Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 75

การวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร

ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562


โดย
สานักการวางผังและพัฒนาเมือง
กรุงเทพมหานคร

1
กฎหมายผังเมืองฉบับเดิม
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
ประเภท แผนผัง
ผังเมืองรวม
แผนผั ง และข้ อ ก าหนดการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น จ าแนกประเภทเป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย
พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม และแผนผังแสดงที่โล่ง แผนผังแสดง
โครงการคมนาคมและขนส่ง และแผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค

ผังเมืองเฉพาะ
แผนผั งโครงการดาเนิ นการเพื่อการพัฒ นา การอนุ รักษ์ หรือการฟื้น ฟูบริเ วณใด
บริเวณหนึ่งของเมือง

2
การวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
(กฎกระทรวงฉบับที่ 116 พ.ศ.2535) (ปรับปรุงครั้งที่ 1) (ปรับปรุงครั้งที่ 2) (ปรับปรุงครั้งที่ 3)
(กฎกระทรวงฉบับที่ 414 พ.ศ. 2542) (กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2549) (กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2556)

- - -

3
กฎหมายผังเมืองฉบับใหม่
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
ประเภท แผนผัง
ผังนโยบายระดับประเทศ ภาค และจังหวัด
การกาหนดกรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ข องการพัฒนาประเทศในด้า นการใช้ พื้นที่
เพื่อให้หน่วยงานของรัฐดาเนินการ
ผังเมืองรวม
แผนผังและข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินจาแนกประเภทเป็นที่อยู่อาศัย พาณิชยกรรม
อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม แผนผังแสดงที่โล่ง แผนผังแสดงโครงการการคมนาคม
และการขนส่ง แผนผังแสดงโครงการสาธารณูปโภค สาธารณูปการและบริการสาธารณะ
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และแผนผังแสดงผังน้า
ผังเมืองเฉพาะ
แผนผังโครงการดาเนินการเพื่อการพัฒนา การอนุรักษ์ หรือการฟื้นฟูบริเวณใดบริเวณ
หนึ่งของเมือง 4
องค์ประกอบของผังเมืองรวม
พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวม 1) วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทาผังเมืองรวม
2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม 2) แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม
3) แผนผังโดยมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ 3) แผนผังโดยมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้
(ก) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท (ก) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
(ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง
(ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
(ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค (ง) แผนผังแสดงโครงการกิ จการสาธารณูปโภค สาธารณู ปการ และ
บริการสาธารณะ
(จ) แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(ฉ) แผนผังแสดงผังน้า
(ช) แผนผังอื่น ๆ ที่จาเป็น
4) รายการประกอบแผนผัง 4) รายการประกอบแผนผัง
5) ข้อกาหนดที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติ 5) ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินที่จะให้ปฏิบัติหรือไม่ให้ปฏิบัติ
6) นโยบาย มาตรการ และวิ ธี ดาเนิ น การเพื่ อ ปฏิ บั ติตามวั ตถุ ป ระสงค์ 6) นโยบาย มาตรการ และวิ ธี ด าเนิ น การเพื่ อ ปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม
ของผังเมืองรวม วัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม 5
ขั้นตอนการวางและจัดทาผังเมืองรวม
ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
1) กรุงเทพมหานครได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการผังเมืองให้ดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวม
2) จัดเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
3) วางและจัดทาร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
4) คณะกรรมการที่ปรึกษาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครพิจารณาให้ความเห็นต่อร่างผังเมืองรวม
5) ประชุมรับฟังความคิดเห็น การปรึกษาหารือ และการมีส่วนร่วมของประชาชน
6) ประมวลผลความคิดเห็นของประชาชนและนามาปรับปรุงร่างผังเมืองรวม
7) คณะกรรมการที่ปรึกษาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครพิจารณาให้ความเห็นต่อร่างผังเมืองรวม
8) กรมโยธาธิการและผังเมืองพิจารณาให้ความเห็นต่อร่างผังเมืองรวม
9) คณะกรรมการผังเมืองจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อร่างผังเมืองรวม

6
ขั้นตอนการวางและจัดทาผังเมืองรวม
ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
10) ปิดประกาศ 90 วัน และให้ผู้มีส่วนได้เสียสามารถยื่นคาร้องขอให้แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือ
ยกเลิกข้อกาหนดของผังเมืองรวม
11) รวบรวมคาร้อง และจัดทาความเห็นประกอบคาร้องของผู้มีส่วนได้เสีย
12) คณะกรรมการที่ปรึกษาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครพิจารณาให้ความเห็นต่อคาร้องของผู้มีส่วนได้เสีย
13) คณะกรรมการผังเมืองจังหวัดพิจารณาสั่งการต่อคาร้องของผู้มีส่วนได้เสีย
14) กรมโยธาธิการและผังเมืองให้ความเห็นต่อการพิจารณาคาร้องของผู้มีส่วนได้เสีย
15) คณะกรรมการผังเมืองจังหวัดแจ้งผลการพิจารณาคาร้องให้ผู้ยื่นคาร้องทราบ
16) แก้ไขปรับปรุงร่างผังเมืองรวมให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการผังเมืองจังหวัด
17) ออกข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครให้ใช้บังคับผังเมืองรวม
18) ประกาศข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในราชกิจจานุเบกษา
7
การวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518
วัน/เดือน/ปี การดาเนินการ
24 กรกฎาคม 2561 กรุงเทพมหานครเสนอการประเมินผลผังเมื องรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 และได้รับอนุมั ติ
จากคณะกรรมการผังเมืองให้ดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
สิงหาคม 2561 กรุ ง เทพมหานครด าเนิ นการจั ด เก็ บ และศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล และด าเนิ นการวางและจั ด ท า
ถึง เมษายน 2562 (ร่ า ง) ผั ง เมือ งรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ งครั้ ง ที่ 4) โดยการพิ จ ารณาให้ ความคิ ด เห็ นจาก
คณะที่ปรึกษาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
1, 11, 12 และ กรุงเทพมหานครดาเนินการจัดประชุ มเพื่อ รับฟังข้ อคิดเห็นของประชาชนต่อ (ร่า ง) ผังเมืองรวม
24 พฤษภาคม 2562 กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

ประชุมกลุ่มเขต ประชุมประชาชน 8
การวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 29 พฤกษาคม 2562)

วัน/เดือน/ปี การดาเนินการ
28 มกราคม 2564 คณะกรรมการผังเมืองมีมติให้กรุงเทพมหานครดาเนินการวางและจัดทาผังเมืองรวม
กรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4) ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
กุมภาพันธ์ 2564 กรุงเทพมหานครดาเนินการทบทวนการจัดเก็บและศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล และดาเนินการ
ถึง วางและจัดทา (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4) โดยการพิจารณา
พฤศจิกายน 2566 ให้ความคิดเห็นจากคณะกรรมการที่ปรึกษาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร

คณะกรรมการที่ปรึกษา สนข. สมุทรปราการ ปทุมธานี

23 และ 24 ธันวาคม 2566 และ กรุ ง เทพมหานครด าเนิ นการจั ด ประชุ ม เพื่ อ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ นและปรึ ก ษาหารื อ
6 มกราคม 2567 กับประชาชนเกี่ยวกับการวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
9
การประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและปรึกษาหารือกับประชาชน
เกี่ยวกับการวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

10
การประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นและปรึกษาหารือกับประชาชน
เกี่ยวกับการวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

