Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 18

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา ฟิ สิกส์ รหัสวิชา ว 32202


เรื่อง ชนิดและการเกิดคลื่น หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คลื่นกล
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ภาคเรียนที่ 1/2561 จำนวน 2 คาบ (2 ชั่วโมง)
สอนโดย นายปฏิพัทธ์ ศรีใส ครูพี่เลี้ยง
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/......... ใช้สอนวันที่......... เดือน....................พ.ศ. 2561 เวลา............... น.
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/......... ใช้สอนวันที่......... เดือน....................พ.ศ. 2561 เวลา............... น.
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/......... ใช้สอนวันที่......... เดือน....................พ.ศ. 2561 เวลา............... น.

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 5.1 เข้าใจสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิตการเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงานผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งชีวิตและสิ่งแวดล้อมมี
กระบวนการสืบเสาะความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหารู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่ มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ที่ 2. อธิบายการเคลื่อนที่แบบคลื่นและการเกิดคลื่นกล
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดคลื่นกลได้ (K)
2. อธิบายส่วนประกอบของคลื่นได้ (K)
3. จำแนกชนิดของคลื่นได้ (P)
4. มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้ มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
(A)
3. สาระสำคัญ
การถ่ายโอนพลังงานของคลื่น คือ การถ่ายโอนพลังงานจากการรบกวน จากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีก
ตำแหน่งหนึ่ง โดยมีลักษณะการเคลื่อนที่แบบตามยาว(longitudinal wave)และตามขวาง(transverse wave)
และการรบกวนนี้จากมีตัวกลางหรือไม่มีตัวกลางก็ได้
ชนิดคลื่น คือ คลื่นมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ คลื่นกล(mechanical wave) คือ คลื่นที่ต้องมีตัวกลางในการถ่ายโอน
พลังงาน และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า(electromagnetic wave) คือ คลื่นที่ไม่ต้องมีตัวกลางในการถ่ายโอน
พลังงาน
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. การเกิดคลื่นกล
2. ส่วนประกอบของคลื่น
ทักษะ/กระบวนการ
1. ทักษะการจำแนก
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความสนใจใฝ่ รู้
2. มีระเบียบวินัย
3. มีความรับผิดชอบ
4. ตรงต่อเวลา
5. สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (5Es)
1. ขั้นสร้างความสนใจ (15 นาที)
1.1 ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยการพูดคุยซักถามประสบการณ์เดิมของนักเรียน
เกี่ยวกับเรื่องคลื่น และองค์ประกอบของคลื่น
- จากการเรียนฟิ สิกส์พื้นฐาน ม.4 จำได้หรือเปล่า ว่าคลื่นเกิดได้อย่างไร
(คลื่นเป็ นการถ่ายโอนพลังงานจากการรบกวน จากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยการรบกวนนี้
จากมีตัวกลางหรือไม่มีตัวกลางก็ได้)
-แล้วถ้าครูโยนหินลงในบ่อน้ำ จะเกิดคลื่นแผ่ออกไป จะเรียกคลื่นนี้ว่า อะไร มีตัวกลางหรือไม่
(คลื่นน้ำ มีตัวกลางคือ น้ำ)
- จะเป็นไปได้หรือไม่ที่คลื่นจะไม่มีตัวกลาง
(เป็นไปได้ เช่นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า)
1.2 ครูให้นักเรียนดูแบบจำลองการเคลื่อนที่ของคลื่นเมื่อมีวัตถุตกลงบนผิวน้ำ

