Mn2+
ไอออน ทําให้ เพิ$มความสามารถในการดึงอิเล็กตรอน (Electron–withdrawing capacity) ของหมู่คาร์ บอนิลและทําให้
เกิดปฏิกิริยาดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน$ ปฏิกิริยาเสร็ จสิ นในขันตอนที
 $  , โดยมีการจัดเรี ยงตัวของ Enol intermediate เพื$อ
เปลี$ยนเป็ น α–Ketoglutarate

เอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสมีรูปแบบทีแตกต่างกัน ๒ รู ปแบบ แบบที ๑ เป็ นรู ปแบบทีต้องการ


NAD+ เป็ นตัวรับอิเล็กตรอน และอีกรู ปแบบหนึง ต้ องการ NADP+ เป็ นตัวรับอิเล็กตรอน แต่ปฏิกิริยาทีเกิดขึ +น
ทังหมดไม่
+ + งการทํางานของเอนไซม์ทีต้องอาศัย NAD (NAD–dependent
แตกต่างกัน ในเซลล์สิงมีชีวิตชันสู
enzyme) เกิดขึ +นในเมตริ กของไมโตคอนเดรี ยและใช้ ในวัฏจักรกรดซิตริ ก ส่วนเอนไซม์ทีต้องอาศัย NADP
(NADP–dependent enzyme) พบได้ ทงในเมตริ ั+ กของไมโตคอนเดรี ยและไซโตพลาสซึม ทําหน้ าทีในการสร้ าง
NADPH ซึง จําเป็ นสําหรับปฏิกิริยาในวิถีแอนาบอลิซมึ (Anabolic reaction)
ปฏิกิริยาในขันตอนนี
+ +ถูกเร่ งโดยเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส (Isocitrate gehydrogenase) ถือได้
ว่าเป็ นเอนไซม์ควบคุมหลักของวัฏจักรและถูกยับยังโดย + NADH และ ATP และถูกกระตุ้นโดย ADP
.($$"1 8 .  51$+–"!  ."1$ .6$  $ ,
 $   (Oxidation of α–Ketoglutarate to Succinyl–CoA and CO2)
+ +เป็ นปฏิกิริยาดึงเอาหมูค่ าร์ บ๊อกซิลออกอีกปฏิกิริยาหนึง (Oxidative decarboxy-
ปฏิกิริยาในขันนี
lation) โดยอัลฟา–คีโตกลูตาเรตถูกเปลียนไปเป็ นซัคซินิลโคเอ (Succinyl–CoA) และคาร์ บอนไดออกไซด์ ปฏิ-
กิริยานี +ถูกเร่ งโดยเอนไซม์อลั ฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส (α-Ketoglutarate dehydrogenase) และมี NAD+
เป็ นตัวรับอิเล็กตรอน (Electron acceptor) และโคเอ (CoA) เป็ นตัวพาหมูซ่ คั ซินิล (Succinyl group) พลังงานที
เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของอัลฟา–คีโตกลูตาเรต ถูกเก็บไว้ ในรู ปของการสร้ างพันธะไธโอเอสเทอร์
(Thioester bond) ในซัคซินิลโคเอ ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๙๖

ปฏิกิริยานี + มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสดังทีได้ กล่าว


มาแล้ วข้ างต้ น และเอนไซม์อลั ฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์มีความคล้ ายคลึงกับเอนไซม์ไพรู เว็ต
ดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ทงในแง่ ั+ ของโครงสร้ าง และหน้ าทีของเอนไซม์ อัลฟา–คีโตกลูตาเรตคอมเพล็กซ์
ประกอบด้ วยเอนไซม์ ๓ ชนิดคือ E1, E2 และ E3 เช่นกัน และเอนไซม์มีการจับอยู่กบั TPP (Enzyme–bound
TPP) ไลโปเอต (Bound lipoate) FAD, NAD และโคเอนไซม์เอ ถึงแม้ วา่ องค์ประกอบของ E1 ของเอนไซม์คอม
เพล็กซ์นี +มีโครงสร้ างทีคล้ ายคลึงกัน แต่ลําดับของกรดอะมิโนในเอนไซม์มีความแตกต่างกันและมีความจํา-
เพาะในการจับทีแตกต่างกัน E1 ของ PDC จับกับไพรู เว็ต และ E1 ของอัลฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนสคอม
เพล็กซ์จบั กับอัลฟา–คีโตกลูตาเรต E2 ของเอนไซม์คอมเพล็กซ์ทงั + ๒ ชนิดมีความคล้ ายคลึงกันมาก โดยมีการ
จับกับไลโปอิล (Lipoyl moieties) ด้ วยพันธะโควาเลนซ์ ส่วน E3 ของทัง+ ๒ คอมเพล็กซ์เหมือนกัน
เอนไซม์อลั ฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส-
คอมเพล็กซ์ คือ เป็ นเอนไซม์ทีต้องการใช้ ไธอะมีน กรดไลโปอิก โคเอ FAD และ NAD การขาดแคลนไธอะมีนจะ
ทําให้ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของอะเซ็ทติลโคเอในวัฏจักรกรดซิตริ กช้ าลง
.($$"1 9  ."1$  $  . .6$   $ (Conversion of Succinyl–CoA to
Succinate)
ซัคซินิลโคเอมีความคล้ ายคลึงกับอะเซ็ทติลโคเอ คือ มีพนั ธะไธโอเอสเทอร์ ทีมีพลังงานสูง (Strongly
negative standard free energy of hydrolysis) ปฏิกิริยาในขันตอนนี + +เป็ นการสลายพันธะนี + ทําให้ มีการปลด-
ปล่อยพลังงานออกมาเพือใช้ ในการสร้ างพันธะฟอสโฟแอนไฮไดรซ์ (Phosphoanhydride bond) ใน GTP หรื อ
ATP และมีซคั ซิเนตเกิดขึ +นจากปฏิกิริยานี + ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง

ปฏิกิริยานี +เป็ นปฏิกิริยาผันกลับได้ และถูกเร่ งโดยเอนไซม์ซคั ซินิลโคเอซินเธเทส (Succinyl–CoA


synthetase) หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า “ซัคซินิกไธโอไคเนส” (Succinic thiokinase) ทังสองชื
+ อแสดงให้ เห็นว่า มีนิ
วคลีโอไซด์ไตรฟอสเฟตเป็ นส่วนร่ วมในปฏิกิริยา โมเลกุลของเอนไซม์ถกู เติมหมูฟ่ อสเฟตฮีสติดีน (His residue)
ในบริ เวณ Active site หมูฟ่ อสเฟตนี +มีพลังงานในการย้ ายหมูฟ่ อสเฟตสูง (High group transfer potential) โดย
หมูฟ่ อสเฟตนี +ถูกถ่ายทอดไปยัง ADP (หรื อ GDP) เพือสร้ างเป็ น ATP (หรื อ GTP) ในเซลล์ของสัตว์มีเอนไซม์ซคั
ซินิลโคเอซินเธเทส (Succinyl–CoA synthetase) ๒ รู ปแบบ (Isozyme) แบบทีหนึง มีความจําเพาะต่อ ADP และ
อีกรู ปแบบหนึง มีความจําเพาะต่อ GDP
๙๗ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

การสร้ าง ATP (หรื อ GTP) จากพลังงานทีถกู ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาออกซิเดทีฟดีคาร์ บ๊อกซิ


เลชัน ของอัลฟา–คีโตกลูตาเรตเป็ น “Substrate–level phosphorylation” (Substrate–level phosphorylation คือ
ปฏิกิริยาเคมีทีทําให้ เกิดการสร้ างอะดีโนซีนไตรฟอสเฟต (Adenosine triphosphate) (ATP) โดยการย้ ายหมู่
ฟอสเฟตจาก Reactive intermediate ไปยังอะดีโนซีนไดฟอสเฟต (Adenosine diphosphate (ADP)) โดยตรง ซึง
ในเซลล์มกั เกิดขึ +นในไซโตพลาสซึม (ในวิถีไกลโคไลซิสทังในภาวะที
+ มีออกซิเจนและไม่มีออกซิเจน
(both aerobic and anaerobic conditions)) เช่นเดียวกับการสร้ าง ATP ในปฏิกิริยาในวิถีไกลโคไลซิสทีถกู เร่ ง
ปฏิกิริยาโดยเอนไซม์กลีเซอร์ รัลดีไฮด์ ๓–ฟอสเฟตดีไฮโดรจีเนสและเอนไซม์ไพรู เวตไคเนส (รู ป ๒.๖) GTP ที
เกิดขึ +นจากเอนไซม์ซคั ซินิลโคเอซินเธเทสสามารถให้ หมูฟ่ อสเฟต (Terminal phosphate group) กับ ADP เพือ
สร้ างเป็ น ATP ได้ ปฏิกิริยานี +เป็ นปฏิกิริยาผันกลับได้ ถกู เร่ งโดยเอนไซม์นิวคลีโอไซด์ไดฟอสเฟตไคเนส (Nucleo-
side diphosphate kinase) ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง
GTP + ADP  GDP + ATP, ∆G’o = 0 kJ/mol
ดังนันผลสุ
+ ทธิของการเร่ งปฏิกิริยาโดยไอโซไซม์ซคั ซินิลโคเอซินเธเทสคือ การเก็บรักษาพลังงานไว้
ในรู ปของ ATP (GTP และ ATP มีคา่ พลังงานเท่ากัน)
.($$"1 : .  51$   $ . .6$+!  (Oxidation of Succinate to Fumarate)
ซัคซิเนต (Succinate) เกิดขึ +นจากซัคซินิลโคเอถูกออกซิไดซ์ไปเป็ นฟูมาเรตโดยเอนไซม์ฟลาโวโปรตีน
(Flavoprotein) ทีเรี ยกว่า ซัคซิเนตดีไฮโดรจีเนส (Succinate dehydrogenase) ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง

+ ง (Eukaryotes) เอนไซม์ซคั ซิเนตดีไฮโดรจีเนสยึดติดแน่นอยู่กบั เยือหุ้มไมโตคอนเด


ในสิงมีชีวิตชันสู
+ (Inner mitochondrial membrane) ในสิงมีชีวิตชันตํ
รี ยชันใน + า (Prokaryotes) จับอยู่กบั พลาสมาเมมเบรน (Plas-
ma membrane) เอนไซม์นี +เป็ นเอนไซม์ทีทําหน้ าทีเฉพาะสําหรับวัฏจักรกรดซิตริ กทียดึ ติดกับเยือหุ้ม เอนไซม์
ชนิดนี +จากไมโตคอนเดรี ยของกล้ ามเนื +อหัวใจของโค (Beef heart mitochondria) มี “Iron–sulfur cluster” ที
แตกต่างกัน ๓ รู ปแบบ มี ๑ โมเลกุลจับอยู่กบั FAD ด้ วยพันธะโควาเลนซ์ อิเล็กตรอนถูกส่งจากซักซิเนตผ่าน
FAD และ “Iron–sulfur center” ก่อนเข้ าสูต่ วั พาในห่วงโซ่การถ่ายทอดอิเล็กตรอน (Electron transport chain
carrier) ในเยือหุ้มไมโตคอนเดรี ยชันใน
+ (หรื อพลาสมาเมมเบรนในแบคทีเรี ย) อิเล็กตรอนไหลจากซัคซิเนตผ่าน
ตัวพา (Carrier) ชนิดต่างๆในห่วงโซ่การถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ ายซึง ก็คือ ออกซิเจน
ควบคูไ่ ปกับการสังเคราะห์พลังงานประมาณ ๑.๕ ATP ต่ออิเล็กตรอน ๑ คู่ (1.5 ATP molecules per pair of
electrons) มาโลเนต (Malonate) (สารทีมีความคล้ ายคลึงกับซัคซิเนต) เป็ นตัวยับยังที + รุนแรงของซัคซิเนตดี
ไฮโดรจีเนส ดังนันมาโลเนตจึ
+ งเป็ นขัดขวางการทํางานของวัฏจักรกรดซิตริ ก
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๙๘

.($$"1 ; . &$(' +!  ."1$ .6$  (Hydration of


Fumarate to Malate)
ปฏิกิริยาการรวมกับนํ +าของฟูมาเรต เป็ นปฏิกิริยาทีผนั กลับได้ โดยเปลียนฟูมาเรตไปเป็ นแอล–มา
เลต (L–Malate) ปฏิกิริยานี +ถูกเร่ งโดยเอนไซม์ฟมู าเรส (Fumarase) หรื อเรี ยกอีกอย่างว่า “ฟูมาเรตไฮดราเตส”
(Fumarate hydratase) ดังปฏิกิริยาข้ างล่าง

เอนไซม์ฟมู าเรส เป็ นเอนไซม์ทีมีความจําเพาะต่อโครงสร้ างของซับสเตรทสูงมาก (Highly stereo-


specific) ฟูมาเรสเร่ งปฏิกิริยาการรวมกับโมเลกุลของนํ +าทีพนั ธะคูข่ องทรานส์–ฟูมาเรส (Trans double bond of
fumarate) แต่ไม่เร่ งปฏิกิริยาต่อพันธะคูข่ องซิส–มาลีเอต (Cis double bond of maleate) (ซิสไอโซเมอร์ ของฟู
มาเรต (Cis isomer of fumarate)) ปฏิกิริยาในทิศทางกลับกัน (จากแอล–มาเลตกลับไปเป็ นฟูมาเลต) เอนไซม์ฟู
มาเรสก็มีความจําเพาะต่อโครงสร้ างต่อซับสเตรทอย่างมากเช่นกัน นัน หมายความว่า ดี-มาเลต (D–Malate) ไม่
เป็ นซับสเตรทของเอนไซม์ฟมู าเลส
.($$"1 0 .  51$ ."1$  . .6$  "  (Oxidation of Malate
to Oxaloacetate)
+ ดท้ ายของวัฏจักร เอนไซม์แอล-มาเลตดีไฮโดรจีเนสทีเชือมติดกับ NAD (NAD–linked
ปฏิกิริยาขันสุ
L–Malate dehydrogenase) เร่ งปฏิกิริยาออกซิเดชัน เปลียนแอล–มาเลตไปเป็ นออกซาโลอะซีเตรท ดังปฏิกิริยา
ข้ างล่าง

ทีสภาวะสมดุล ปฏิกิริยานี +ดําเนินไปทางซ้ ายภายใต้ “Standard thermodynamic condition” (มี


พลังงานอิสระเป็ นบวก) แต่เนืองจากในเซลล์ปกติออกซาโลอะซีเตรทถูกใช้ ไปในปฏิกิริยาคายพลังงานทีถกู เร่ ง
ปฏิกิริยาโดยซิเตรทซินเทส (ปฏิกิริยาในขันตอนที
+  ๑) ทําให้ ระดับของออกซาโลอะซีเตรทในเซลล์มีอยู่ในระดับ
ทีตํามาก (น้ อยกว่า ๑๐ M) ทําให้ ปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์มาเลตดีไฮโดรจีเนสดําเนินไปข้ างหน้ าเพือ
-๖

สร้ างออกซาโลอะซีเตรท
 <= ."1$,. "  (Stoichiometry of the Citric
Acid Cycle)
ปฏิกิริยาสุทธิ (Net reaction) ของวัฏจักรกรดซิตริ กคือ
Acetyl CoA + 3NAD+ + FAD + GDP + Pi + 2H2O  3CO2 + 3NADH + FADH2 + GTP + 2H+ + CoA
ในขณะนี +ได้ ทราบไปแล้ วว่า ในการดําเนินไปของวัฏจักรกรดซิตริ ก ๑ รอบ มีปฏิกิริยาใดบ้ างและมี
อะไรเกิดขึ +นบ้ างในแต่ละขันของวิ
+ ถีปฏิกิริยาดังรู ป ๓.๑๓ หมูอ่ ะเซ็ทติลทีมีคาร์ บอน ๒ อะตอมเข้ าสูว่ ฏั จักรด้ วย
๙๙ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

การรวมกับออกซาโลอะซีเตรท คาร์ บอนอะตอมถูกปรากฎขึ +นจากวัฏจักรในรูปของคาร์ บอนไดออกไซด์จาก


ปฏิกิริยาการเปลียนแปลงของไอโซซิเตรท และอัลฟา–คีโตกลูตาเรต พลังงานทีถกู ปลดปล่อยออกมาจาก
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ในวัฏจักรกรดซิตริ กถูกเก็บไว้ ในรู ปของ NADH (หรื อการรี ดกั ชัน NAD+) จํานวน ๓ โมเลกุล
และ FADH2 ๑ โมเลกุล (การรี ดกั ชัน+ FAD ๑ โมเลกุล) และมีพลังงานเกิดขึ +น ๑ ATP หรื อ GTP ในขันตอนสุ
+ ดท้ าย
ของวัฏจักรพบว่าโมเลกุลออกซาโลอะซีเตรทถูกสร้ างขึ +นมาใหม่ มีข้อน่าสังเกตว่า คาร์ บอน ๒ อะตอมทีเกิดขึ +น
ในรู ปของคาร์ บอนไดออกไซด์ไม่ใช่คาร์ บอนอะตอมเดียวกับ ๒ คาร์ บอนอะตอมทีเข้ าสูว่ ฏั จักร ซึง เข้ าสูว่ ฏั จักร
ได้ ในรูปของหมูอ่ ะเซ็ทติล และการดําเนินไปของวัฏจักรในรอบต่อๆ ไปก็ยงั คงปลดปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์
ออกมาดังรู ป ๓.๑๐ และตาราง ๓.๑

 .  แสดงผลผลิตที$เกิดขึ นจากวัฏจักร


กรดซิตริ ก ๑ รอบ กล่าวคือ ใน วัฏจักร

NADH ๓ โมเลกุล ๑ FADH2 ๑


กรดซิตริ ก ๑ รอบมีการปลดปล่อย

โมเลกุล ๑ GTP (หรื อ ATP) และ


คาร์ บอนไดออกไซด์ ๒ โมเลกุลถูก

“Oxidative decarboxylation
ปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยา

reaction” ทุกปฏิกิริยาในวัฏจักร
ดําเนินไปทิศทางเดียว แต่พงึ ระลึกไว้
ว่าเกือบทุกปฏิกิริยาเป็ นปฏิกิริยาที$ผนั
กลับได้ ดงั รู ป ๓.๑๐