11
การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
(ปรับปรุงครั้งที่ 4)
1) การแสดงความคิดเห็นด้วยวาจา ให้กระทำได้เฉพำะในระหว่ำงกำรประชุมรับฟังควำมคิดเห็นและปรึกษำหำรือ
กับประชำชนเท่ำนั้น
2) การแสดงความคิดเห็นเป็นลายลักษณ์อักษร ให้กระทำได้ภำยในวันที่ 23 ธันวำคม 2566 ถึงวันที่ 22 มกรำคม
2567 โดย
• ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ในที่ประชุมรับฟังควำมคิดเห็นและปรึกษำหำรือกับประชำชน
• ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่สำนักกำรวำงผังและพัฒนำเมือง กรุงเทพมหำนคร
• ส่งทำงไปรษณีย์ ไปที่ สำนัก กำรวำงผัง และพั ฒนำเมือ ง กรุ งเทพมหำนคร เลขที่ 45 ถนนมิต รไมตรี
แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหำนคร 10400
3) การแสดงความคิ ด เห็ น ทางเว็ บ ไซต์ ของส ำนั ก กำรวำงผั ง และพั ฒ นำเมื อ ง กรุ ง เทพมหำนคร
(webportal.bangkok.go.th/cpud) ภำยในวันที่ 23 ธันวำคม 2566 ถึงวันที่ 22 มกรำคม 2567

12
หนังสือแสดงความคิดเห็นในการวางและจัดทาผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

13
เอกสารประกอบการประชุม

สแกนเพื่อดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประชุม
วันที่ 23,24 ธันวาคม 2566
14
สรุปสาระสาคัญของ
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
(ปรับปรุงครั้งที่ 4)

15
การวางและจัดทา (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
กรุ ง เทพมหานครได้ รั บ อนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการผั ง เมื อ งให้ ด าเนิ น การวางและจั ด ท าผั ง เมื อ งรวมกรุ ง เทพมหานคร
(ปรับปรุงครั้งที่ 4) เนื่องจากมีสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมที่ได้เปลี่ยนแปลงในสาระสาคัญ ได้แก่ การพัฒนาโครงข่ายรถไฟฟ้า
ขนส่งมวลชน และรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมือง-สุวรรณภูมิ-อู่ตะเภา) การส่งเสริมการท่องเที่ยว การเข้าสู่
สังคมผู้สูงวัย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปัญหาฝุ่น PM2.5 การแพร่ระบาดของ COVID-19 ฯลฯ

16
นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนากรุงเทพมหานคร
• ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580
• แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570
• แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานราชการ และแผนวิสาหกิจขององค์การรัฐวิสาหกิจ
• แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี พ.ศ. 2561-2580 (ฉบับปรับปรุง) แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
20 ปี ระยะที่ 3 พ.ศ. 2566-2570 และนโยบายผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

17
วัตถุประสงค์ของ (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
(1) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน และมีความพร้อมในการเข้าสู่การเป็น
สังคมผู้สูงวัย โดยการพัฒนาบริการทางสังคม สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
ให้พอเพียงและได้มาตรฐาน
(2) ส่ ง เสริ ม การเป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า นธุ ร กิ จ และพาณิ ช ยกรรมของประเทศ
และภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ และส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ
รองรับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 โดยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวย
ความสะดวกให้มีความพร้อมต่อการลงทุนในระดับที่สามารถแข่งขันได้
(3) ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ยว และการเป็นทางผ่านเข้าออก
ของประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
ทางศิลปวัฒนธรรม และพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ ให้เป็น
ศูนย์กลางในการจัดประชุมและนิทรรศการนานาชาติ
18
วัตถุประสงค์ของ (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
(4) ส่ ง เสริ ม การเป็ น ศู น ย์ ก ลางบริ ห ารราชการของประเทศและเป็ น ที่ ตั้ ง
ของสถาบั น ที่ส าคั ญ ของประเทศและองค์ ก รระหว่ างประเทศ โดยการพั ฒ นา
ย่ า นสถาบั น ราชการและองค์ ก ารระหว่ า งประเทศให้ มี ภ าพลั ก ษณ์ ที่ ส ง่ า งาม
และสร้างเสริมประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์ที่ดินของภาครัฐ
(5) ส่งเสริมความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยในการเดินทางและการขนส่ง
โดยการพั ฒนาและเชื่อ มโยงระบบขนส่ งมวลชนโดยเฉพาะการขนส่ งทางราง
การพั ฒนาบริเ วณจุ ดเปลี่ ยนถ่า ยการสั ญจร และโครงข่ า ยการคมนาคมขนส่ ง
ให้สมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ
(6) ส่ งเสริ มความสมดุ ลของที่ อยู่ อาศั ยและแหล่ งงาน เพื่ อลดการเดิ นทาง
โดยการใช้ประโยชน์ ที่ดินแบบผสม การพัฒนาปรับปรุงและฟื้นฟูย่านที่อยู่อาศัย
ในเขตเมืองชั้นใน และพัฒนาศูนย์ชุมชนชานเมือง
19
วัตถุประสงค์ของ (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
(7) ส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของเมือง และการผลิตที่ต้องใช้
ทักษะ แรงงานฝีมือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีชั้นสูงที่ไม่มีความเสี่ยงต่ออุบัติภัยและปราศจากมลพิษ
(8) ดารงรักษาพื้นที่เ กษตรกรรมที่มีค วามอุด มสมบูร ณ์ ความมั่นคงทางอาหาร เกษตรกรรมเมือ ง
และเกษตรปลอดภัย โดยการบริหารจัดการการเติบโตของเมืองเพื่อให้เกิดการพัฒนาเมืองแบบกระชับ
(9) ส่ ง เสริ ม ความเป็ น อั ต ลั ก ษณ์ แ ละเอกลั ก ษณ์ ท างด้ า นศิ ล ปวั ฒ นธรรมของชุ ม ชนทั้ ง ของ
กรุ ง เทพมหานครและของชาติ โดยการอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู ส ถานที่ แ ละวั ต ถุ ที่ มี คุ ณ ค่ า ทางศิ ล ปกรรม
สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ และโบราณคดี

20
วัตถุประสงค์ของ (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
(10) ส่งเสริมและรักษาระบบนิเวศน์ และภูมิทัศน์การตั้งถิ่นฐาน โดยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ที่คงคุณค่าและการบารุงรักษาและฟื้นฟูคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(11) ส่ ง เสริ ม ความปลอดภั ย ในชี วิ ต และทรั พ ย์ สิ น โดยการป้ อ งกั น และบรรเทาปั ญ หาภั ย พิ บั ติ
จากธรรมชาติและจากการกระทาของมนุษย์ รวมถึงการก่อวินาศกรรม
(12) ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อน โดยการลดการใช้พลังงาน ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน
และเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อช่วยลดก๊าซเรือนกระจก

21
ผังนโยบายระดับประเทศและผังนโยบายระดับภาค
การวางและจัด ท าผัง เมือ งรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ งครั้ง ที่ 4) ได้ ดาเนิน การให้ส อดคล้อ งกั บ ผัง นโยบาย
ระดั บ ประเทศ และผั ง นโยบายระดั บ ภาคกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล ซึ่ ง ก าลั ง ด าเนิ น การวางและจั ด ท า
โดยกรมโยธาธิการและผังเมือง และการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแห่งชาติ