2. ขั้นสำรวจและค้นหา ( 45 นาที)
2.1 ครูอธิบายถึงประเภทของคลื่น
- คลื่น มีเกณฑ์การจำแนกอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1. จำแนกตามตัวกลาง
2. จำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่
1. จำแนกตามตัวกลาง คือ
- อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นกล
- ไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
2.2 ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 4–5 คน และแจกใบความรู้เรื่องการถ่ายโอนพลังงานของคลื่นและชนิด
คลื่น ใบงานที่ 2 เรื่องคลื่นกล และทำใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องการจำแนกคลื่น และลักษณะของคลื่น
2.3 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มยกมือตอบถึงส่วนประกอบของคลื่นจากการที่ยังไม่ได้ศึกษามาก่อน
โดยเป็นเรื่ององค์ประกอบของคลื่นผ่านแบบจำลอง
2.3 นักเรี ยนศึกษาเรื่ อง การถ่ายโอนพลังงานของคลื่น ชนิดคลื่น จากในหนังสือเรี ยนและ
อินเทอร์เน็ต โดยครูช่วยเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากบทเรียนกับความรู้เดิมที่เรียนรู้มาแล้ว ด้วยการใช้คำถามนำ
เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนตอบจากความรู้และประสบการณ์ของนักเรียน
2.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มดำเนินการวางแผนการทำใบกิจกรรม โดยแบ่งหน้าที่การทดลองและ สืบค้นเกี่ยวกับ
หัวข้อที่ได้รับมอบหมายเพื่อตอบคำถามกิจกรรม และร่วม อภิปรายผลการทดลองภายในกลุ่ม
3. ขั้นอภิปรายและสรุปผล ( 20 นาที)
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมการทดลอง อภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิด
เห็นกับกลุ่มอื่น ๆ
3.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ การถ่ายโอนพลังงานของคลื่น การจำแนกชนิดคลื่น
- การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล การรบกวนคลื่นจะทำให้เกิดการถ่ายโอน
พลังงานจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งโดยการรบกวนนี้อาจมีตัวกลางหรือไม่ก็ได้ ในกรณีที่มี
ตัวกลางเมื่อแหล่งกำเนิดเกิดการสั่นก็จะถ่ายโอนพลังงานให้กับตัวกลางที่อยู่นิ่ง โมเลกุลของตัวกลางจะมี
การสั่นแล้วถ่ายโอนพลังงานให้กับโมเลกุลข้างเคียงจำนวนมากต่อเนื่องกันไปทำให้คลื่นเคลื่อนที่ออกไป
- คลื่นมีเกณฑ์การจำแนกอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1. จำแนกตามตัวกลาง
2. จำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่
1. จำแนกตามตัวกลาง คือ
- อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นกล
- ไม่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
2. จำแนกตามลักษณะการเคลื่อนที่
- ตัวกลางมีทิศเดียวกันกับแนวการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นตามยาว
- ตัวกลางมีทิศตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ ได้แก่ คลื่นตามขวาง
3.3 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม ใบงานที่ 1 เรื่องคลื่นกล และทำใบกิจกรรมที่ 1
เรื่องการจำแนกคลื่น และลักษณะของคลื่น และดูจากแบบจำลอง
4. ขั้นขยายความรู้ ( 10 นาที)
4.1 ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับคลื่นกลโดยยกตัวอย่างสถานการณ์หรือปรากฏการณ์ต่างๆใน
ชีวิตประจำวัน หรือนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
4.2 ครูนำข้อสอบ O-Net เกี่ยวกับคลื่นกลมาอธิบายแนวข้อสอบและแนวการตอบ
- ถ้าแอมพลิจูดคลื่นเล็กลงหมายความว่าอย่างไร (พลังงานลดลง)
- คลื่นน้ำที่เกิดจากแหล่งกำเนิดที่สั่นเร็วขึ้นจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงนอกจากความถี่
(อัตราเร็วเพิ่มขึ้น)
- ปริมาณใดของคลื่นที่ใช้บอกค่าพลังงานบนคลื่น (ความถี่)
5. ขั้นวัดและประเมินผล ( 10 นาที)
5.1 ครูเช็คชื่อการเข้าเรียนของนักเรียน
5.2 ครูประเมินจากใบงานที่ 2 เรื่องคลื่นกล เพื่อวัดทักษะความรู้ ความเข้าใจ และโดยตรวจสอบ
ความถูกต้อง
5.3 ครูประเมินจากการทำกิจกรรมที่ 2 เรื่องการจำแนกคลื่น และลักษณะของคลื่น
5.4 ครูประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้
1. หนังสือเรียนฟิ สิกส์ เพิ่มเติมเล่ม 3
2. ใบความรู้ เรื่องการถ่ายโอนพลังงานของคลื่นและชนิดคลื่น
3. ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องการจำแนกคลื่น และลักษณะของคลื่น
4. ใบงานที่ 2 เรื่องคลื่นกล
5. อุปกรณ์การทดลองเรื่องการจำแนกคลื่น
6. แบบจำลองการเคลื่อนที่ของผิวน้ำ
7. แบบจำลองส่วนประกอบของคลื่น