 . แสดงวิถีปฏิกิริยาในวัฏจักรกรดซิตริ ก (Citric acid cycle)


Prosthetic
     G’
o

group (kcal/mol)
1 Acyetyl CoA + Oxaloacetate + H2O  Citrate + CoA + H2O Citrate synthase a –7.5
2a Citrate  Cis–aconitate + H2O Aconitase Fe–S b +2.0
2b Cis–aconitate + H2O  Isocitrate Aconitase Fe–S c –0.5
3 Isocitrate + NAD+  α–Ketoglutarate + CO2 + NADH Isocitate dehydrogenase d + e –2.0
4 α–Ketoglutarate + NAD+ + CoA  Succinate CoA + GTP + α–ketoglutarate Lipoic acid, d + e –7.2
CoA dehydrogenase complex FAD, TPP
5 Succinyl CoA + Pi + GDP  Succinate + GTP + CoA Succinyl CoA synthetase f –0.8
6 Succinate + FAD  Fumarate + FADH2 Succinate dehydrogenase FAD, Fe–S e 0
7 Fumarate + H2O  L – Malate Fumarase c –0.9
8 L–Malate + NAD+  Oxaloacetate + NADH + H+ Malate dehydrogenase e +7.1
*ชนิดปฏิกิริยา: (a) Condensation, (b) Dehydration, (c) Hydration, (d) Decarboxylation, (e) Oxidation, (f) Substrate-level phosphorylation.
สิงทีเกิดขึ +นในวัฏจักรกรดซิตริ กมีดงั นี +
๑. คาร์ บอน ๒ อะตอมเข้ าสูว่ ฏั จักรในรูปของหน่วยอะเซ็ทติล (Acetyl unit) (จากอะเซ็ทติลโคเอ)
และรวมกับออกซาโลอะซีเตรท คาร์ บอน ๒ อะตอมออกจากวัฏจักรในรู ปของคาร์ บอนไดออกไซด์จากปฏิกิริยา
ดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน ซึง ถูกเร่ งโดยเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสและอัลฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส และ
คาร์ บอนอะตอมทีเข้ าสูว่ ฏั จักร ๒ อะตอมไม่ใช่คาร์ บอนอะตอมทีออกจากวัฏจักร
๒. ในการดําเนินไปของวัฏจักรแต่ละรอบมีอิเล็กตรอนออกจากวัฏจักร ๔ คูใ่ น ๔ ปฏิกิริยาออกซิ
เดชัน มี NAD+ ๒ โมเลกุลถูกรี ดวิ ซ์ในปฏิกิริยาดีคาร์ บ๊อกซิเลชัน ของไอโซซิเตรทและอัลฟา–คีโตกลูตาเรต และมี
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๑๐๐

FAD ๑ โมเลกุลถูกรี ดิวซ์ในปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของซัคซิเนต และ NAD+ ๑ โมเลกุลถูกรี ดิวซ์ในปฏิกิริยาออกซิ


เดชัน ของมาเลต
๓. มีสารประกอบพลังงานสูงเกิดขึ +น ซึง ได้ แก่ GTP จากการสลายพันธะไธโอเอสเทอร์ (Thioester
linkage) ในซัคซินิลโคเอ
๔. มีการใช้ นํ +าสุทธิ ๒ โมเลกุล ๑ โมเลกุลถูกใช้ ไปในการสังเคราะห์ซิเตรทโดยการไฮโดรไลซิสซิตริ ล
โคเอ (Citryl CoA) และนํ +าอีก ๑ โมเลกุลถูกใช้ ในปฏิกิริยาไฮเดรชัน ฟูมาเรต
พึงระลึกไว้ วา่ มี NADH เกิดขึ +นในปฏิกิริยาการสังเคราะห์อะเซ็ทติลโคเอจากไพรู เว็ต ทีถกู เร่ งโดย
เอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส
เราได้ ทราบไปแล้ วจากบททีแล้ วว่า พลังงานทีได้ มาจากไพรู เว็ต ๒ โมเลกุลทีได้ มาจากกลูโคส ๑
โมเลกุลในวิถีไกโคไลซิสคือ ๒ ATP และ ๒ NADH ในวิถีปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรี เลชัน+ (ทีจะกล่าวถึงในบท
ต่อไป) มีการส่งผ่านอิเล็กตรอน ๑ คู่ หรื อ ๒ อิเล็กตรอนจาก NADH ไปยังออกซิเจน ทําให้ มีการสร้ างพลังงาน
๒.๕ ATP และส่งผ่านอิเล็กตรอน ๑ คู่ หรื อ ๒ อิเล็กตรอนจาก FADH2 ไปยังออกซิเจน ทําให้ มีการสร้ างพลังงาน
อีก ๑.๕ ATP นัน คือ อะซีเตรท ๑ โมเลกุล หรื อ ๑ Acetate unit สามารถสร้ างพลังงานได้ ประมาณ ๑๐ ATP
ดังนันไพรู
+ เว็ต ๒ โมเลกุลถูกออกซิไดซ์โดยเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์และเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ ก
และเข้ าสูห่ ่วงโซ่การถ่ายทอดอิเล็กตรอนไปยังออกซิเจนโดยผ่านวิถีออกซิเดทีฟฟอสโฟรี เลชัน มีการสร้ าง
พลังงานทังสิ + +น ๓๒ ATP ต่อกลูโคส ๑ โมเลกุล ดังตาราง ๓.๒
 . แสดงจํานวนโคเอนไซม์และ ATP ทีเกิดขึ 'นในปฏิกิริยาออกซิเดชันกลู
' โคสในภาวะทีมีออกซิเจน (Aerobic
oxidation of glucose) ผ่านวิถีไกลโคไลซิส ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส วัฏจักรกรดซิตริ กและออกซิเดทีฟฟอสโฟรี เลชัน
  (Reaction)   Reduced Coenzyme   ATP  
Glucose  Glucose 6–phosphate –1 ATP –1
Fructose 6–phosphate  Fructose 1,6–bisphosphate –1 ATP –1
2 Glyceraldehyde 3–phosphate  2 1,3–bisphosphoglycerate 2NADH 3–5
2 1,3–Bisphosphoglycerate  2 3–Phosphoglycerate 2ATP 2
2 Phosphoenolpyruvate  2 Pyruvate 2NADH 2
2 Pyruvate  2 Acetyl CoA 2NADH 5
2 Isocitrate  2 α–Ketoglutarat 2NADH 5
2 α–Ketoglutarate  2 Succinyl CoA 2ATP 5
2 Succinyl CoA  2 Succinate 2FADH2 2
2 Succinate  2 Fumarat 2NADH 3
2 Fumarat  2 Oxaloacetate 5
 30–32
  ATP คําณวนจากสัดส่วน 2.5 ATP ต่อ NADH และ 1.5 ATP ต่อ FADH2 ส่วนเครืองหมายลบ (–) แสดงว่ามีการใช้ พลังงาน
ข้ อสังเกตในวัฏจักรกรดซิตริ กพบว่า ออกซิเจนไม่มีสว่ นเกียวข้ องโดยตรงในวิถีปฏิกิริยาในวัฏจักร
อย่างไรก็ตามวัฏจักรสามารถดําเนินต่อไปได้ เฉพาะในภาวะทีมีออกซิเจนเท่านัน+ (Only aerobic condition)
เนืองจาก NAD+ และ FAD ถูกสร้ างขึ +นในไมโตคอนเดรี ยต่อเมือมีการลําเลียงอิเล็กตรอนไปยังโมเลกุลของ
ออกซิเจน วิถีไกลโคไลซิสพบว่ามีวิถีเมตาบอลิซมึ ทังแบบใช้
+ ออกซิเจน (Aerobic mode) และแบบทีไม่ใช้
ออกซิเจน (Anaerobic mode) ในขณะทีวฏั จักรกรดซิตริ กพบเฉพาะแต่ภาวะทีมีออกซิเจนเท่านัน+ (Strictly
aerobic) วิถีไกลโคไลซิสสามารถดําเนินต่อไปได้ ในสภาวะทีไม่มีออกซิเจน เนืองจาก NAD+ ถูกสร้ างขึ +นมาได้
จากการเปลียนไพรู เว็ตไปเป็ นแลคเตท
๑๐๑ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

 &'$  (Regulation of the Citric Acid Cycle)