ที่มา: กรมโยธาธิการและผังเมือง
(ร่าง) ผังนโยบายระดับประเทศ (ร่าง) ผังนโยบายระดับภาคกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
22
ผังโครงสร้างการพัฒนากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2580
• การสร้า งเสริ ม บทบาทการเป็ นศู นย์ กลางทางเศรษฐกิ จ
โดยการพัฒ นาย่ า นพาณิ ช ยกรรมในบริ เ วณที่มี ศักยภาพ
ของการเข้าถึงโดยรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
• การสร้ า งเสริม บทบาทการเป็นศูนย์ ก ลางทางสังคม โดย
การอนุ รั ก ษ์ ย่ า นประวั ติ ศ าสตร์ และการพั ฒ นาย่ า น
การบริหารปกครอง และสาธารณูปการขนาดใหญ่ของรัฐ
• การพัฒนาย่า นที่อยู่อาศัย และยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนโดยการจัดให้มีสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
ที่พอเพียงและได้มาตรฐานในระดับสากล
• การสงวนรั ก ษาและส่ ง เสริ ม การประกอบกิ จ กรรม
ทางเศรษฐกิจภาคการเกษตรในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม
ที่มีความอุดมสมบูรณ์ของกรุงเทพมหานคร
ผังโครงสร้างการพัฒนากรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2580
• การรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดการปล่อยและเพิ่มแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก
23
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
ก าหนดการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ตามที่ ไ ด้ จ าแนกประเภท
เป็น 9 ประเภทหลัก 30 ประเภทย่อย ได้แก่
(1) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.1-ย.5)
(2) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6-ย.10)
(3) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.11-ย.15)
(4) พาณิชยกรรม (พ.1-พ.8)
(5) อุตสาหกรรม (อ.1 และ อ.2)
(6) คลังสินค้า (อ.3)
(7) อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (ก.1)
(8) ชนบทและเกษตรกรรม (ก.2 และ ก.3)
( 9 ) ส ถ า บั น ร า ช ก า ร ก า ร ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค แ ล ะ
สาธารณูปการ (ส.) (ร่าง) แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
24
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
ก าหนดประเภทและขนาดของกิ จ กรรมการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น
ที่อนุญาต ไม่อนุญาต หรืออนุญาตโดยมีเงื่อนไข จานวน 53 กิจกรรม
โดยมีสาระสาคัญเพื่อป้องกันผลกระทบต่อสุขลักษณะ ความปลอดภัย
ของประชาชน และสวั ส ดิ ภ าพของสั ง คม ที่ มี ค วามแตกต่ า งกั น ใน
การใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภท

สุขลักษณะ ความปลอดภัยของประชาชน สวัสดิภาพของสังคม


25
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กาหนดอัต ราส่ ว นพื้ นที่ อ าคารรวมต่ อ พื้น ที่ดิ น อั ต ราส่ วนพื้ นที่ ว่า งต่อ พื้ นที่ อ าคารรวม อัต ราส่ ว นพื้ น ที่
น้าซึมผ่าน และอัตราส่วนพื้นที่สีเขียวเพื่อปลูกต้นไม้ เพื่อควบคุมความหนาแน่นของอาคาร การจัดให้มีที่ว่าง
การป้องกันหรือบรรเทาปัญหาน้าท่วม และการส่งเสริมให้มีพื้นที่สีเขียว ที่แตกต่างกันในการใช้ประโยชน์ที่ดิน
แต่ละประเภท

อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน อัตราส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม อัตราส่วนพื้นที่น้าซึมผ่าน อัตราส่วนพื้นที่สีเขียวเพื่อปลูกต้นไม้

26
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
การพัฒนาโครงข่ า ยรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน และโครงข่ า ย
ถนนสายประธาน ถนนสายหลั ก และถนนสายรอง
และการเชื่ อ มต่ อ กั บ การคมนาคมและการขนส่ ง ทางน้ า
ในแม่น้าเจ้าพระยาและคลองสายสาคัญ และการคมนาคม
และการขนส่ ง ทางอากาศผ่ า นสนามบิ น สุ ว รรณภู มิ แ ละ
สนามบินดอนเมือง
ประเภท ขนาดเขตทาง จานวน ระยะทาง
(เมตร) (สาย) (กิโลเมตร)
สาย ก 12.00 45 99.20
สาย ข 16.00 52 286.97
สาย ค 20.00 12 20.14
สาย ง 30.00 25 93.37
สาย จ 40.00 7 40.18
สาย ฉ 50.00 4 22.64 (ร่าง) แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
สาย ช 60.00 3 42.80
รวม 148 605.31 27
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
แผนผังแสดงที่โล่ง
การสงวนรั ก ษาที่ โ ล่ ง เพื่ อ นั น ทนาการและรั ก ษาคุ ณ ภาพ
สิ่งแวดล้อม หรือสวนสาธารณะระดับเมือง ระดับย่าน ระดับ
ชุมชน และระดับละแวกบ้าน (สวน 15 นาที) และการพัฒนา
โครงข่ า ยพื้ นที่ สี เ ขี ย วริ ม ถนน และริ ม แม่ น้าล าคลอง เพื่ อ
การเชื่อมต่อระบบนิเวศทางธรรมชาติ และการบรรเทาปัญหา
ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)
จานวน พื้นที่ ระยะทาง
ประเภท
(แห่ง) (ตร.กม.) (กม.)
ล.1 ที่โล่งเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 324 33.62 -
ล.2 ที่โล่งเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณริมถนน 82 - 586.55
ล.3 ที่โล่งเพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณริมแม่น้าลาคลอง 36 - 390.35
รวม 442 33.62 976.90

(ร่าง) แผนผังแสดงที่โล่ง
28
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการสาธารณะ
การกาหนดตาแหน่งที่ตั้งและพื้นที่การให้บริการของโครงการ
กิ จ การสาธารณู ป โภค ได้ แ ก่ ไฟฟ้ า ประปา การรวบรวม
และบ าบั ด น้ าเสี ย การจั ด เก็ บ และก าจั ด ขยะ ฯลฯ และ
โครงการกิจการสาธารณูปการ และบริการสาธารณะ ได้แ ก่
สวนสาธารณะ สถานศึกษา สถานพยาบาล ฯลฯ เพื่อรองรับ
การใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภทที่เป็นที่อยู่อาศัย
พาณิ ช ยกรรม อุต สาหกรรม และเกษตรกรรม ให้เ พีย งพอ
ต่อความต้องการ และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภท จานวน (แห่ง)
สภ. 1 โครงการสถานีไฟฟ้าย่อย 2
สภ. 2 โครงการสถานีประปาย่อย 1
สภ. 3 โครงการโรงบาบัดน้าเสีย/ควบคุมคุณภาพน้า 5
สภ. 4 โครงการโรงคัดแยกและกาจัดขยะ 3
สก. โครงการกิจการสาธารณูปการและบริการสาธารณะ 23 (ร่าง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
รวม 34 และบริการสาธารณะ
29
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การอนุ รั ก ษ์ แ หล่ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ ได้ แ ก่ ป่ า ชายเลน
และการสงวนรักษาพื้นที่เ กษตรกรรมที่มีความอุดมสมบูรณ์
และมีคุณภาพสิ่งแวดล้อมเหมาะสมต่อการปลูกข้าว พืชสวน
การเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้าจื ด น้ าเค็ ม และน้ ากร่ อ ย ฯลฯ และ
การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
ประเภท พื้นที่ (ตร.กม.)
ทส. 1 การส่งเสริมและรักษาระบบนิเวศป่าชายเลน 56.02
ทส. 2-1 การส่งเสริมและรักษาการเกษตรนาข้าว 438.87
ทส. 2-2 การส่งเสริมและรักษาการเกษตรพืชสวน 57.51
ทส. 3-1 การส่งเสริมและรักษาการประมงน้าจืด 438.87
ทส. 3-2 การส่งเสริมและรักษาการประมงน้าเค็มและน้ากร่อย 94.37
ทส. 4 การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น 25.26
(ร่าง) แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รวม 1,110.92
30
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
แผนผังแสดงผังน้า
การบริหารจัดการน้าเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย
และภัยแล้งของกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยโครงข่ายแม่น้า
ลาคลอง อุโมงค์ระบายน้า ทางน้าหลาก พื้นที่พักน้า (แก้มลิง)
ฯลฯ ภายในกรุ งเทพมหานคร และการเชื่ อ มต่ อกั บระบบ
การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้าของจังหวัดปริมณฑล
ในลุ่มน้าเจ้าพระยา ลุ่มน้าท่าจีน และลุ่มน้าบางปะกง
ประเภท จานวน (แห่ง)
น. 1 คลองระบายน้า 125
น. 1-1 ปรับปรุงคลองระบำยน้ำ 102
น. 1-2 ขยำยคลองระบำยน้ำ 16
น. 1-3 ขุดคลองระบำยน้ำ 7
น. 2 อุโมงค์ระบายน้า 7
น. 3 พื้นที่การระบายน้าตามธรรมชาติ (ทางน้าหลาก) 1
น. 4 พื้นที่พักน้าเพื่อการป้องกันน้าท่วม (แก้มลิง) 121 (ร่าง) แผนผังแสดงผังน้า
31
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
มาตรการด้านผังเมือง
มาตรการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดนิ (เดิม)
ให้ เ พิ่ มอั ต ราส่ วนพื้ น ที่ อ าคารรวมต่ อ พื้ น ที่ ดิ น ไม่ เ กิ น ร้อ ยละ 20
ของอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินตามที่ได้กาหนดสาหรับ
การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น แต่ ล ะประเภท ในกรณี ที่ ไ ด้ ด าเนิ น การ
ให้ เ ป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องผั ง เมื อ งรวมกรุ ง เทพมหานคร
(ปรับปรุงครั้งที่ 4) ดังนี้
(1) การจัดให้มีที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ
(2) การจั ด ให้ มีที่ จ อดรถยนต์ เ พื่ อ เปลี่ ย นถ่ ายการสั ญ จรบริ เ วณ
สถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนชานเมือง
(3) การจัดให้มีที่อยู่อาศัยราคาถูก
(4) การจัดให้มีที่กักเก็บน้าฝน
(5) การจัดให้มีอาคารเขียวหรืออาคารประหยัดพลังงาน
32
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
มาตรการด้านผังเมือง
มาตรการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดนิ (เพิ่ม)
(6) การจั ดให้มีที่โล่งเพื่ อประโยชน์ สาธารณะหรือ สวนสาธารณะ
ริมแม่น้าหรือลาคลอง
(7) การจั ดให้มีพื้ นที่ เปลี่ ยนถ่ายการสั ญจรบริเวณสถานีรถไฟฟ้ า
ขนส่งมวลชน
(8) การจัดให้มีพื้นที่เพื่อการจัดระเบียบทางเท้า
(9) การจั ด ให้ มี ถ นนหรื อ ทางสั ญ จรสาธารณะที่ ใ ช้ เ ป็น ทางลั ด
ระหว่างถนนสาธารณะ 2 สาย
(10) การจัดให้มีสถานดูแลเด็กหรือผู้สูงอายุในเวลากลางวัน