7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการประเมิน เครื่องมือ วิธีการ เกณฑ์การประเมิน
พุทธพิสัย
อธิบายการเกิดคลื่นกล - ใบงานที่ 2 การตรวจให้ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
คะแนน
อธิบายส่วนประกอบ - ใบงานที่ 2 การตรวจให้ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
ของคลื่น คะแนน
ทักษะพิสัย
จำแนกชนิดของคลื่น - ใบกิจกรรมที่ 2 การสังเกต ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้
พฤติกรรมการทำ หรือระดับ 2 ขึ้นไป
กิจกรรม
คุณลักษณะ
มีความสนใจใฝ่ รู้ - แบบประเมิน การสังเกต ผ่านเกณฑ์ระดับพอใช้
ระเบียบวินัย คุณลักษณะอันพึง พฤติกรรม หรือระดับ 2 ขึ้นไป
มีความรับผิดชอบ ประสงค์
ตรงต่อเวลา
สามารถทำงานร่วมกับผู้
อื่นได้

แบบบันทึกคะแนนรายบุคคล
รหัสวิชา ว 32202 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คลื่นกล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานของคลื่นกล ชนิดของคลื่น

รายการประเมิน
แบบประเมินคุณลักษณะอัน

คะแนนรวม (38 คะแนน)


พึงประสงค์ (15 คะแนน)
ใบกิจกรรม (9 คะแนน)

เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนนเก็บ (1 คะแนน)


(18 คะแนน)
ใบงาน
ลงชื่อ.........................................................ผู้บันทึก
( )