การควบคุมการทํางานของเอนไซม์ในวัฏจักร เกิดขึ +นจากผลผลิตของเอนไซม์ (Allosteric effectors:
โมเลกุลขนาดเล็ก (มักเป็ นผลผลิตของปฏิกิริยา) ซึง เมือไปจับกับ Allosteric site ของเอนไซม์แล้ วทําให้ มีผลไป
ลด หรื อเพิมการทํางานของเอนไซม์) และการดัดแปลงพันธะโควาเลนซ์ (Covalent modification) การควบคุม
การทํางานของเอนไซม์เป็ นการควบคุมให้ วฏั จักรมีการสร้ างสารมัธยันต์และผลผลิตอืนๆ ในวัฏจักรในอัตราที
เหมาะสม เพือทําให้ เซลล์อยู่ในสถานะทีมีเสถียรภาพ (Stable steady state) และหลีกเลีย งไม่ให้ มีการสร้ าง
สารมัธยันต์ในวัฏจักรทีมากเกินไป การควบคุมการดําเนินไปของการเปลียนแปลงสารทีมีคาร์ บอน ๒ อะตอม
ไปจากไพรู เว็ต ทีเข้ าสูแ่ ละดําเนินไปในวัฏจักรกรดซิตริ กถูกควบคุมอย่างใกล้ ชิด (Tight regulation) อย่างน้ อย
๒ ขันตอนคื
+ อ ขันตอนการเปลี
+ + นของวัฏจักร หรื อปฏิกิริยา PDC
ย นไพรู เว็ตไปเป็ นอะเซ็ทติลโคเอ ซึง เป็ นสารตังต้
(The pyruvate dehydrogenase complex reaction) และขันตอนการเข้ + าสูว่ ฏั จักรของอะเซ็ทติลโคเอ หรื อ
ปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์ซิเตรทซินเธส (Citrate synthase complex) อย่างไรก็ตามไพรู เว็ตไม่ใช่เพียงแหล่ง
เดียวทีเป็ นทีมาของอะเซ็ทติลโคเอ เซลล์ทกุ เซลล์สามารถสร้ างอะเซ็ทติลโคเอได้ จากเมตาบอลิซมึ ของกรด
ไขมัน และกรดอะมิโนบางชนิดโดยวิถีปฏิกิริยาออกซิเดชัน สารมัธยันต์ของวัฏจักรกรดซิตริ กทีมาจากวิถี
ปฏิกิริยาอืนๆ (Other pathway) มีสว่ นสําคัญในการควบคุมปฏิกิริยาออกซิเดชัน ของไพรู เว็ตและปฏิกิริยาในวัฏ
จักรกรดซิตริ กเช่นกัน นอกจากนี +วัฏจักรกรดซิตริ กยังถูกควบคุมในวิถีปฏิกิริยาอืนๆ อีก ได้ แก่ ปฏิกิริยาทีถกู เร่ ง
โดยเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส (Isocitrate dehydrogenase reaction) และเอนไซม์อลั ฟา–คีโตกลูตาเรตดี
ไฮโดรจีเนส (α–Ketoglutarate dehydrogenase reaction)
 &    &'$ $  !  " # " $   
   (Allosteric mechanism) และ  ,.$/ $  (Covalent mechanism)
เอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ถูกยับยังการทํ
+ างานโดย ATP
และอะเซ็ทติลโคเอและ NADH สารเหล่านี +ล้ วนเป็ นผลผลิตจากปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์ PDC ดังรู ป ๓.๑๔
การยับยังการทํ
+ างานของ PDC แบบ “Allosteric inhibition” จะเพิมมากยิงขึ +นเมือมีกรดไขมันสายโซ่ยาวปรากฏ
(Long–chain fatty acid) กรณีทีมีการสะสม AMP, CoA และ NAD+ เนืองจากอะซีเตรทไม่สามารถผ่านเข้ าวัฏ
จักรได้ สารต่างๆ ดังกล่าวมีผลไปกระตุ้นการทํางาน (Activate) ของ PDC ดังนันเอนไซม์ + นี +จะหยุดทํางาน
(Turned off) เมือมีพลังงานในรูปของกรดไขมัน และอะเซ็ทติลโคเอเพียงพอหรื อมากเกินพอ และเมือมี
อัตราส่วน [ATP]/[ADP] และ [NADH]/[NAD+] ของเซลล์สงู และเอนไซม์นี +จะเริ มทํางานอีกครัง+ เมือเซลล์มีความ
ต้ องการพลังงานสูง และมีวฏั จักรกรดซิตริ กมีความต้ องการอะเซ็ทติลโคเอในระดับสูง
ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrates) กลไกการควบคุมปฏิกิริยาแบบอัลโลสเตอร์ ริก มักมีการ
ควบคุมในระดับทีสอง (Second level of regulation) ด้ วย คือ การดัดแปลงพันธะโควาเลนซ์ ไพรู เว็ตดีไฮโดร
จีเนสคอมเพล็กซ์ ถูกยับยังการทํ
+ างานโดยการถูกเติมหมูฟ่ อสเฟตทีตําแหน่งกรดอะมิโนซีรีนทีจําเพาะ
(Specific Ser residue) บนซับยูนิตหนึง ของ E1 ดังทีได้ กล่าวไปแล้ วว่า นอกจากเอนไซม์ E1, E2 และ E3 เอนไซม์
คอมเพล็กซ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังมีโปรตีนควบคุม ๒ ชนิดทีทําหน้ าทีควบคุมการทํางานของเอนไซม์คอม
เพล็กซ์ คือ โปรตีนไคเนสและฟอสโฟโปรตีนฟอสฟาเตส (รู ป ๓.๑๕) โปรตีนไคเนสทําหน้ าทีในการเติมหมู่
ฟอสเฟตบน E1 ทําให้ ยบั ยังการทํ
+ างานของ E1 ส่วนเอนไซม์ฟอสฟาเตสทําหน้ าทีกําจัดหมูฟ่ อสเฟตออกจาก E1
ด้ วยการไฮโดรไลซิส ดังนันจึ + งทําให้ E1 ถูกกระตุ้นให้ ทํางานได้ อีกครัง+ เอนไซม์โปรตีนไคเนสถูกกระตุ้นให้
ทํางานได้ โดย ATP เมือในเซลล์มี [ATP] ระดับสูง (แสดงว่า เซลล์มีพลังงานมากอย่างเพียงพอ) เอนไซม์ไพรู เว็ต
ดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์จะถูกยับยังการทํ + างานด้ วยการถูกเติมหมูฟ่ อสเฟตที E1 และเมือ [ATP] ลดลง การ
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๑๐๒

ทํางานของเอนไซม์ไคเนสจะลดลงและเอนไซม์ฟอสฟาเตสจะไปกําจัดหมูฟ่ อสเฟตบน E1 ออก ทําให้ เอนไซม์


คอมเพล็กซ์ถกู กระตุ้นให้ ทํางานอีกครัง+
 . แสดงการควบคุมการไหลเมตาบอไลท์
(Metabolite flow) จากไพรูเว็ตผ่านวัฏจักรกรดซิตริ ก
เอนไซม์ไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ (PCD) ถูก
างานเมือมีอตั ราส่วน [ATP]/[ADP],
[NADH]/[NAD+] และ [Acetyl–CoA]/[CoA] สูง ซึง
ยับยังการทํ
(

ดังกล่าวลดลงเอนไซม์ PDC จะถูกกระตุ้นให้ ทํางาน


แสดงว่า เซลล์มีพลังงานเพียงพอ เมืออัตราส่วนต่างๆ

อัตราการไหลผ่านวัฏจักรกรดซิตริ กถูกจํากัดได้ ด้วย

ซาโลอะซีเตรท และอะเซ็ทติลโคเอ หรื อของ NAD+


ระดับซับสเตรทของเอนไซม์ซิเตรทซินเธส, ออก

(ลดลงด้ วยการเปลียนเป็ น NADH) ซึง ทําให้ อตั ราเร็ ว


ของปฏิกิริยาทีต้องการ NAD (NAD–dependent
oxidation step) ๓ ปฏิกิริยา ส่วนการยับยั (งแบบ
ย้ อนกลับ (Feedback inhibition) เกิดขึ (นจากซัคซินิล
โคเอ, ซิเตรท, และ ATP ซึง ชลอความเร็ วของวัฏจักร
ด้ วยการยับยังขั
( (นตอนแรกๆ ของวัฏจักร

ในทางตรงกันข้ าม α1–adrenergic agonist และฮอร์ โมน (เช่น วาโซเพรสซิน (Vasopressin) สามารถ


กระตุ้นการทํางานของเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสด้ วยการเพิมระดับแคลเซียมไอออน (Ca2+) ในไซโตพลา
สซึม ทําให้ ระดับแคลเซียมไอออนในไมโตรคอนเดรี ยเพิมสูงขึ +นตามไปด้ วย ระดับแคลเซียมในไมโตคอนเดรี ยที
เพิมสูงขึ +นทําให้ PDC ทํางานได้ ด้วยการกระตุ้นเอนไซม์ฟอสฟาเตส ฮอร์ โมนอินซูลินสามารถเร่ งการเปลียนไพรู
เว็ตไปเป็ นอะเซ็ทติลโคเอเช่นเดียวกัน โดยอินซูลินกระตุ้นการดึงหมูฟ่ อสเฟต (Dephosphory-lation) ออกจาก
คอมเพล็กซ์ และทําให้ กลูโคสเปลียนเป็ นไพรู เว็ตเช่นกัน
 . แสดงการควบคุมการทํางาน

เพล็กซ์ (PDC) คอมเพล็กซ์ถกู


ของ ไพรูเว็ตดีไฮโดรจีเนสคอม

ของปฏิกิริยาคือ NADH, อะเซ็ท


ยับยั (งการทํางานโดยผลผลิต
ติลโคเอ นอกจาก PDC ยังถูก
ควบคุมโดยการทํางานโดยการ
ดัดแปลงพันธะโควาเลนซ์
การทํางานของ PDC และฟอส
ไนเนสเติมหมูฟ่ อสเฟตและหยุด