33
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
มาตรการด้านผังเมือง
มาตรการวางผังโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ (เพิ่ม)
การให้ โครงการพัฒ นาขนาดใหญ่ สามารถปรับเปลี่ ย นอั ต ราส่ วนพื้ นที่ อ าคารรวมต่ อ พื้น ที่ ดิน ภายในพื้ น ที่โครงการ โดยยังคงอั ต ราส่ วน
พื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินโดยรวมของทั้งพื้นที่โครงการเท่ากับที่ผังเมืองรวมกาหนด โดยมีเงื่อนไขขนาดพื้นที่โครงการดังนี้
1) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.1-ย.5) ที่มีพื้นที่โครงการไม่น้อยกว่า 100 ไร่
2) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6-ย.10) ที่มีพื้นที่โครงการไม่น้อยกว่า 50 ไร่
3) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (ย.11-ย.15) หรือพาณิชยกรรม (พ.3-พ.8) ที่มีพื้นที่โครงการไม่น้อยกว่า 20 ไร่

34
มาตรการวางผังโครงการพัฒนาขนาดใหญ่
(ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)
มาตรการด้านผังเมือง
มาตรการโอนสิทธิการพัฒนา (เพิ่ม)
ให้สามารถถ่ายโอน (ขาย) พื้นที่อาคารตามอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินที่เกินหรือไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ตามที่ผังเมืองรวม
กาหนด ไปยั งพื้ นที่รั บโอน (ซื้อ ) ที่ ตั้งอยู่ในบริ เวณการใช้ ประโยชน์ที่ ดินประเภทนั้น ๆ หรือ ถ่ายโอน (ขาย) จากแปลงที่ ดินที่ เป็น ที่ตั้ ง
ของโบราณสถานหรืออาคารที่มีคุณค่าตามประกาศของกรุงเทพมหานคร ไปยังพื้นที่รับโอน (ซื้อ) ซึ่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ประเภทพาณิชยกรรม (พ.3-พ.8) ที่ตั้งอยู่ภายในระยะ 500 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน

การโอนสิทธิการพัฒนาภายในบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน การโอนสิทธิการพัฒนาระหว่างบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน
35
สาระสาคัญของร่างผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

กลุ่มเขตกรุงธนใต้
(เขตบางแค เขตภาษีเจริญ เขตหนองแขม เขตราษฎร์บูรณะ เขตทุ่งครุ
เขตบางบอน และเขตบางขุนเทียน)

36
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
ข้อมูลพื้นฐาน
• กลุ่ ม เขตกรุ ง ธนใต้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ 300.07 ตร.กม.
ประกอบด้วยเขตกรุ งเทพมหานครจานวน 7 เขต ได้แ ก่
เขตบางแค เขตภาษีเจริญ เขตหนองแขม เขตราษฎร์บูรณะ
เขตทุ่งครุ เขตบางบอน และเขตบางขุนเทียน
• ก ลุ่ ม เ ข ต ก รุ ง ธ น ใ ต้ มี ก า ร ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ ดิ น ใ น ปี
พ.ศ. 2565 จาแนกเป็น ที่อยู่อาศัย
พาณิชยกรรม
• เกษตรกรรม พื้นที่ 86.07 ตร.กม. (ร้อยละ 28.68) อุตสาหกรรม
คลังสินค้า
สถาบันราชการฯ
• ที่อยู่อาศัย พื้นที่ 82.82 ตร.กม. (ร้อยละ 27.60) สถาบันการศึกษา
สถาบันศาสนา

• พาณิชยกรรม พื้นที่ 15.91 ตร.กม. (ร้อยละ 5.30) นันทนาการ


เกษตรกรรม
พื้นที่ว่าง / อื่น ๆ
• อื่น ๆ ได้แก่ อุตสาหกรรม สาธารณูปการ ที่ว่าง ฯลฯ แหล่งน้า

พื้นที่ 115.27 ตร.กม. (ร้อยละ 38.14)


การใช้ประโยชน์ที่ดินกลุ่มเขตกรุงธนใต้ พ.ศ. 2565
37
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
ข้อมูลพื้นฐาน
• กลุ่ ม เขตกรุ ง ธนใต้ มี ป ระชากร (รวมประชากรแฝง) พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2580
ในปี พ.ศ. 2565 จ านวน 1,666,426 คน คิ ดเป็นความ
หนาแน่ นประชากรเฉลี่ ย 5,553 คน/ตร.กม. และคาด
ประมาณจ านวนประชากร (รวมประชากรแฝง) ในปี
พ.ศ. 2580 จานวน 2,037,399 คน (อัตราการเพิ่มของ
จานวนประชากรรายเขตของกลุ่มเขตกรุงธนใต้ พ.ศ. 2560-2580
ประชากรเฉลี่ยร้อยละ 1.56 ต่อปี) คิดเป็นความหนาแน่น
ประชากรเฉลี่ย 6,790 คน/ตร.กม. พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2580
• กลุ่ม เขตกรุงธนใต้มี จานวนการจ้า งงานในปี พ.ศ. 2565
จานวน 674,180 คน และคาดประมาณจานวนการจ้างงาน
ในปี พ.ศ. 2580 จานวน 807,922 คน (อัตราการเพิ่ ม
จานวนการจ้างงานเฉลี่ยร้อยละ 1.44 ต่อปี)
จานวนการจ้างงานรายเขตของกลุ่มเขตกรุงธนใต้ พ.ศ. 2560-2580

38
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บทบาทความสาคัญด้านเศรษฐกิจและสังคม
• บทบาทการเป็ น ย่ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย หนาแน่ น ปานกลางในเขตชั้ น กลาง และ
ย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยในเขตชานเมืองของกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันตก
• บทบาทการเป็นย่านพาณิช ยกรรมเมือง ศูนย์พาณิชยกรรมชานเมื อง และย่า น
พาณิชยกรรมชุม ชน เพื่อการให้บริการและเป็นแหล่งงานแก่ประชาชนที่อาศัย
อยู่ในเขตชั้นกลางและเขตชานเมืองของกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันตก
• บทบาทการเป็ นแหล่ งทรัพ ยากรธรรมชาติ ได้ แ ก่ ป่ า ชายเลน และเป็นพื้นที่
เกษตรกรรมที่มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีความอุดมสมบูรณ์ และมี
ความเหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มและน้ากร่อย และเป็นแหล่งท่องเที่ยว
บริเวณชายฝั่งทะเลของกรุงเทพมหานคร