ใบความรู้
เรื่อง คลื่นกล
เมื่อกล่าวถึงคลื่นหลายคนคงนึกถึงคลื่นในทะเลที่เป็ นคลื่นน้า ซึ่งจัดเป็ นคลื่นกลจากบทนาเราทราบแล้วว่า
คลื่นกล เป็ นการถ่ายโอนพลังงานวิธีหนึ่ง เราสามารถนาพลังงานจากคลื่นในทะเลมาใช้ประโยชน์ได้
พลังงานที่ถูกถ่ายโอนผ่าน คลื่นในทะเล ถูกเปลี่ยนเป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยอาศัยการเคลื่อนที่ของทุ่นที่ลอย
อยู่บนผิวน้าไปหมุนแกนของเครื่อง กำเนิดไฟฟ้ า โดยอาศัยการเคลื่อนที่ของทุ่นที่ลอยอยู่บนผิวน้าไปหมุน
แกนของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ า ทำให้ได้พลังงาน ไฟฟ้ า ในธรรมชาตินอกจากคลื่นน้ำ ยังมีคลื่นกลอื่นๆ เช่น
คลื่นเสียง และคลื่นแผ่นดินไหว เป็ นต้น คลื่นกลเกิดจากการ สั่นของแหล่งกำเนิดคลื่น หรือเกิดจากการ
รบกวนของตัวกลาง เช่น เสียงเกิดจากการสั่นของเส้นเสียงหรือสายของเครื่อง ดนตรีต่างๆ แล้วส่งพลังงาน
ผ่านโมเลกุลของอากาศรอบๆ แหล่งกำเนิดเสียง เกิดเป็ นคลื่นแผ่ออกไปโดยรอบ ในกรณี ของคลื่นน้ำที่เกิด
จากการโยนก้อนหินลงไปในน้า โมเลกุลของน้าบริเวณที่ก้อนหินตกกระทบจะถูกรบกวน และได้รับ
พลังงานจากก้อนหินที่ถูกโยน แล้วส่งพลังงานผ่านโมเลกุลรอบๆ บริเวณนั้น เกิดเป็ นคลื่นแผ่ออกไปจาก
บริเวณที่ก้อนหินตกระทบ
1. ชนิดของคลื่น
1.1 การจำแนกคลื่นตามลักษณะของตัวกลาง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) คลื่นกล (mechanical wave) คือ คลื่นที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่สามารถ
ถ่ายทอดอนุภาคและโมเมนตัมโดย อาศัยความยืดหยุ่นของตัวกลาง เช่น คลื่นเสียง คลื่นน้า คลื่นใน
เส้นเชือก
2) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (electromagnetic wave) คือ คลื่นที่ไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ เช่น
แสง คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์
1.2 การจำแนกคลื่นตามลักษณะการกำเนิดคลื่น แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) คลื่นดล (pulse wave) คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่ง
ลูก อาจมี ลักษณะกระจายออกจากแหล่งกำเนิดที่ทาให้เกิดคลื่น เช่น การโยนหินลงไปในน้ำ
2) คลื่นต่อเนื่อง (continuous wave) คือ คลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งกำเนิดหลายครั้งติดต่อกัน
ทำให้เกิด คลื่นหลายลูกติดต่อกัน โดยความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้นเท่ากับความถี่ของการรบกวนของ
แหล่งกำเนิดคลื่น เช่น คลื่นน้ำที่ เกิดจากการใช้มอเตอร์
1.3 การจำแนกคลื่นตามลักษณะการเคลื่อนที่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) คลื่นตามยาว (longitudinal wave) คือ คลื่นที่อนุภาคของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการ
เคลื่อนที่ไปกลับ ในทิศทางเดียวกันกับทิศทางที่คลื่นเคลื่อนที่ เช่น คลื่นเสียง คลื่นที่เกิดจากการอัด
และขยายของสปริง
2) คลื่นตามขวาง (transverse wave) คือ คลื่นที่ทาให้อนุภาคของตัวกลางที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านมีการ
เคลื่อนที่ ไปกลับในทิศทางตั้ งฉากกับทิศทางที่คลื่นเคลื่อนที่ เช่น คลื่นในเส้นเชือก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
2. ส่วนประกอบต่างๆ ของคลื่น
1) แอมพลิจูด คือ ระยะการกระจัดที่มีค่ามากที่สุดจากแนวสมดุลไปยังสันคลื่น หรือท้องคลื่น (ระยะ A)
2) ยอดคลื่น หรือ สันคลื่น คือ ตำแหน่งบนสุดของคลื่นแต่ละลูก
3) ท้องคลื่น คือ ตำแหน่งล่างสุดของคลื่นแต่ละลูก
4) เฟส คือ ตำแหน่งบนคลื่นซึ่งสัมพันธ์กับการกระจัดของการเคลื่อนที่ของคลื่น
5) ความยาวคลื่น คือ ความยาวของคลื่น 1 ลูก เป็นระยะทางที่วัดจากเฟสถึงเฟสเดียวกันของคลื่นลูกถัดไป
6.) หน้าคลื่น คือ เส้นที่ลากผ่านตำแหน่งที่มีเฟสเดียวกันบนคลื่น เช่นลากแนวสันคลื่นหรือแนวท้องคลื่น
ใบงานที่ 2
เรื่อง คลื่นกล
ชื่อ……………………………………………………ชั้น………………เลขที่……

วัตถุประสงค์ : อธิบายการเกิดคลื่นกลและส่วนประกอบของคลื่นได้
คำชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคำ หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. คลื่นกล
คือ…………………………………………….…….…………………………………………………………
2. ชนิดของคลื่นเมื่อเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดโดยอาศัยตัวกลางและไม่อาศัยตัวกลางแบ่งได้เป็น…….ชนิด
ได้แก่………………………………….………………………………………………………………………
3. ชนิดของคลื่นเมื่อพิจารณาจากการสั่นของตัวกลางกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น แบ่งได้เป็น………ชนิด
ได้แก่………………………………….………………………………………………………………………
4. คลื่นดล ( pulse wave )
คือ……………………………………………………………………………………………………………..
5. คลื่นต่อเนื่อง ( continuous wave )
คือ……………………………………………………………………............................
6. จงบอกความหมายของคำที่กำหนดและวาดภาพส่วนประกอบของคลื่น
- สันคลื่น ( Crest )
คือ……………………….…………………………………………………………………………………..
- ท้องคลื่น ( Trough )
คือ………………………………………………………………………………………………………
- ความยาวคลื่น ( wavelength
คือ………………………………………………………………………………………….
- แอมพลิจูด ( Amplitude )
คือ………………………………………………………………………………………………
- หน้าคลื่น ( wave front )
คือ………………………………………………………………………………………………..