PDC ด้ วยการดึงหมูฟ่ อสเฟต


ฟาเตสกระตุ้นการทํางานของ

ออก

เอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ของพืช พบอยู่ในเมตริ กของไมโตคอนเดรี ยและในพลา


สติด (Plastid) PDC ของพืชถูกยับยังการทํ
+ างานโดย NADH ซึง อาจถือได้ วา่ เป็ นตัวควบคุมปฐมภูมิ (Primary
regulator) ส่วน PDC ของ E.Coli มีการควบคุมคล้ ายคลึงกับเอนไซม์ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง แต่ดเู หมือนไม่มี
การควบคุมแบบทีมีการเติมหมูฟ่ อสเฟต
๑๐๓ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

 >! & .($$ (The Citric Acid Cycle Is Controlled at


Several Points)
อัตราการดําเนินไปของวัฏจักรกรดซิตริ กสามารถถูกปรับให้ เหมาะสมได้ ตามความต้ องการ
พลังงาน หรื อ ATP ของเซลล์ ดังรู ป ๓.๑๖ จุดควบคุมวัฏจักรจุดแรกคือ ขันตอนปฏิ
+ กิริยาทีถกู เร่ งเอนไซม์ไอโซซิ
เตรทดีไฮโดรจีเนส
เอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส ถูกกระตุ้นให้ ทํางาน
โดย ADP ซึง ส่งเสริ มให้ เอนไซม์จบั กับซับเตรท (Affinity) ได้ ดียิงขึ +น
การจับของไอโซซิเตรท NAD+, Mg2+ และ ADP ต้ องอาศัยความ
ร่ วมมือซึง กันและกัน (Mutual co–operative) ในทางกลับกัน NADH
มีผลยับยังการทํ
+ างานของเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสด้ วย
การแทนที NAD+ และ ATP มีผลไปยับยังเอนไซม์ + นี +ด้ วยเช่นกัน
อย่างไรก็ตามเป็ นทีน่าสังเกตว่า มีปฏิกิริยาหลายขันตอนที+ ต้อง-
การใช้ NAD หรื อ FAD ซึง มักมีระดับสูงเมือเซลล์มีพลังงานตํา
+

ตําแหน่งทีควบคุมการทํางานของวัฏจักรกรดซิตริ ก
ตําแหน่งที ๒ คือ อัลฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส การควบคุม  . แสดงการควบคุมวัฏจักรกรดซิตริ ก
การทํางานของเอนไซม์นี +มีบางลักษณะทีคล้ ายคลึงกับการ
เข้ มข้ นของ ATP และ NADH ภายในเซลล์
วัฏจักรกรดซิตริ กถูกควบคุมโดยระดับความ
ควบคุมการทํางานของ PDC (คาดการณ์จากความเหมือนกัน
(Homology) ของทังสองเอนไซม์
จุดควบคุมที$สําคัญคือ ขันตอนที
 $ถกู เร่ ง
+ ) เอนไซม์อลั ฟา–คีโตกลูตาเรตดี
างานโดยซัคซินิลโคเอ (Succinyl CoA)
ปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดร
ไฮโดรจีเนสถูกยับยังการทํ
+
และ NADH ซึง เป็ นผลผลิตของปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์
จีเนสและอัลฟา-คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนส

นอกจากนี +เอนไซม์อลั ฟา-คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนสยังถูกยับยังด้


+ วยภาวะทีเซลล์มีระดับพลังงานสูง ดังนัน+
อัตราเร็ วของวัฏจักรจะลดลงเมือเซลล์มีระดับพลังงาน หรื อ ATP สูง
ในแบคทีเรี ยหลายชนิด การไหลของสารคาร์ บอน ๒ อะตอมในวัฏจักรถูกควบคุมด้ วยเช่นกัน การ
สังเคราะห์ซิเตรทจากออกซาโลอะซีเตรทและอะเซ็ทติลโคเอคือ จุดควบคุมทีสําคัญของสิงมีชีวิตเหล่านี + โดยมี
ATP เป็ นตัวยับยังการทํ
+ างานของซิเตรทซินเตส เนืองจาก ATP มีผลไปเพิมค่า KM (Michaelis constant)
สําหรับอะเซ็ทติลโคเอ ดังนันในขณะที
+ ระดับ ATP เพิมขึ +น จึงมีเอนไซม์ชนิดนี +เพียงเล็กน้ อยทีจบั กับอะเซ็ทติลโค
เอและมีซิเตรทเกิดขึ +นเล็กน้ อย
/$$ ? /$"1'@$>" 5" & (Citric Acid
Cycle Components are Important Biosynthesis Intermediates)
ดังทีได้ กล่าวมาทังหมดจะเห็
+ นว่า วัฏจักรกรดซิตริ กคือ วิถีเมตาบอลิซมึ หลักทีเซลล์ใช้ ในการสร้ าง
พลังงาน แต่วฏั จักรกรดซิตริ กยังเป็ นจุดศูนย์กลางเมตาบอลิซมึ ของเซลล์ (Major metabolic hub of the cell) ใน
การเป็ นแหล่งผลิตสารมัธยันต์สําหรับการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุล ดังรู ป ๓.๑๗ และ ๓.๑๘ ยกตัว-อย่างเช่น
อัลฟา–คีโตกลูตาเรตและออกซาโลอะซีเตรทสามารถทําหน้ าทีเป็ นสารตังต้ + น (Precursor) สําหรับใช้ ในการ
สร้ างกรดอะมิโนแอสปาเตทและกลูตาเมต จากนันคาร์ + บอนอะตอมของออกซาโลอะซีเตรท และอัลฟา–คีโตก
ลูตาเรตจะถูกใช้ ไปสําหรับการสังเคราะห์กรดอะมิโนและพิวรี น (Purine) และไพริ มิดีนนิวคลีโอไทด์ (Pyrimidine
nucleotide) ส่วนออกซาโลอะซีเตรทถูกเปลียนกลับไปเป็ นกลูโคสโดยผ่านวิถีกลูโคนีโอเจนีซิส (Gluconeo-
genesis) (จะได้ กล่าวในบทต่อไป) ซัคซินิลโคเอเป็ นสารมัธยันต์ทีสําคัญสําหรับสังเคราะห์ห่วงพอร์ ไฟริ น
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๑๐๔

(Porphyrin ring) ของฮีม (Heme group) ซึง ทําหน้ าทีในการลําเลียงออกซิเจน (ในฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)
และไมโอโกลบิน (Myoglobin) และตัวพาอีเล็กตรอน (ในไซโตโครม (Cytochrome))

 . แสดงบทบาทของกรดซิตริ กในวิถีอะนาบอลิซมึ (Anabolism) สารมัธยันต์ของวัฏจักรกรดซิตริ ก


' น (Precursor) ในวิถีการสังเคราะห์สารชีว
ถูกแยกออกให้ เห็นชัดเจนในการทําหน้ าที#เป็ นสารตังต้
โมเลกุล (Biosynthetic pathway) ลูกศรสีแดงคือ ๔ ปฏิกิริยาหลัก (Anaplerotic reaction) ที#ทําหน้ าที#
เติมเต็มสารมัธยันต์ในวัฏจักรที#ลดลง
."1'$"1  /$$  (Anaplerotic Reactions Replenish Citric Acid Cycle
Intermediates)
สารมัธยันต์ในวัฏจักรกรดซิตริ กหลายชนิดสามารถทําหน้ าทีเป็ นสารตังต้ + น หรื อ “Precursor” และถูก
ใช้ ไปในวิถีการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุล ทําให้ เซลล์ต้องมีการเติมเต็มสารมัธยันต์ในวัฏจักรด้ วยปฏิกิริยาที
เรี ยกว่า ปฏิกิริยาอะนาเพลอโรติก (Anaplerotic reaction) (รู ป ๓.๑๗ และตาราง ๓.๓) ในภาวะปกติเมือมี
ปฏิกิริยาทีทําให้ สารมัธยันต์ในวัฏจักรกรดซิตริ กถูกใช้ ไป (นําออกไปจากวัฏจักร) เพือเข้ าสูวิถีเมตาบอลิซมึ อืน
ั + การสร้ างขึ +นใหม่มาเติมเต็มเพือทดแทน เป็ นการรักษาสมดุล (Dynamic balance) ดังนัน+
สารมัธยันต์นนจะมี
สารมัธยันต์ในวัฏจักรกรดซิตริ กจึงมีระดับคงทีเสมอ

 .  แสดงวัฏจักรกรดซิตริ กและสารมัธยันต์


สําหรับการสังเคราะห์สารชีวโมเลกุล
๑๐๕ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

 4.4 แสดงปฏิกิริยาอะนาเพลอโรติก (Anaplerotic reaction)


    (Tissue)/ !
Pyruvate + HCO3- + ATP  Oxaloacetate + ADP + Pi
(pyruvate carboxylase) ตับ, ไต
Phosphoenolpyruvate + CO2 + GDP  Oxaloacetate + GTP
(PEP carboxykinase) หัวใจ กล้ ามเนื #อลาย
Phosphoenolpyruvate + HCO3-  Oxaloacetate + Pi
(PEP carboxykinase) พืชชันสู
# ง ยีสต์ แบคทีเรีย
Pyruvate + HCO3- + NAD(P)H  Malate + NAD(P)+
(malic enzyme) Eukaryotes, Prokaryotes