39
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง ปัญหา และข้อจากัด
• การเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรและการจ้างงาน ส่งผลต่อความจาเป็นในการพัฒนาย่านที่อยู่อาศัยและย่านพาณิชยกรรม
ในพื้นที่ที่มี ความสะดวกต่อการเข้า ถึงด้วยโครงข่า ยการคมนาคมและการขนส่ง และมี ความพร้อมด้า นสาธารณูปโภค
และสาธารณูปการ
• การพัฒนาย่านที่อยู่อาศัย และย่านพาณิชยกรรม เพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของประชากรและการจ้างงาน ส่งผลต่อความจาเป็น
ในการสงวนรักษาและส่งเสริมการสร้างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีศักยภาพ
ด้านการท่องเที่ยว

40
ผังโครงสร้างการพัฒนากลุ่มเขตกรุงธนใต้ พ.ศ. 2580
บางหว้า
• การพั ฒ นาเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มของย่ า น ทวีวัฒนา

ที่อ ยู่ อาศั ย หนาแน่นปานกลางในเขตชั้นกลาง และย่ า น บางแค


ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ห น า แ น่ น น้ อ ย ใ น เ ข ต ช า น เ มื อ ง ข อ ง
บางบอน
กรุงเทพมหานครฝั่งตะวันตก
• การสร้ า งเสริ ม บทบาททางเศรษฐกิ จ เพื่ อ สร้ า งสมดุ ล พระราม 2 บางมด

ระหว่า งที่อยู่ อาศัย และแหล่งการจ้า งงาน โดยการพัฒนา


ย่านพาณิชยกรรมเมือง ศูนย์พาณิช ยกรรมชานเมือง และ
ย่ า นพาณิ ช ยกรรมชุ ม ชน ในบริ เ วณที่ มี ศั ก ยภาพของ
การเข้าถึงโดยรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และระบบขนส่งเสริม
• การสงวนรักษาและส่งเสริมการประกอบกิจกรรมทางสังคม บางขุนเทียน

และเศรษฐกิจด้า นการเกษตรมูล ค่า สูง และการท่องเที่ย ว


เชิงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชุมชน ในพื้นที่ชนบท ศูนย์กลางหลัก ศูนย์ชุมชน ทิศทางการขยายตัว
ของที่อยู่อาศัย
และเกษตรกรรม ศูนย์กลางรอง รถไฟฟ้า
ผังโครงสร้างการพัฒนากลุ่มเขตกรุงธนใต้ พ.ศ. 2580 41
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• ก าหนดให้ บริ เ วณพื้ น ที่ ต ามแนวสายทางของรถไฟฟ้ า ขนส่ ง
มวลชนสายสี น้าเงิน สายสีเขียว สายสีม่วง และสายสีแดง เป็ น
ย่านการพัฒนาที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6-ย.9)
• ก าหนดให้ บริ เ วณพื้ น ที่ ก ารเข้ า ถึ ง ด้ ว ยถนนสายประธานและ
ถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนเพชรเกษม และ
ถนนพระรามที่ 2 เป็น ย่านการพัฒ นาที่อยู่ อาศัย หนาแน่น น้อ ย
(ย.1-ย.4)
• กาหนดให้บริเวณสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีน้าเงิน สถานี
บางแค และสายสี แดง-ถนนพระรามที่ 2 เป็นการใช้ ประโยชน์
ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม (พ.4 และ พ.5) เพื่อส่งเสริมการเป็น
ศู น ย์ พ าณิ ช ยกรรมชานเมื อ ง เพื่ อ ให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชนใน
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• ก าหนดให้ บ ริ เ วณพื้ น ที่ ที่ มี ส ภาพความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย พาณิชยกรรม อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม
ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นย่านชนบทและเกษตรกรรม (ก.2_และ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง อุตสาหกรรม ชนบทและเกษตรกรรม
ก.3) เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม การประกอบกิ จ กรรมท างสั ง คมและ ที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก คลังสินค้า สถาบันราชการ ฯ
ทางเศรษฐกิ จ ด้ า นการเกษตรมู ล ค่ า สู ง และการท่ อ งเที่ ย ว แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
เชิงอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชุมชน กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 42
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
การปรับเปลี่ยนแผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท จานวน 3 บริเวณ
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

2
3

43
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริเวณที่ 1 เพชรเกษม-กัลปพฤกษ์ ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.5) เป็นที่อยู่อาศัย
หนาแน่ นปานกลาง (ย.8) และปรั บ เปลี่ ย นที่ อ ยู่ อ าศั ย หนาแน่ นปานกลาง (ย.7) เป็ นที่ อ ยู่ อ าศั ย หนาแน่ นมาก (ย.11)
บริ เ วณถนนเพชรเกษม ถนนกั ล ปพฤกษ์ และถนนเอกชั ย เพื่ อ รองรั บ การให้ บ ริ ก ารรถไฟฟ้ า สายสี น้ าเงิ น (ท่ า พระ-
บางแค) สายสีแดง (หัวลาโพง-มหาชัย) และสายสีเขียว (สนามกีฬีแห่งชาติ-บางหว้า-ตลิ่งชัน)

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

44
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริเวณที่ 2 พระรามที่ 2 - กาญจนาภิเษก ปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (ก.4 และ ก.5 เดิม)
เป็นที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย (ย.2) ที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.1) เป็นที่อยู่ อาศัยหนาแน่นน้อย (ย.3) ที่อยู่ อาศัยหนาแน่น
ปานกลาง (ย.5 เดิม) เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.8) และที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (ย.6) เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น
ปานกลาง (ย.9) บริเวณถนนพระรามที่ 2 - กาญจนาภิเษก เพื่อรองรับการให้บริการรถไฟฟ้าสายสีแดง (หัวลาโพง-มหาชัย)

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

45
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริ เ วณที่ 3 บางขุนเทีย น ปรับเปลี่ยนการใช้ ประโยชน์ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (ก.3 เดิม ) และชนบท
และเกษตรกรรม (ก.4 และ ก.5 เดิม) เป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (ก.2 และ ก.3) ประกอบกับ
การควบคุม การใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อการส่งเสริมและรักษาระบบนิเ วศป่าชายเลน และเพื่อการประมงน้าเค็มและน้ากร่อย
ตามแผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