เฉลยใบงานที่
เรื่อง คลื่นกล
1. คลื่นกล คือ คลื่นกล เป็นการถ่ายโอนพลังงานวิธีหนึ่งโดยอาศัยตัวกลาง
2. ชนิดของคลื่นเมื่อเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดโดยอาศัยตัวกลางและไม่อาศัยตัวกลางแบ่งได้เป็น 2
ชนิด
ได้แก่ 1) คลื่นกล (mechanical wave) 2) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (electromagnetic wave)
3. ชนิดของคลื่นเมื่อพิจารณาจากการสั่นของตัวกลางกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น แบ่งได้เป็น 2
ชนิด
ได้แก่ 1) คลื่นตามยาว (longitudinal wave) 2) คลื่นตามขวาง (transverse wave)
4. คลื่นดล ( pulse wave ) คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่ง
ลูก
5. คลื่นต่อเนื่อง ( continuous wave ) คือ คลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งกำเนิดหลายครั้งติดต่อกัน
6. จงบอกความหมายของคำที่กำหนดและวาดภาพส่วนประกอบของคลื่น
- สันคลื่น ( Crest ) คือ ตำแหน่งบนสุดของคลื่นแต่ละลูก
- ท้องคลื่น ( Trough ) คือ ตำแหน่งล่างสุดของคลื่นแต่ละลูก
- ความยาวคลื่น ( wavelength ) คือ ความยาวของคลื่น 1 ลูก
- แอมพลิจูด ( Amplitude ) คือ ระยะการกระจัดที่มีค่ามากที่สุดจากแนวสมดุลไปยังสันคลื่นหรือท้อง
คลื่น
- หน้าคลื่น ( wave front ) คือ เส้นที่ลากผ่านตำแหน่งที่มีเฟสเดียวกันบนคลื่น