ตาราง ๓.๓ แสดงปฏิกิริยาอะนาเพลอโรติกในเนื +อเยือชนิดต่างๆ ทีเซลล์ใช้ ในการเปลียนไพรู เว็ต


หรื อฟอสโฟอีนอลไพรู เว็ตไปเป็ นออกซาโลอะซีเตรท หรื อมาเลต ปฏิกิริยาอะนาเพลอโรติกในตับ (Liver) และไต
(Kidney) ทีสําคัญทีสดุ ของสัตว์เลี +ยงลูกด้ วยนํ +านมคือ ปฏิกิริยาคาร์ บ๊อกซิเลชัน ทีผนั กลับได้ (Reversible
carboxylation) ของไพรู เว็ต โดยใช้ คาร์ บอนไดออกไซด์สร้ างออกซาโลอะซีเตรท ปฏิกิริยานี +ถูกเร่ งโดยเอนไซม์
ไพรู เว็ตคาร์ บ๊อกซิเลส (Pyruvate carboxylase) เมือในวัฏจักรขาดแคลนออกซาโลอะซีเตรท หรื อสารมัธยันต์
อืนๆ ไพรู เว็ตจะเกิดปฏิกิริยาคาร์ บ๊อกซิเลชัน (เติมหมูค่ าร์ บ๊อกซิล) เพือสร้ างออกซาโลอะซีเตรทเพิมมากขึ +น
เอนไซม์ทีทําหน้ าทีเติมหมูค่ าร์ บ๊อกซิลให้ กบั ไพรู เว็ตเป็ นเอนไซม์ทีต้องการพลังงาน จึงเป็ นปฏิกิริยาทีต้องใช้
ATP
เอนไซม์ไพรู เว็ตคาร์ บ๊อกซิเลสเป็ นเอนไซม์ทําหน้ าทีควบคุม และเอนไซม์นี +ไม่ทํางานเมือไม่มีอะเซ็ท
ติลโคเอ เนืองจากอะเซ็ทติลโคเอเป็ นตัวกระตุ้นให้ เอนไซม์ทํางาน เมือใดก็ตามทีมีระดับอะเซ็ทติลโคเอในวัฏ
จักรมากเกินพอ (Excess) มันจะกระตุ้นให้ เกิดปฏิกิริยาทีถกู เร่งโดยเอนไซม์ไพรู เว็ตคาร์ บ๊อกซิเลสให้ มีการสร้ าง
ออกซาโลอะซีเตรท เพือทําให้ วฏั จักรกรดซิตริ กดําเนินไป ทําให้ มีการใช้ อะเซ็ทติลโคเอในปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดย
เอนไซม์ซิเตรทซินเธสเพิมมากขึ +น
ปฏิกิริยาอะนาเพลอโรติกอืนๆ ทีแสดงในตาราง ๓.๓ ล้ วนถูกควบคุมเพือทําให้ ระดับสารมัธยันต์
ในวัฏจักรมีระดับสูงพอทีจะทําให้ การทํางานของวัฏจักรสามารถดําเนินต่อไปได้ ยกตัวอย่างเช่น เอนไซม์ฟอส
โฟอีนอลไพรู เว็ตคาร์ บ๊อกซิเลสถูกกระตุ้นโดยฟรุ๊ กโต๊ ส ๑,๖–บิสฟอสเฟต (สารมัธยันต์ในวิถีไกลโคไลซิส) ซึง จะ
มีการสะสมเมือการดําเนินไปของวัฏจักรกรดซิตริ กช้ าลง
    - !  .6$ &'    "1 ( $ 5) , .6$D
.,$! (The Disruption of Pyruvate Metabolism Is the Cause of Berberi and Poisoning by
Mercury and Arsenic)
เบอรี เบอรี (Beriberi) หรื อโรคเหน็บชา เป็ นภาวะความผิดปกติทางประสาท (Neurologic disorder)
และระบบสูบฉีดโลหิต (Cardiovascular disorder) เกิดขึ +นจากการขาดวิตามินบี ๑ หรื อ Thiamine (Vitamin B1)
โรคนีพบมากในผู้คนในแถบตะวันออกไกล (Far East) เนืองจากคนแถบนี +กินข้ าวเป็ นอาหารหลัก แต่ข้าวเป็ น
อาหารทีมีไธอะมีนตํา หรื อในข้ าวขัดขาว ลักษณะทีจําเพาะของโรคนี +คือ มีกลุม่ อาการทางระบบประสาทและ
ระบบสูบฉีดโลหิต กรณีทีมีอาการปวดตามแขนขา กล้ ามเนื +อมีการอ่อนแรง (Muscular weakness) การรับรู้ ทาง
ผิวหนังเสียไป นัน แสดงว่า มีการทําลายของระบบประสาทส่วนขอบ (Peripheral nervous system damages)
หัวใจอาจมีการขยายใหญ่ (Cardiac enlargement) และมีการสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ (Cardiac output)
ลดลง
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๑๐๖

ภาวะการขาดไธอะมีนมีผลอย่างไรต่อกระบวนการทางชีวเคมีภายในร่ างกาย ยังคงเป็ นคําถามที +


ต้ องหาคําตอบต่อไป ไธอะมีนไพโรฟอสเฟต (Thiamine pyrophosphate:TPP) ทําหน้ าทีเป็ น “Prosthetic group”
ของเอนไซม์ทีสําคัญอย่างน้ อย ๓ ชนิดคือ ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนส อัลฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนสและทรานส์
คีโตเลส (Transketolase) เอนไซม์ทรานส์คีโตเลสทํางานในวิถีเพ็นโต๊ สฟอสเฟต (Pentose phosphate pathway)
(จะได้ กล่าวถึงในบทต่อๆ ไป) ลักษณะของปฏิกิริยาทีใช้ TPP คือ การย้ าย “Activated aldehyde unit” ในกรณี
โรคเบอรี เบอรี มกั พบว่า ในเลือดมีระดับของไพรู เว็ตและอัลฟา–คีโตกลูตาเรตสูงกว่าระดับปกติ โดยเฉพาะ
อย่างยิงระดับไพรู เว็ตจะเพิมสูงขึ +นอย่างมากหลังจากทีได้ กินกลูโคส และพบว่า การทํางานของเอนไซม์ไพรู เว็ต
และอัลฟา–คีโตกลูตาเรตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์จะตํากว่าปกติ ส่วนระดับของเอนไซม์ทรานส์คีโตเลสทีตํา
ของเม็ดเลือดแดงพบได้ โรคเบอรี เบอรี พบได้ เสมอ และสามารถใช้ เป็ นตัวบ่งชีเ+ พือการตรวจวินิจฉัยโรคนี +ได้
การขาด TPP มักทําให้ เกิดความผิดปกติทางระบบประสาท เนืองจากเซลล์ประสาทต้ องใช้ กลูโคส
เป็ นพลังงาน ในขณะทีเซลล์ชนิดอืนๆ ในร่ างกายอาจใช้ ไขมันในการสร้ างพลังงานในวัฏจักรกรดซิตริ กได้
ผลผลิตจากวิถีไกลโคไลซิสแบบมีออกซิเจน (Aerobic glycolysis) คือ ไพรู เว็ตสามารถเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กได้
ด้ วยวิถีการทํางานของเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์เท่านัน+
อาการป่ วยทีคล้ ายคลึงกับโรคเบอรี เบอรี จะเกิดขึ +นเมือร่ างกายได้ รับสารปรอท หรื ออาเซไนต์
(AsO33-) สารทัง+ ๒ ชนิดมีความชอบทีจะจับกับซัลไฮดริ ล (High affinity for neighboring sulfhydryl) เช่น หมู่
รี ดิวซ์ไดไฮโดรไลโปอิล (Reduced dihydrolipoyl groups) ของไดไฮโดรไลโปอิลดีไฮโดรจีเนส (Dihydrolipoyl
dehydrogenase component) ของเอนไซม์ไพรู เว็ตดีไฮโดรจีเนสคอมเพล็กซ์ การจับของสารปรอท หรื ออาเซ
ไนต์กบั หมูไ่ ดไฮโดรไลโปอิลมีผลไปยับยังการทํ
+ างานของคอมเพล็กซ์และทําให้ ระบบประสาทส่วนกลางมีการ
ทํางานผิดปกติ การรักษาภาวะดังกล่าวทําได้ ด้วยการให้ สารทีมีหมูซ่ ลั ไฮดริ ลเพือให้ ไปแย่งจับกับหมูไ่ ดไฮโดร-
ไลโปอิลกับไอออนของโลหะ และขับออกทางปั สสาวะในทีสดุ
    (The Glyoxylate Cycle)
สัตว์มีกระดูกสันหลังไม่สามารถเปลียนกรดไขมัน หรื ออะซีเตททีได้ มาจากกรดไขมันให้ เป็ นคาร์
โบไฮเดรทได้ ปฏิกิริยาการเปลีย นฟอสโฟอีนอลไพรู เวตไปเป็ นไพรู เวต และเปลียนไพรู เวตไปเป็ นอะเซ็ทติลโคเอ
(รู ป ๓.๕) เป็ นปฏิกิริยาคายพลังงาน (Exergonic) ทีผนั กลับไม่ได้ ถ้ าเซลล์ไม่สามารถเปลียนอะซีเตทไปเป็ น
ฟอสโฟอีนอลไพรู เวตได้ อะซีเตทจะไม่สามารถทําหน้ าทีเป็ นวัตถุดิบตังต้+ นสําหรับวิถีกลูโคนีโอเจนีซิส ซึง ทําให้
ฟอสโฟอีนอลไพรู เวตเปลียนเป็ นกลูโคส ถ้ าเซลล์ปราศจากปฏิกิริยา หรื อความสามารถนี + เซลล์หรื อสิงมีชีวิต
ชนิดนันจะไม่
+ สามารถเปลียนสารอาหาร หรื อเมตาบอไลซ์ (Metabolites) ทีถกู สลายให้ เป็ นอะซีเตท (กรดไขมัน
และกรดอะมิโนบางชนิด) ให้ เป็ นคาร์ โบไฮเดรทได้
ดังได้ กล่าวไปแล้ วว่า ใน Anaplerotic reaction ฟอสโฟอีนอลไพรู เวตสามารถสร้ างจากออกซาโลอะซี
เตทได้ จากปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์ PEP carboxylase ทีผนั กลับได้ ดังนี +
Oxaloacetate + GTP  Phosphoenolpyruvate + CO2 + GDP
เนืองจากคาร์ บอนอะตอมของโมเลกุลอะซีเตท ซึง เข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กและทีสดุ เกิดเป็ นออก
ซาโลอะซีเตท ทําให้ อาจดูเหมือนว่าวิถีปฏิกิริยานี +สามารถสร้ างออกซาโลอะซีเตทจากอะซีเตทได้ และทําให้
เข้ าใจได้ วา่ สามารถสร้ างฟอสโฟอีนอลไพรู เวตสําหรับใช้ ในวิถีกลูโคนีโอเจนีซิสได้ อย่างไรก็ตามจากการศึกษา
การทํางานของวัฏจักรกรดซิตริ ก ทําให้ ทราบว่า ในสัตว์มีกระดูกสันหลังไม่มีการเปลียนอะซีเตทไปเป็ นออก
ซาโลอะซีเตท คาร์ บอนอะตอมทุก ๒ อะตอมทีเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กในรู ปของอะเซ็ทติลโคเอจะออกจากวัฏ
๑๐๗ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