46
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน: ที่อยู่อาศัย
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ย.1 ย.2 ย.3 ย.4 ย.6 ย.7 ย.8 ย.9 ย.11 ย.13 พ.3 พ.4 พ.5 อ.1 อ.2 ก.2 ก.3
บ้านเดี่ยว
บ้านแฝด X
บ้านแถว X 1
ห้องแถว ตึกแถว X 2 1 X
อาคารอยู่อาศัยรวม พื้นที่ไม่เกิน 1,000 ตร.ม. X 3 2 X
อาคารอยู่อาศัยรวม พื้นที่ไม่เกิน 2,000 ตร.ม. X X 3 3 X X
อาคารอยู่อาศัยรวม พื้นที่ไม่เกิน 5,000 ตร.ม. X X X 3 X X X X
อาคารอยู่อาศัยรวม พื้นที่ไม่เกิน 10,000 ตร.ม. X X X 3 X 2 2 X X X X
อาคารอยู่อาศัยรวม พื้นที่เกิน 10,000 ตร.ม. X X X X 3 3 3 3 X 3 3 X X X X
X = ไม่อนุญาต
1 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรืออยู่ในระยะ 800 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
2 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรืออยู่ในระยะ 650 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
3 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรืออยู่ในระยะ 500 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
47
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน: พาณิชยกรรม
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ย.1 ย.2 ย.3 ย.4 ย.6 ย.7 ย.8 ย.9 ย.11 ย.13 พ.3 พ.4 พ.5 อ.1 อ.2 ก.2 ก.3
พาณิชยกรรมประเภทห้องแถว ตึกแถว X 2 1 1 X
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 100 ตร.ม.
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 300 ตร.ม. 2 2 2
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 500 ตร.ม. X 3 3 2 2 X 3 1
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 1,000 ตร.ม. X X 3 3 3 X X 2
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 2,000 ตร.ม. X X X X X X X X
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 5,000 ตร.ม. X X X X 2 2 X X X X
พาณิชยกรรมพื้นที่ไม่เกิน 10,000 ตร.ม. X X X X 3 3 2 2 2 1 2 2 2 X X X X
พาณิชยกรรมพื้นที่เกิน 10,000 ตร.ม. X X X X 3 3 3 3 3 2 X 3 3 X X X X
X = ไม่อนุญาต
1 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรืออยู่ในระยะ 800 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
2 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรืออยู่ในระยะ 650 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
3 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรืออยู่ในระยะ 500 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
48
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน: สานักงาน
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ย.1 ย.2 ย.3 ย.4 ย.6 ย.7 ย.8 ย.9 ย.11 ย.13 พ.3 พ.4 พ.5 อ.1 อ.2 ก.2 ก.3
สานักงานประเภทห้องแถว ตึกแถว X 2 1 1 X
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 100 ตร.ม.
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 300 ตร.ม. 2 2 X
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 500 ตร.ม. X X 2 2 1 1 X 1
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 1,000 ตร.ม. X X X 2 2 1 X X X 2
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 2,000 ตร.ม. X X X X 2 2 2 2 1 X X X X
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 5,000 ตร.ม. X X X X 3 3 3 2 1 X X X X
สานักงานพื้นที่ไม่เกิน 10,000 ตร.ม. X X X X 3 3 3 2 2 2 2 2 X X X X
สานักงานพื้นที่เกิน 10,000 ตร.ม. X X X X 3 3 3 3 3 2 X 3 3 X X X X
X = ไม่อนุญาต
1 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 12 เมตร หรืออยู่ในระยะ 800 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
2 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 16 เมตร หรืออยู่ในระยะ 650 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
3 = ตั้งอยู่ริมถนนที่มีเขตทางไม่น้อยกว่า 30 เมตร หรืออยู่ในระยะ 500 เมตรโดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
49
แผนผังกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จาแนกประเภท
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน: พื้นที่อาคาร พื้นที่ว่าง พื้นที่น้าซึมผ่าน และพื้นที่ปลูกต้นไม้
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ย.1 ย.2 ย.3 ย.4 ย.6 ย.7 ย.8 ย.9 ย.11 ย.13 พ.3 พ.4 พ.5 อ.1 อ.2 ก.2 ก.3
อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน 1 1.5 2 2.5 3.5 4 4.5 5 6 7 5 6 7 2 1.5 1 1.5
อัตราส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม 50 25 20 15 10 9 8.5 8 7 6 7.5 6.5 5.5 20 25 50 40
อัตราส่วนพื้นที่น้าซึมผ่านต่อพื้นที่ว่าง 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50 50
อัตราส่วนพื้นที่ปลูกต้นไม้ต่อพื้นที่ว่าง 50 50 50 50 40* 40* 40* 40* 30* 30* 30* 30* 30* 50 50 50 50
* สำหรับอำคำรขนำดใหญ่และอำคำรขนำดใหญ่พิเศษ สำมำรถจัดทำพื้นที่ปลูกต้นไม้บนพื้นดินไม่น้อยกว่ำ 50% ของอัตรำส่วนพื้นที่ปลูกต้นไม้ต่อพื้นที่ว่ำง โดยพื้นที่ส่วนที่
เหลือสำมำรถจัดทำเป็นพื้นที่สีเขียวบนหลังคำหรือพื้นที่สีเขียวบนผนังภำยนอกของอำคำร (พื้นที่สีเขียวบนหลังคำต้องทำเป็น 2 เท่ำของพื้นที่ปลูกต้นไม้บนพื้นดิน และพื้นที่สี
เขียวบนผนังภำยนอกของอำคำรต้องทำเป็น 3 เท่ำของพื้นที่ปลูกต้นไม้บนพื้นดิน)

อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน อัตราส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม อัตราส่วนพื้นที่น้าซึมผ่านต่อพื้นที่ว่าง อัตราส่วนพื้นที่ปลูกต้นไม้ต่อพื้นที่ว่าง


50
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• การพัฒ นาโครงข่า ยถนนสายประธานและถนนสายหลั ก
เพื่ อ เชื่ อ มต่ อ กั บ พื้ น ที่ ก ลุ่ ม เขตกรุ ง ธนเหนื อ กลุ่ ม เขต
กรุงเทพใต้ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรปราการ
• การพั ฒ นาโครงข่ า ยถนนสายรอง (ถนนสาย ก และ
ถนนสาย ข) เพื่อการเข้าถึงโครงข่ายรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
สายสีน้าเงิน สายสีเ ขีย ว สายสีม่วง และสายสีแ ดง และ
การคมนาคมและการขนส่งทางน้าในคลองสายสาคัญ ได้แก่
คลองภาษีเจริญ ฯลฯ

ก (12 เมตร) ข (16 เมตร) ค (20 เมตร) ง (30 เมตร)


จ (40 เมตร) ฉ (50 เมตร) ช (60 เมตร)
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
51
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
การปรับเปลี่ยนแผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง จานวน 5 บริเวณ
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

1
2 3
4

5
52
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริเ วณที่ 1 เพชรเกษม–ราชพฤกษ์ การพัฒนาโครงข่ า ยถนนสายรอง เพื่อแก้ไ ขปัญหาการจราจรของถนนสายประธาน
ได้แ ก่ ถนนกาญจนาภิเษก และถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนราชพฤกษ์ ถนนเพชรเกษม และถนนกัล ปพฤกษ์ เพื่อการเข้ า ถึง
สถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีน้าเงิน (หลักสอง-หัวลาโพง) และสายสีเขียว (สนามกีฬาแห่งชาติ-บางหว้า-ตลิ่งชัน)
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

53
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริเ วณที่ 2 บางบอน-เอกชัย การพัฒนาโครงข่ า ยถนนสายรอง เพื่ อแก้ไ ขปัญหาการจราจรของถนนสายประธาน ได้แ ก่
ถนนพระรามที่ 2 และถนนกาญจนาภิเษก และถนนสายหลัก ได้แ ก่ ถนนเพชรเกษม ถนนกัลปพฤกษ์ และถนนเอกชัย เพื่อ
การเข้าถึงสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีน้าเงิน (หลักสอง-หัวลาโพง) และสายสีแดง (หัวลาโพง-มหาชัย)
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

บางบอน บางบอน

54
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริ เ วณที่ 3 สุ ข สวั ส ดิ์ การพั ฒ นาโครงข่ า ยถนนสายหลั ก และถนนสายรองเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาของถนนสายหลั ก ได้ แ ก่
ถนนสุขสวัสดิ์ ถนนพุทธบูชา และถนนประชาอุทิศ เพื่อการเข้าถึงสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนสายสีม่วง (เตาปูน-ราษฎร์บูรณะ)
และการพัฒนาโครงข่ายถนนสายรองเพื่อเชื่อมต่อกับถนนสายหลักในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

55
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริเวณที่ 4 พุทธบูชา การพัฒนาโครงข่ายถนนสายรองเพื่อแก้ไขปัญหาของถนนสายประธาน ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก และ
ถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนเทียนทะเล ถนนพุทธบูชา และถนนประชาอุทิศ

ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

พุทธบูชา
พุทธบูชา

56
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
บริเวณที่ 5 บางขุนเทียน การพัฒนาโครงข่ายถนนสายรองเพื่อแก้ไขปัญหาของถนนสายประธาน ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก
และถนนพระรามที่ 2 และถนนสายหลัก ได้แก่ ถนนเทียนทะเล และการพัฒนาโครงข่ายถนนสายหลักและสายรองเพื่อเชื่อมต่อ
กับถนนสายหลักของจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดสมุทรปราการ
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 (ร่าง) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 4)