เกณฑ์การให้คะแนนใบงาน
ข้อ คะแนนเกณฑ์การประเมิน
3 2 1
1 สามารถอธิบายคลื่นกล เป็นการ สามารถอธิบายคลื่นกล ไม่สามารถอธิบายคลื่นกล เป็นการ
ถ่ายโอนพลังงานวิธีหนึ่งโดย เป็นการถ่ายโอนพลังงานวิธี ถ่ายโอนพลังงานวิธีหนึ่งโดยอาศัย
อาศัยตัวกลางถูกต้องครบถ้วน หนึ่งโดยอาศัยตัวกลางถูกต้อง ตัวกลางถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์
สมบูรณ์ บางส่วน
2 สามารถอธิบายชนิดของคลื่น สามารถอธิบายชนิดของคลื่น ไม่สามารถอธิบายชนิดของคลื่นเมื่อ
เมื่อเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิด เมื่อเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิด เคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิดโดยอาศัย
โดยอาศัยตัวกลางและไม่อาศัย โดยอาศัยตัวกลางและไม่อาศัย ตัวกลางและไม่อาศัยตัวกลางแบ่งได้
ตัวกลางแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ตัวกลางแบ่งได้เป็น 2 ชนิด เป็น 2 ชนิด
ได้แก่ 1) คลื่นกล ได้แก่ 1) คลื่นกล ได้แก่ 1) คลื่นกล
2) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ได้ครบ 2) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ได้ถูก 2) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ได้ครบถ้วน
ถ้วนสมบูรณ์ ต้องบางส่วน สมบูรณ์
3 สามารถอธิบายได้ว่าชนิดของ สามารถอธิบายได้ว่าชนิดของ ไม่สามารถอธิบายได้ว่าชนิดของ
ข้อ คะแนนเกณฑ์การประเมิน
3 2 1
คลื่นเมื่อพิจารณาจากการสั่น คลื่นเมื่อพิจารณาจากการสั่น คลื่นเมื่อพิจารณาจากการสั่นของ
ของตัวกลางกับทิศการเคลื่อนที่ ของตัวกลางกับทิศการเคลื่อนที่ ตัวกลางกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
ของคลื่น แบ่งได้เป็น 2 ชนิด ของคลื่น แบ่งได้เป็น 2 ชนิด แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
ได้แก่ 1) คลื่นตามยาว 2) ได้แก่ 1) คลื่นตามยาว 2) ได้แก่ 1) คลื่นตามยาว 2) คลื่น
คลื่นตามขวาง ได้ถูกต้องสม คลื่นตามขวาง ได้ถูกต้องบาง ตามขวาง ได้ถูกต้องสมบรูณ์
บรูณ์ ส่วน
4 สามารถอธิบายได้ว่าคลื่นดล สามารถอธิบายได้ว่าคลื่นดล ไม่สามารถอธิบายได้ว่าคลื่นดล
( pulse wave ) คือ คลื่นที่เกิด ( pulse wave ) คือ คลื่นที่เกิด ( pulse wave ) คือ คลื่นที่เกิดจาก
จากแหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้ง จากแหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้ง แหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้งเดียว ทำให้
เดียว ทำให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่ง เดียว ทำให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่ง เกิดคลื่นเพียงหนึ่งลูก ได้ครบถ้วนสม
ลูก ได้ครบถ้วนสมบรูณ์ ลูก ได้ครบถ้วนบางส่วน บรูณ์
5 สามารถอธิบายได้ว่า คลื่นต่อ สามารถอธิบายได้ว่า คลื่นต่อ ไม่สามารถอธิบายได้ว่า คลื่นต่อเนื่อง
เนื่อง ( continuous wave ) คือ เนื่อง ( continuous wave ) คือ ( continuous wave ) คือ คลื่นที่เกิด
คลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่ง คลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่ง จากการสั่นของแหล่งกำเนิดหลาย
กำเนิดหลายครั้งติดต่อกันได้ กำเนิดหลายครั้งติดต่อกันได้ ครั้งติดต่อกันได้ครับถ้วนสมบรูณ์
ครับถ้วนสมบรูณ์ ครับถ้วนบางส่วน
6 สามารถอธิบายได้ว่า สามารถอธิบายได้ว่า ไม่สามารถอธิบายได้ว่า
- สันคลื่น ( Crest ) คือ ตำแหน่ง - สันคลื่น ( Crest ) คือ ตำแหน่ง - สันคลื่น ( Crest ) คือ ตำแหน่งบน
บนสุดของคลื่นแต่ละลูก บนสุดของคลื่นแต่ละลูก สุดของคลื่นแต่ละลูก
- ท้องคลื่น ( Trough ) คือ - ท้องคลื่น ( Trough ) คือ - ท้องคลื่น ( Trough ) คือ ตำแหน่ง
ตำแหน่งล่างสุดของคลื่นแต่ละ ตำแหน่งล่างสุดของคลื่นแต่ละ ล่างสุดของคลื่นแต่ละลูก
ลูก ลูก - ความยาวคลื่น ( wavelength ) คือ
- ความยาวคลื่น ( wavelength ) - ความยาวคลื่น ( wavelength ) ความยาวของคลื่น 1 ลูก
คือ ความยาวของคลื่น 1 ลูก คือ ความยาวของคลื่น 1 ลูก - แอมพลิจูด ( Amplitude ) คือ ระยะ
- แอมพลิจูด ( Amplitude ) คือ - แอมพลิจูด ( Amplitude ) คือ การกระจัดที่มีค่ามากที่สุดจากแนว
ระยะการกระจัดที่มีค่ามากที่สุด ระยะการกระจัดที่มีค่ามากที่สุด สมดุลไปยังสันคลื่นหรือท้องคลื่น
จากแนวสมดุลไปยังสันคลื่น จากแนวสมดุลไปยังสันคลื่น - หน้าคลื่น ( wave front ) คือ เส้นที่
หรือท้องคลื่น หรือท้องคลื่น ลากผ่านตำแหน่งที่มีเฟสเดียวกันบน
- หน้าคลื่น ( wave front ) คือ - หน้าคลื่น ( wave front ) คือ คลื่น
เส้นที่ลากผ่านตำแหน่งที่มีเฟส เส้นที่ลากผ่านตำแหน่งที่มีเฟส ได้ครบถ้วนสมบรูณ์
เดียวกันบนคลื่น เดียวกันบนคลื่น
ได้ครบถ้วนสมบรูณ์ ได้ครบถ้วนบางส่วน

เกณฑ์การผ่าน : ได้คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป


แบบประเมินใบงาน
รหัสวิชา ว 32202 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ชนิดและการเกดคลื่น
คำชี้แจง ครูประเมินการตอบคำถามในใบงาน โดยใช้เกณฑ์การประเมินผ่านร้อยละ 70
(คะแนนเต็ม 10 คะแนน ต้องมากกว่า 7 คะแนนขึ้นไป)
เลขที่ ชื่อ – สกุล คะแนน ร้อย สรุปผล หมายเหตุ
ที่ได้ ละ
(18) (70) ผ่าน ไม่
ผ่าน

ลงชื่อ ........................................ ผู้บันทึก


( .......................................... )
วันที่ / / .