จักรในรู ปของคาร์ บอนไดออกไซด์ ในสิงมีชีวิตหลายชนิด (ทีไม่ใช่สตั ว์มีกระดูกสันหลัง) จะมีวฏั จักรไกลออกซิ


เลต (Glyoxylate cycle) ทําหน้ าทีเป็ นกลไกในการเปลียนอะซีเตทไปเป็ นคาร์ โบไฮเดรท
. "1" $ 3  "    
ในพืช สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดและจุลินทรี ย์บางชนิด (รวมทังยี + สต์และ E.coli) สามารถ
ใช้ อะซีเตทเป็ นแหล่งพลังงานและเป็ นแหล่งของสารต้ นนําทีใช้ สร้ างฟอสโฟอีนอลไพรู เวต เพือใช้ สร้ างคาร์ โบไฮ
เดรท สิงมีชีวิตเหล่านี +มีเอนไซม์ในวัฏจักรไกลโคซิเลตเร่ งปฏิกิริยาทีเปลียนอะซีเตทไปเป็ นซัคซิเนตหรื อสารมัธ
ยันต์ชนิดอืนๆ ของวัฏจักรกรดซิตริ กทีมีคาร์ บอน ๔ อะตอม ดังปฏิกิริยาสุทธิข้างล่าง
2Acetyl CoA + NAD+ + 2H2O  Succinate + 2CoA + NADH + H+
ในวัฏจักรไกลออกซิเลต อะเซ็ทติลโคเอจะรวมตัวกับออกซาโลอะซีเตท (Oxaloacetate) เป็ นซิเตรท
(Citrate) จากนันซิ + เตรทจะถูกเปลียนไปเป็ นไอโซซิเตรท (Isocitrate) (เหมือนกับวัฏจักรกรดซิตริ ก) อย่างไรก็ตาม
ปฏิกิริยาในขันตอนต่
+ อไปของวัฏจักรไกลโคซิเลตไม่ใช่การสลาย (Breakdown) ไอโซซิเตรทโดยเอนไซม์ไอโซซิเต
รทดีไฮโดรจีเนส แต่เป็ นปฏิกิริยาสลายไอโซซิเตรททีถกู เร่ งโดยเอนไซม์      (Isocitrate lyase) สร้ าง
ซัคซิเนต (Succinate) และไกลออกซิเลต (Glyoxylate) หลังจากนันไกลออกซิ + เลตรวมกับอะเซ็ทติลโคเอโมเลกุล
ทีสองได้ มาเลตโดยปฏิกิริยาทีถกู เร่ งโดยเอนไซม์
 $  (Malate synthase) มาเลตทีเกิดขึ +นถูก
ออกซิไดซ์ไปเป็ นออกซาโลอะซีเตท ซึง สามารถ
รวมตัว (Condense) กับอะเซ็ทติลโคเออีกโมเลกุล
หนึง เพือเข้ าสูว่ ฏั จักรไกลออกซิเลตรอบใหม่ตอ่ ไป
ดังรู ป ๓.๑๙
วัฏจักรไกลออกซิเลตแต่ละรอบจะ
ใช้ อะเซ็ทติลโคเอ ๒ โมเลกุลและได้ ซคั ซิเนต ๑
โมเลกุล ซึง สามารถใช้ ในวิถีการสังเคราะห์ชีวโมเล-
กุลอืนได้ ซัคซิเนตอาจถูกเปลียนไปเป็ นฟูมาเรต
และมาเลตและออกซาโลอะซีเตทได้ จากนันออก +
ซาโลอะซีเตทสามารถถูกเปลียนเป็ นฟอสโฟอีนอล
ไพรู เวตโดย PEP carboxykinase และทีสดุ สร้ างเป็ น
กลูโคสโดยวิถีกลูโคนีโอเจนีซิสได้ สัตว์มีกระดูกสัน
หลังไม่มีเอนไซม์ทีจําเพาะต่อวัฏจักรไกลออกซิเลต
(Isocitate lyase และ Malate synthase) ดังนันสั + ตว์
มีกระดูกสันหลังจึงไม่สามารถสังเคราะห์กลูโคส
 .  แสดงวัฏจักรไกลออกซิเลต (Glyoxylate cycle) ซิเต
จากกรดไขมันได้
สําหรับในพืช เอนไซม์ในวัฏจักรไกลออก รทซินเทส อะโคนิเทสและมาเลตดีไฮโดรจีเนสของวัฏจักรไกล
ออกซิเลตเป็ นไอโซเอนไซม์ของเอนไซม์ในวัฏจักรกรดซิตริ ก
ซิเลตจะฝั งตัวอยู่ทีเมมเบรนของออแกเนลล์ที
เรี ยกว่า ไกลออกซิโซม (Glyoxysome) ซึง เป็ นเปอร์ -
เอนไซม์ไอโซซิเตทไลเอสและมาเลตซินเทสเป็ นเอนไซม์ที$
จําเพาะต่อวัฏจักรไกลออกซิเลตเท่านัน สังเกตว่า หมู่อะ-เซ็ท
ร๊ อกซิโซมทีจําเพาะชนิดหนึง (Special peroxisome)
ติล (สีชมพู) เข้ าสู่วฏั จักรและคาร์ บอน ๔ อะตอมออกจากวัฏ
จักรในรู ปของซัคซิเนต (สีฟ้า)
ไกลออกซิโซมไม่ได้ พบได้ ในเนื +อเยือของพืชทุกชนิด
ตลอดเวลา ไกลออกซิโซมถูกพัฒนาขึ +นในเมล็ดทีมไี ขมันมาก (Lipid–rich seeds) ในระหว่างทีมีการเจริ ญ-
บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก ๑๐๘

เติบโต ซึง เป็ นช่วงทีพืชกําลังเจริ ญเติบโตจะสามารถสังเคราะห์แสงได้ ในไกลออกซิโซมจะมีเอนไซม์ในวัฏจักร


