Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 119

ค นเ ดจาก การรบกวนแห ง เ ด ใ เ ด การ น

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

บทที่ 9 คลื่ น กล
9.1 การถ่ ายโอนพลังงานของคลืน่ กล
การเคลื่อนที่แบบคลื่น หมายถึง “ การเคลื่อน
ที่ซ่ ึ งพลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาค
-

ตัวกลางสัน่ อยูท่ ี่เดิม ”


-

ตัวอย่างเช่ น
ถ้าเราทาการทดลองโดยใช้เชื อกยาวประมาณ 5 เมตร วางไว้บนพื้นราบโดยผูกด้ายสี สด
ไว้ตรงกลางเส้นเชื อก แล้วยึดปลายเชือกข้างหนึ่งไว้กบั ฝาผนัง ใช้มือดึงปลายเชือกที่เหลือให้ตึง
พอประมาณแล้วสะบัดปลายเชื อกนั้นขึ้ นลงตามแนวดิ่ ง จะเกิ ดส่ วนโค้งขึ้ นในเส้ นเชื อกซึ่ งจะ
เคลื่ อนจากปลายที่ ถูกสะบัดพุ่งเข้าหาฝาผนัง การเคลื่ อนที่ น้ ี จะมี การนาพลังงานจากจุดสะบัด
เชื อกเคลื่ อนติดไปพร้อมกับส่ วนโค้งของเชื อกนั้น ส่ งผลให้พลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้
แต่ถ้าพิจารณาถึ งเส้นด้ายที่ ผูกไว้กลางเชื อก จะพบว่าเส้ นด้ายเพียงแต่สั่นขึ้นลงอยู่กบั ที่ไม่ได้
เคลื่อนที่เข้าหาฝาผนังเหมือนกับพลังงาน แสดงให้เห็นว่าอนุ ภาคของเส้นเชื อกตรงที่ผกู ด้ายอยู่
นั้นไม่ได้เคลื่ อนที่ไปกับพลังงาน แต่จะสั่นขึ้ นลงอยู่ที่เดิ ม เราเรี ยกการเคลื่ อนที่ ซ่ ึ งพลังงานถูก
ถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยอนุภาคตัวกลางสัน่ อยูท่ ี่เดิมเช่นนี้วา่ เป็ นการเคลือ่ นที่แบบคลืน่
ทิศของพลังงาน

ทิศการสัน่ ไปมาของอนุภาค

อีกตัวอย่างเช่ น
ถ้าเรานาลูกแก้วกลมๆ มาวางเรี ยงกันประมาณ 7 ลูก แล้วออกแรงตีลูกแก้วลูกแรก จะทา
ให้ลูกแก้วนั้นวิ่งไปกระทบลูกที่ 2 แล้วลูกที่ 2 นั้นจะวิ่งไปชนลูกที่ 3 เป็ นเช่นนี้ ไปเรื่ อยๆ จนถึง
ลูกสุ ดท้าย การชนกันแบบนี้ จะมีการถ่ายทอดพลังงานไปข้างหน้าเรื่ อยๆ ทาให้พลังงานเกิดการ
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาคตัวกลาง (คือลูกแก้ว) เพียงแต่สั่นไปมาอยูเ่ ดิม การเคลื่อนที่
แบบนี้เรี ยกการเคลื่อนที่แบบคลื่นได้เช่นกัน