ใบกิจกรรมที่ 2
เรื่อง การจำแนกคลื่น และลักษณะของคลื่น
ชื่อ-สกุล..................................................................เลขที่................................กลุ่มที่....................
ชื่อ-สกุล..................................................................เลขที่................................กลุ่มที่....................
ชื่อ-สกุล..................................................................เลขที่................................กลุ่มที่....................
ชื่อ-สกุล..................................................................เลขที่................................กลุ่มที่....................
จุดประสงค์การเรียนรู้ : จำแนกชนิดของคลื่นได้
อุปกรณ์
1. สลิ้งกี้
2. ถุงพลาสติก
วิธีการทดลอง
1.นำถุงพลาสติกชิ้นเล็ก ผูกไว้กับสลิ้งกี้
2. วางสลิ้งกี้ไว้กับพื้น และผลักไปข้างหน้าและข้างหลังสลับกันไป แล้วสังเกตการเคลื่อนที่ของถุงพลาสติก
และสลิ้งกี้ จากนั้นบันทึกผล
3. วางสลิ้งกี้ไว้กับพื้น และสะบัดขึ้นลงสลับกันไป แล้วสังเกตการเคลื่อนที่ของถุงพลาสติกและสลิ้งกี้ จาก
นั้นบันทึกผล

การผลักสลิ้งกี้ไปหน้าหลัง พบ
ว่า……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
การสะบัดสลิ้งกี้ขึ้นลง พบ
ว่า……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
สรุป
ผล……………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
แบบประเมินใบกิจกรรม
รหัสวิชา ว 32202 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ชนิดและการเกดคลื่น

เลขที่ ชื่อ – สกุล ทักษะการจำแนก สรุปผล หมายเหตุ


คะแนนที่ได้
ผ่า ไม่
น ผ่าน

ลงชื่อ ........................................ ผู้บันทึก


( .......................................... )
วันที่ / / .

เกณฑ์การให้คะแนนการตรวจการปฏิบัติกิจกรรม
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
3 2 1
การผลักสลิ้งกี้ไปหน้า สามารถอธิบายว่า ถุง สามารถอธิบายว่า ถุง ไม่สามารถอธิบายว่า ถุง
หลัง พลาสติกมีทิศทางการสั่น พลาสติกมีทิศทางการสั่น พลาสติกมีทิศทางการ
ตามแนวยาว ถุงพลาสติก ตามแนวยาว ถุงพลาสติก สั่นตามแนวยาว ถุง
ไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่น ไม่ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่น พลาสติกไม่ได้เคลื่อนที่
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
3 2 1
ครบถ้วนสมบรูณ์ ครบถ้วนสมบรูณ์บางส่วน ไปกับคลื่นครบถ้วนสม
บรูณ์
สามารถอธิบายได้ว่า ถุง สามารถอธิบายได้ว่า ถุง ไม่สามารถอธิบายได้ว่า
พลาสติกมีทิศทางการสั่น พลาสติกมีทิศทางการสั่น ถุงพลาสติกมีทิศทาง
ตามขวาง ถุงพลาสติกไม่ ตามขวาง ถุงพลาสติกไม่ การสั่นตามขวาง ถุง
การสะบัดสลิ้งกี้ขึ้นลง
ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่น ได้เคลื่อนที่ไปกับคลื่น พลาสติกไม่ได้เคลื่อนที่
ครบถ้วนสมบรูณ์ ครบถ้วนสมบรูณ์บางส่วน ไปกับคลื่นครบถ้วนสม
บรูณ์
สามารถจำแนกได้ว่า การ สามารถจำแนกได้ว่า การ ไม่สามารถจำแนกได้
ผลักสลิ้งกี้ไปหน้าหลัง ผลักสลิ้งกี้ไปหน้าหลัง
การจำแนก เป็นคลื่นตามยาว เป็นคลื่นตามยาว
การสะบัดสลิ้งกี้ขึ้นลง
เป็นคลื่นตามขวาง