ไกลออกซิเลตแล้ วยังมีเอนไซม์ทีจําเป็ นต้ องใช้ ในการย่อยสลายกรดไขมันในเมล็ดพืชด้ วย อะเซ็ทติลโคเอที
เกิดขึ +นจากการสลายกรดไขมันถูกเปลียนเป็ นซัคซิเนตโดยผ่านวัฏจักรไกลออกซิเลต และจากนันซั + คซิเนตจึง
ถูกส่งไปยังไมโตคอนเดรี ย ในไมโตคอนเดรี ยเอนไซม์ในวัฏจักรกรดซิตริ กเปลียนซัคซิเนตไปเป็ นมาเลต ไอโซ
ไซม์ของเอนไซม์มาเลตดีไฮโดรจีเนสออกซิไดซ์มาเลตไปเป็ นออกซาโลอะซีเตท ซึง เป็ นสารต้ นนํา (Precursor)
สําหรับวิถีกลูโคนีโอเจนีซิส ดังนันเมล็
+ ดพืชจึงสามารถเปลียนไขมันไปเป็ นกลูโคสได้
 &*$ ,   
ในเมล็ดพืชทีกําลังเจริ ญเติบโต (Germinating seeds) การเปลีย นแปลงกรดไดคาร์ บ๊อกซิลิกและไตร
คาร์ บ๊อกซิลิกเกิดขึ +นภายในเซลล์ในออแกเนลล์ ๓ ส่วน
ได้ แก่ ไมโตคอนเดรี ย ไกลออกซิเลตและไซโตพลาสซึม
และในออแกเนลต่างๆ มีการแลกเปลียนเมตาบอไลซ์
กันอยู่ตลอดเวลา (รู ป ๓.๒๐)
คาร์ บอนอะตอมของออกซาโลอะซีเตรท
จากวัฏจักรกรดซิตริ ก (ในไมโตคอนเดรี ย) ถูกลําเลียง
ไปยังไกลออกซิโซมในรู ปของแอสปาเตท (Aspartate)
จากนันแอสปาเตทถู
+ กเปลียนเป็ นออกซาโลอะซีเตท
ซึง ต่อไปจะรวมตัวกับอะเซ็ทติลโคเอทีได้ มาจากการ
สลายกรดไขมัน ทําให้ ได้ ซิเตรท จากนันซิ + เตรทถูก
เปลียนเป็ นไอโซซิเตรทโดยเอนไซม์อะโคนิเทส จากนัน+
จึงแยกออกเป็ นซัคซิเนต และไกลออกซิเลตโดย
เอนไซม์ไอโซซิเตรทไลเอส ซัคซิเนตทีเกิดขึ +นกลับเข้ าสู่
ไมโตคอนเดรี ย และเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กอีกครัง+ และ
เปลียนเป็ นมาเลต มาเลตทีเกิดขึ +นจะเข้ าสูไ่ ซโตพลา
สซึมและถูกออกซิไดซ์ไปเป็ นออกซาโลอะซีเตท (โดย
เอนไซม์ Cytosolic malate dehydrogenase) ออก
ซาโลอะซีเตทเข้ าสูว่ ิถีกลูโคนีโอเจนีซิสสร้ างเป็ นเฮ็ก
โซ๊ ส (Hexoses) และซูโครส ซึง สามารถลําเลียงไปยัง
รากได้ การเปลียนแปลงดังทีกล่าวมาทังหมดพบว่
+ า มี
วิถีปฏิกิริยาทีแตกต่างกัน ๔ วิถีคือ การสลายกรดไขมัน
ไปเป็ นอะเซ็ทติลโคเอ (ในไกลออกซิโซม) วัฏจักรไกล
ออกซิเลต (ในไกลออกซิโซม) วัฏจักรกรดซิตริ ก (ในไม
โตคอนเดรี ย) และวิถีกลูโคนีโอเจนีซิส (ในไซโตพลา
สซึม)  . แสดงความสัมพันธ์ระหว่างวัฏจักรกรดซิตริ ก
และวัฏจักรไกลออกซิเลต วัฏจักรไกลออกซิเลต (ในไกล
วัฏจักรทัง+ ๒ ชนิดมีการใช้ สารมัธยันต์ร่วม ออกซีโซม) ดําเนินไปพร้ อมๆ กับวัฏจักรกรดซิตริ ก (ในไม
(Common intermediates) ร่ วมกัน ทําให้ ทงั + ๒ วิถี
โตคอนเดรี ย) เนื$องจากสารมัธยันต์ผ่านระหว่างออ
(Coordinately
แกเนลทังสอง
 การเปลี$ยนซัคซิเนตไปเป็ น ออกซาโลอะซี
ปฏิกิริยาต้ องมีการควบคุมร่ วมกัน เตรทถูกเร่ งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์ในวัฏจักรกรดซิตริ ก
regulated) ไอโซซิเตรทเป็ นสารมัธยันต์ทีสําคัญทีจดุ
ส่วนปฏิกิริยาการออกซิเดชัน$ กรดไขมันไปเป็ นอะเซ็ทติล
โคเอจะกล่าวถึงในบทที$ ๖
๑๐๙ บทที ๓ วัฏจักรกรดไตรคาร์ บ๊อกซิลิก

เปลียนระหว่างวัฏจักรไกลออกซิเลตและวัฏจักรกรดซิตริ ก (รูป ๓.๒๐) ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสถูกควบคุมโดย


การดัดแปลงโควาเลนซ์ (Covalent modification) ด้ วยการถูกเติมหมูฟ่ อสเฟตโดยโปรตีนไคเนสทีจําเพาะบาง
ชนิด ด้ วยเหตุนี +จึงทําให้ ดีไฮโดรจีเนสไม่ทํางาน (Inactive) การทีไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสไม่ทํางานทําให้ ไอโซซิ
เตรทถูกนําเข้ าสูว่ ฏั จักรไกลออกเลต ซึง เป็ นวัฏจักรทีเริ มเข้ าสูว่ ิถีการสังเคราะห์กลูโคส เมือ Phosphoprotein
phosphatase กําจัดหมูฟ่ อสเฟตออกจากไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส เอนไซม์ดีไฮโดรจีเนสจะกลับมาทํางานอีก
ครัง+ (Reactivating) และทําให้ มีการส่งไอโซซิเตรท
กลับเข้ าสูว่ ฏั จักรทีสร้ างพลังงานคือ วัฏจักรกรดซิ
ตริ ก
แบคทีเรี ยบางชนิด รวมทัง+ E.coli มี
เอนไซม์ในวัฏจักรไกลออกซิเลตและวัฏจักรกรดซิ
ตริ กอย่างสมบูรณ์ในไซโตพลาสซึม ดังนันแบค- +
ทีเรี ยจึงสามารถเจริ ญเติบโตได้ ในทีทีมีอะซีเตรท
เป็ นแหล่งของคาร์ บอนและพลังงานเพียงอย่าง
เดียว Phosphoprotein phosphatase ซึง กระตุ้นให้
เอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสทํางานถูก
กระตุ้นให้ ทํางานได้ ด้วยสารมัธยันต์ของวัฏจักร
กรดซิตริ กและไกลโคไลซิส และโดยปั จจัยทีเป็ น
ตัวบ่งชี +ระดับพลังงานของเซลล์ (รู ป ๓.๒๑)
สารมัธยันต์เดียวกันนี +มีผลไปยับยังการทํ
+ างาน
ของเอนไซม์โปรตีนไคเนส (Protein kinase) ของ
Bifunctional polypeptides ดังนัน+ การสะสมของ
สารมัธยันต์ของวิถีปฏิกิริยา หรื อ วัฏจักรทีสําคัญ
ในการสร้ างพลังงาน แสดงให้ เห็นว่า เซลล์มี
ระดับพลังงานลดลง เป็ นผลทําให้ เกิดการกระตุ้น
การทํางานของเอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนส
สารมัธยันต์ของวิถีไกลโคไลซิส
และวัฏจักรกรดซิตริ ก ซึง กระตุ้นการทํางานของ
เอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสเป็ น Allosteric
inhibitor ของเอนไซม์ไอโซซิเตรทไลเอส (Isoci-
trate lyase) เมือวิถีเมตาบอลิซมึ ทีสร้ างพลังงาน  . แสดงการควบคุมร่วมกันของวัฏจักรไกลออกซิ
เลตและวัฏจักรกรดซิตริ ก การควบคุมการทํางานของ
เกิดขึ +นในอัตราทีเร็ วพอทีทําให้ ระดับของสารมัธ เอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสเป็ นตัวกําหนดการ
ยันต์ของวิถีไกลโคไลซิสและวัฏจักรกรดซิตริ กอยู่ แบ่งแยกไอโซซิเตรทระหว่างวัฏจักรไกลออกซิเลต
และวัฏจักรกรดซิตริ ก เมื#อไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสไม่
ในระดับตํา เอนไซม์ไอโซซิเตรทดีไฮโดรจีเนสจะ ทํางาน (Inactivated) โดยการถูกเติมหมูฟ่ อสเฟต
ถูกยับยังการทํ
+ างาน (Inactivate) การยับยังการ + (Phosphorylation) (โดย Specific protein kinase) ไอโซซิเตรท
จะถูกนําเข้ าสูว่ ิถีปฏิกิริยาการสังเคราะห์โดยวัฏจักรไกล
ทํางานของไอโซซิเตรทไลเอสจะผ่อนคลายลง ออกซิเลต เมื#อเอนไซม์ถกู กระตุ้นให้ ทํางานโดยการ
กําจัดหมูฟ่ อสเฟตออก (โดย Specific phosphatase) ไอโซซิ
และไอโซซิเตรทจะผ่านเข้ าสูว่ ิถีไกลออกซิเลตและ เตรทจะถูกนําเข้ าสูว่ ฏั จักรกรดซิตริ กและสังเคราะห์ ATP
ถูกใช้ ไปกับการสังเคราะห์คาร์ โบไฮเดรท กรดอะ
มิโนและองค์ประกอบอืนๆ ของเซลล์

You might also like