บางขุนเทียน บางขุนเทียน

57
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
จานวนถนนเดิมขยายและถนนโครงการในกลุ่มเขตกรุงธนใต้
ขนาดเขตทาง จานวน ระยะทาง
ประเภท
(เมตร) (สาย) (กิโลเมตร)
สาย ก 12.00 12 32.36
สาย ข 16.00 15 41.27
สาย ค 20.00 8 14.80
สาย ง 30.00 1 4.26
สาย จ 40.00 4 21.22
สาย ฉ 50.00 1 9.03
สาย ช 60.00 - -
รวม 41 122.94
แนวทางการดาเนินการให้เป็นไปตาม
แผนผังแสดงโครงการการคมนาคมและการขนส่ง ถนนสาย ก และ ข
58
แผนผังแสดงที่โล่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• การสงวนรักษาพื้นที่โล่งเพื่อนันทนาการหรือสวนสาธารณะระดับเมือง
ระดั บ ย่ า น ระดั บ ชุ ม ชน และระดั บ ละแวกบ้ า น (สวน 15 นาที )
ที่มีขนาดพื้นที่และระยะการเดินทางของประชาชนที่สะดวก
• การเชื่อมต่อพื้นที่โล่งเพื่อนันทนาการหรือสวนสาธารณะ โดยโครงข่าย
พื้ น ที่ สี เ ขี ย วริ ม ถนน และริ ม แม่ น้ าและล าคลอง เพื่ อ ให้ เ กิ ด
ความเชื่อมโยงของระบบนิเ วศทางธรรมชาติ และเพื่อแก้ไ ข ป้องกัน
หรื อ บรรเทาผลกระทบจากมลพิ ษ ด้ า นการจราจร และฝุ่ นละออง
ขนาดเล็ก

ที่โล่งเพื่อการนันทนาการและ ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ล.1 สิ่งแวดล้อมบริเวณริมถนน ล.2
และที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมบริเวณริมแม่น้าและ
ลาคลอง ล.3
59
แผนผังแสดงที่โล่ง กลุ่มเขตกรุงธนใต้
แผนผังแสดงที่โล่ง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• สวนสาธารณะ (ล.1) จานวนรวม 34 แห่ง จาแนกเป็น
สวนสาธารณะระดับย่าน 7 แห่ง ระดับชุม ชน 6 แห่ง
และระดับละแวกบ้าน (สวน 15 นาที) 21_แห่ง

สวนระดับเมือง สวนระดับย่าน
สวนสาธารณะ พื้นที่ ระยะการเข้าถึง
ระดับเมือง มากกว่า 100 ไร่ 10 กม.
ระดับย่าน 50-100 ไร่ 5 กม.
ระดับชุมชน 20-50 ไร่ 2.5 กม.
ระดับละแวกบ้าน ประมาณ 5-20 ไร่ 0.5-1 กม.
สวนระดับชุมชน สวนระดับละแวกบ้าน

แผนผังแสดงที่โล่ง (ล.1) กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 60


สวนเพชร สวนกัลปพฤกษ์

แผนผังแสดงที่โล่ง
กาญจนารมย์ (สวนเลียบ)

กลุ่มเขตกรุงธนใต้
สวนลุมพินี

สวนป่า
เบญจกิติ

• พื้นที่สีเขียวริมถนน (ล.2) จานวน 7 สาย ระยะทางรวม


66.13 กิโลเมตร และพื้นที่สีเขียวริมแม่น้าและลาคลอง
(ล.3) จานวน 16 คลอง ระยะทางรวม 95.11 กิโลเมตร
สวนบางแคภิรมย์

สวนสุขภาพบางบอน

สวนธนบุรีรมย์

ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณริมถนน (ล.2) สวนเฉลิมพระเกียรติ


สวนบริเวณมหาวิทยาลัย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ถนนสายหลัก สวนสาธารณะระดับเมือง ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ


แม่น้าและลาคลอง สวนสาธารณะระดับย่าน สิ่งแวดล้อมบริเวณริมถนน ล.2
สวนสาธารณะระดับชุมชน ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพ
ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณริมแม่น้าและลาคลอง (ล.3) สวนสาธารณะระดับละแวกบ้าน สิ่งแวดล้อมบริเวณริมแม่น้าและลาคลอง ล.3
61
แผนผังแสดงที่โล่ง (ล.2 และ ล.3) กลุ่มเขตกรุงธนใต้
แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการสาธารณะ
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• การเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสาธารณูปโภค
ในย่ า นพาณิ ช ยกรรม และย่ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย หนาแน่ น
ปานกลาง และการขยายพื้นที่การให้บริการสาธารณูปโภค
ในย่านที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย
• การจัดให้มีสาธารณูปการระดับเมือง ได้แก่ สวนสาธารณะ
สถานศึ ก ษา สถานพยาบาล ฯลฯ ในที่ ดิ น ขนาดใหญ่
ของหน่ วยงานราชการและองค์การรัฐ วิส าหกิจ เพื่อให้
ประชาชนสามารถเข้ า ถึง การให้ บ ริก ารสาธารณู ป การ
ได้ภายในระยะการเดินทางที่สะดวก

พื้นที่บริการบาบัดน้าเสีย โครงการกิจการสาธารณูปการและบริการ
พื้นที่โครงการบริการบาบัดน้าเสีย สาธารณะขั้นพื้นฐานระดับเมือง
โครงการโรงบาบัดน้าเสีย
แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
และบริการสาธารณะ กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 62
แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการสาธารณะ
กลุ่มเขตกรุงธนใต้ โรงควบคุมคุณภาพน้า
หนองแขม
ก าหนดให้ ข ยายพื้ น ที่ ก ารรวบรวมและบ าบั ด น้ าเสี ย
ใ น เ ข ต บา งแ ค เ ข ต ภ า ษี เ จ ริ ญ เ ข ต บ า ง บอ น แ ล ะ
เขตบางขุ นเทีย น เพื่อ นาไปบาบัด ที่โ รงควบคุ มคุณภาพน้ า
ทุ่งครุ โรงควบคุมคุณภาพน้า
ทุ่งครุ

โรงบาบัดน้าเสีย/โรงควบคุมคุณภาพน้า พื้นที่การรวบรวมและบาบัดน้าเสียปัจจุบัน
โครงการโรงบาบัดน้าเสีย พื้นที่โครงการรวบรวมและบาบัดน้าเสีย

แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
และบริการสาธารณะ กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 63
แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการสาธารณะ
กลุ่มเขตกรุงธนใต้ ศูนย์กาจัดมูลฝอย
หนองแขม
การจัดให้มีส าธารณูปการระดับเมือง ได้แ ก่ สวนสาธารณะ
สถานศึกษา สถานพยาบาล ฯลฯ ในบริเวณที่ดินขนาดใหญ่ เคหะชุมชน
ธนบุรี
ของหน่ ว ยงานราชการและองค์ ก ารรั ฐ วิ ส าหกิ จ ได้ แ ก่ ศูนย์กีฬา
ม.เทคโนโลยี
พระจอมเกล้า
การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย การรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชน เฉลิมพระเกียรติฯ
บางมด
ธนบุรี

แห่งประเทศไทย การเคหะแห่งชาติ ฯลฯ


ม.เทคโนโลยี
พระจอมเกล้า
ธนบุรี
(บางขุนเทียน)

ที่ดินขนาดใหญ่ของหน่วยงานภาครัฐ

แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
และบริการสาธารณะ กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 64
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• การสงวนรั ก ษาแหล่ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มและน้ากร่อย
• การอนุรักษ์และฟื้นฟูท รัพยากรป่าชายเลนเพื่อการส่งเสริมและ
รักษาระบบนิเวศชายฝั่งทะเล

แหล่งทรัพยากรป่าไม้ แหล่งทรัพยากรดิน (พืชสวน)