เกณฑ์ระดับคุณภาพการประเมิน (ผ่านเกณฑ์ระดับปานกลาง ขึ้นไป)

ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
9-7 ดี
5-6 พอใช้
3-4 ควรปรับปรุง

เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
3 2 1
1. มีความสนใจ มีความตั้งใจและมีความเพียร มีความตั้งใจและมีความ ไม่ค่อยสนใจเข้าร่วม
ใฝ่ เรียนรู้ พยายามในการเรียนและการเข้า เพียรพยายามในการเรียน กิจกรรม และไม่ค่อยมี
ร่วมกิจกรรม ศึกษาค้นคว้า และการเข้าร่วมกิจกรรม ความพยายามในการ
หาความ รู้จากตำราและใช้สื่อ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้
เทคโนโลยีในการแสวงหาความ จากตำราและใช้สื่อ
รู้ทั้งในและนอกห้องเรียน สรุป เทคโนโลยีในการ
เป็นองค์ความรู้ และประยุกต์ใช้ แสวงหาความรู้ สรุปเป็น
ในชีวิต ประจำวันได้ องค์ความรู้ได้

2. มีระเบียบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงกฎ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงกฎ ขณะปฏิบัติกิจกรรมมี


วินัย เกณฑ์ของชั้นเรียน และมี เกณฑ์ของชั้นเรียน และมี การพูดคุยหรือเล่นกับ
ความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ ความตรงต่อเวลาในการ เพื่อนตลอดเวลา
กิจกรรมต่างๆ และไม่พูดคุยห ปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ บ้าง
รือเล่นกับเพื่อนขณะปฏิบัติ แต่ไม่ทั้งหมด
กิจกรรม

3. มีความรับผิด มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้ มีความรับผิดชอบต่องาน ทำงานที่ได้รับมอบ


ชอบ รับมอบหมาย และทำงานเสร็จ ที่ได้รับมอบหมาย แต่ หมายเสร็จแต่ส่งงาน
เรียบร้อยทันเวลาที่กำหนด ทำงานไม่เสร็จทันเวลาใน ช้ามากกว่า 1 วัน
คาบเรียนโดยส่งงานช้า
กว่าเวลาที่กำหนด 1 วัน

4.ตรงต่อเวลา ส่งงานตรงเวลา รับผิดชอบกับ ส่งงานไม่ตรงเวลา เข้า ไม่ส่งงาน ไม่รับผิด


งานที่ได้รับมอบหมายอย่างดี เรียนช้ากว่า 15 นาที ชอบงานที่ได้รับมอบ
เยี่ยม และเข้าเรียนตรงเวลา หมาย เข้าเรียนช้ากว่า
30 นาที
5.สามารถ ทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้น ทำงานร่วมกับเพื่อนในชั้น ไม่ทำงานร่วมกับเพื่อน
ทำงานร่วมกับผู้ เรียน มีสัมพันธ์กับผู้อื่น เรียน มีสัมพันธ์กับผู้อื่น ในชั้นเรียน และไม่มีมี
อื่น สามารถแลกเปลี่ยนความรู้ แต่ยังมีหัวข้อหรือเวลาที่ สัมพันธ์กับผู้อื่น
และร่วมอภิปรายกับเพื่อร่วม ไม่สามารถแลกเปลี่ยน
ชั้นได้ ความรู้กับผู้อื่น

เกณฑ์ประเมินคุณภาพ
คะแนน เกณฑ์ ระดับ
1-5 ปานกลาง 1
6-10 ดี 2
11-15 ดีเยี่ยม 3
ต้องผ่านระดับ 2 ขั้นไป

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รหัสวิชา ว 32202 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเกิดและชนิดของคลื่น
คำชี้แจง ให้ครูผู้สอนประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในการนำเสนอผลงานแล้วบันทึกระดับ
คะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน
เลขที่

ชื่อ-สกุล

มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้
(3 คะแนน)
มีระเบียบวินัย(3 คะแนน)

มีความรับผิดชอบ(3 คะแนน)

ตรงต่อเวลา(3 คะแนน)

สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ได้(3 คะแนน)
รวม (15 คะแนน)
ผลการประเมิน

You might also like