แหล่งทรัพยากรน้า (ประมงน้าเค็ม น้ากร่อย)
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
65
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเขตกรุงธนใต้

กาญจนาภิเษก
กาหนดให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าชายเลน ใน
พื้ น ที่ ต ามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี วั น ที่ 22 สิ ง หาคม 2543 เพื่ อ การ
ส่งเสริมและรักษาระบบนิเวศชายฝั่งทะเล

ป่าไม้ ป่าชายเลน พืชสวน


การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มและน้ากร่อย
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
66
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กลุ่มเขตกรุงธนใต้

กาญจนาภิเษก
กาหนดให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรดิน
และทรัพ ยากรน้ า เพื่ อ การส่ งเสริ มและรัก ษาการประมงน้าเค็ ม
และน้ ากร่ อ ย ตามมาตรฐานการปฏิ บั ติ ท างการเกษตรที่ ดี
หรือเกษตรปลอดภัย

ป่าไม้ ป่าชายเลน พืชสวน


การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเค็มและน้ากร่อย
แผนผังแสดงแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
67
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
แผนผังแสดงผังน้า
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
• การปรับปรุง ขยาย และขุดคลองระบาย ประกอบด้วย
คลองแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก เพื่อ รวบรวมและ
ระบายน้าลงสู่คลองแนวทิศเหนือ-ใต้ และอ่าวไทย
• กา ร ก่ อส ร้ า ง อุ โ ม ง ค์ ร ะ บา ย น้ า เ พื่ อส ร้ า งเ ส ริ ม
ขีดความสามารถในการระบายน้าของคลองระบายน้า
ลงสู่อ่าวไทย
• การก าหนดให้ มี พื้ น ที่ พั ก น้ า (แก้ ม ลิ ง ) ในบึ ง น้ า
และพื้นที่ลุ่ม ต่า ก่อนการระบายผ่า นคลองระบายน้า
ลงสู่อ่าวไทย
โครงการปรับปรุงคลอง พนังกั้นน้า
โครงการขุดคลอง โครงการทางน้าหลาก
โครงการขยายคลอง 50 ม. พื้นที่พักน้า(แก้มลิง)
โครงการขยายคลอง 60 ม. พื้นที่อุทกภัย
โครงการอุโมงค์ระบายน้า

แผนผังแสดงผังน้า กลุ่มเขตกรุงธนใต้ 68
แผนผังแสดงผังน้า
กลุ่มเขตกรุงธนใต้ พื้นที่เสี่ยง

คลอง าง
อุทกภัย


กอก
ใหญ่

• การปรั บ ปรุ ง ขยาย และขุ ด คลองระบายน้ า รวมจ านวน


32 คลอง ประกอบด้วยคลองแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ได้แก่
คลองภาษีเจริญ คลองสนามชั ย คลองพิท ยาลงกรณ์ ฯลฯ เพื่ อ
รวบรวมและระบายน้ าลงสู่ ค ลองแนวทิ ศ เหนื อ -ใต้ ได้ แ ก่
คลองพระยาราชมนตรี คลองขุนราชพินิจใจ คลองทวีวัฒนา ฯลฯ
• การก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้า จานวน 2 อุโมงค์ ได้แก่ โครงการ
อุโมงค์ระบายน้าคลองทวีวัฒนาบริเวณคอขวด โครงการอุโมงค์
ระบายน้าคลองพระยาราชมนตรี
• การก าหนดให้ มีพื้ นที่ พัก น้า (แก้มลิง ) ในบึงน้าและพื้ นที่ ลุ่มต่ า
ก่ อ นการระบายผ่ า นคลองลงสู่ ท ะเล จ านวน 6 แห่ ง ได้ แ ก่
บึ ง วงแหวนเพชรเกษม บึ งสวนธนบุ รี ร มย์ บึ ง รางเข้ แก้ ม ลิ ง
คลองมหาชัย ฯลฯ

อ่าวไทย
แม่น้า/คลอง โครงการขยายคลอง 50 ม. พนังกั้นน้า
โครงการปรับปรุงคลอง โครงการขยายคลอง 60 ม. โครงการพื้นที่พักน้า
โครงการขุดคลอง โครงการอุโมงค์ระบายน้า (แก้มลิง)
คลองสนามชัย บึงรางเข้
69
แผนผังแสดงผังน้า กลุ่มเขตกรุงธนใต้
มาตรการด้านผังเมือง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
มาตรการเพิ่มอัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
กลุ่ ม เขตกรุ ง ธนใต้ มี ค วามเหมาะสมต่ อ การใช้ ม าตรการเพิ่ ม อั ต ราส่ ว นพื้ น ที่ อ าคารรวมต่ อ พื้ น ที่ ดิ น ในกรณี
ต่าง ๆ ได้แก่
• การจัดให้มีที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ
• การจัดให้มีที่จอดรถยนต์เพื่อเปลี่ยนถ่ายการสัญจรบริเวณสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนชานเมือง
• การจัดให้มีสถานดูแลเด็กหรือผู้สูงอายุในเวลากลางวัน

70
มาตรการด้านผังเมือง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
มาตรการวางผังโครงการพัฒนาขนาดใหญ่
กลุ่มเขตกรุงธนใต้มีความเหมาะสมต่อการใช้ มาตรการวางผังโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ ทั้งโดยหน่วยงานภาครัฐ ได้แ ก่
การรถไฟแห่งประเทศไทย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย การเคหะแห่งชาติ ฯลฯ และภาคเอกชนที่ดาเนินการ
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์บนแปลงที่ดินขนาดใหญ่
3:1 4.5 : 1
4:1
3:1
2:1
1:1

มาตรการวางผังโครงการพัฒนาขนาดใหญ่
71
มาตรการด้านผังเมือง
กลุ่มเขตกรุงธนใต้
มาตรการโอนสิทธิการพัฒนา
กลุ่ ม เขตกรุ ง ธนใต้ มี ความเหมาะสมต่ อ การใช้ ม าตรการโอนสิ ท ธิ ก ารพั ฒ นา ทั้ ง การโอนสิ ท ธิ ก ารพั ฒ นาภายในบริ เ วณ
การใช้ประโยชน์ที่ดินนั้น ๆ และการรับโอน (ซื้อ) สิทธิการพัฒนาจากอาคารอนุรักษ์ที่ตั้งอยู่ในเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร

พื้นที่อาคาร

ค่าตอบแทน TDR

การโอนสิทธิการพัฒนาระหว่างบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน การโอนสิทธิการพัฒนาภายในบริเวณการใช้ประโยชน์ที่ดิน 72
การวางและจัดทาแผนผังโครงการพัฒนาและฟื้นฟูเมือง
แนวทางการด าเนิ น การให้ เ ป็ น ไปตาม (ร่ า ง) ผั ง เมื อ งรวมกรุ ง เทพมหานคร (ปรั บ ปรุ ง ครั้ ง ที่ 4)
โดยการวางและจัดทาแผนผังโครงการพัฒนาและฟื้นฟูเมือง โดยอาศัยอานาจตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ
ได้แก่
• ผังเมืองเฉพาะ-ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562
• ผังโครงการจัดรูปที่ดิน ตามพระราชบัญญัติจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ พ.ศ. 2547
• ผังปรับปรุงแหล่งเสื่อมโทรม ตามพระราชบัญญัติการเคหะแห่งชาติ พ.ศ. 2537_และผังปรับปรุงชุมชน
ตามอานาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาองค์กรชุม ชน (องค์การมหาชน) และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ
• อื่น ๆ ได้แก่ ผังโครงการปรับปรุงเขตเพลิงไหม้ ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ฯลฯ

73
การวางและจัดทาแผนผังโครงการพัฒนาและฟื้นฟูเมือง
ตัวอย่างการวางและจัดทาแผนผังโครงการพัฒนาและฟื้นฟูเมือง กลุ่มเขตกรุงธนใต้

ผังเมืองเฉพาะบริเวณศูนย์พาณิชยกรรมชุมชนบางหว้า ผังโครงการจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่บริเวณถนนกัลปพฤกษ์
74
ขอบคุณ

75

You might also like