1
ทำ
สิ้
กิ
ลื่
ล่
ห้
กิ
กำ
นิ
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ชนิดของคลืน่
การแบ่ งชนิดของคลืน่ วิธีที่ 1 แบ่งโดยอาศัยทิศทางของพลังงานกับทิศการสั่นอนุ ภาค จะ
แบ่งคลื่นได้ 2 ชนิด คือ
1) คลืน่ ตามขวาง (longitudinal wave) คือ
คลื่นซึ่ งมีทิศการถ่ายทอดพลังงานตั้งฉากกับทิศของการ
สั่นอนุภาค เช่นคลื่นในเส้นเชือก เป็ นต้น ↑
2) คลืน่ ตามยาว (transverse wave) คือคลื่นที่มีทิศการถ่ายทอดพลังงานขนาน กับทิศ
การสั่นของอนุภาค เช่น คลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
การแบ่ งชนิดของคลืน่ วิธีที่ 2 แบ่งโดยอาศัยลักษณะการถ่ายทอดพลังงาน จะแบ่งคลื่นได้
2 ชนิด คือ
1) คลื่ น กล (mechanical wave) คื อ คลื่ น ที่ ต้ อ งอาศัย อนุ ภ าคตัว กลางจึ ง ถ่ า ยทอด
พลังงานได้ เช่นคลื่นในเส้นเชือก คลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
2) คลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า (electromagnetic wave) คื อ คลื่ น ที่ ไ ม่ ต้ อ งอาศัย อนุ ภ าค
ตัวกลาง ก็สามารถถ่ายทอดพลัง งานได้ ซึ่ งได้แก่ รังสี แกมมา รังสี เอ็กซ์ รังสี อลั ตราไวโอเลต
คลื่นแสง รังสี อินฟาเรด คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ไฟฟ้ ากระแสสลับ
1. การเคลื่อนที่แบบคลื่นคือการเคลื่อนที่ซ่ ึง
1. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้าพร้อมกับการเคลื่อนที่ของอนุ ภาคตัวกลาง
2. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้า ก่อนการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
3. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้า หลังการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
4. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาคตัวกลางสั่นอยูท่ ี่เดิม

2
การ แนกค
-

④. แนกตาม วกลาง

กล อค น นอา ย กลาง ใ อ
-ค น อ
- >
เน เ ยงค น
ค น ค นในเ เน อก
-ค นแ เห กไฟ า อ ค น เตะ วกลางใน
การเค ไอ อน เ นง อเ อ ฐ

②. แนกความ การ ง
-


-ความ ขลาง อ ค น การเค อน ก น การ น เน ค นใน น เ อกค, น


* ค นแ เห กไฟ า กช
·
คน
การเ ม
-

·m
การ น

- e อ ค น การ เค อน ขนาน นการ น /เ นค นสป ง, เ ยง


/

ด การ น ต
#4
#> response
งการเค อน Now
::::::::
I ต โมเล ล หงอวกาศ

③3. แนก ตาม ความ เ อ


-ค นตล
·
-ค น อเ อ

④ แนกความ การเค อน

-1
io ~ . Or ifnoteสปร

-2 นา เอน ค น

-3 เอนค นแ เห กไฟ า ,ค นเ ยง
ตั
คื
ที่หั
ต้
ที่
น้ำ
คื
ตั
ที่
ชื่
รั
คื
สิ่
ทิติ
ที่มีทิติ
ติ
กิ
นั
นั้
น้ำ
ที่
สิ
ทิติ
นิ
ทุ
คื
น้ำ
ที่มีวิ
สิ
ทิติ
กั
ทั
อั
สิ
ติ
ต่
ต่
มิ
มิ
มี
มิ
น้ำ
ช่
ส้
ช่
ลื่
ชื
ลื
ช่
นื่
สี่
ลื่
สี
อิ
นื่
ลื่
ลื่
ลื่
ลื่
ลื่
นื
ลื่
ลื่
ลื่
ชื
ลื่
ลื่
ลื่
ธี
อั
ลื่
ติ
ติ
ลื่
ศั
ลื่
ติ
ลื่
สั่
ลื่
ลื่
กุ
ลื่
ลื่
จำ
จำ
ริ
จำ
สี
จำ
ลื่
ลื่
พิ่
นำ
ที่
ม่
ม่
ม่
ติ
ลื่
ลื่
ที่
ที่
ล็
ล็
ล็
ที่
ที่
ฟ้
ฟ้
ฟ้
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
2. เมื่อมีคลื่นผิวน้ าแผ่ไปถึงวัตถุที่ลอยอยูท่ ี่ผวิ น้ าจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร
1. อยูน่ ิ่งๆ เหมือนเดิม 2. กระเพื่อมขึ้นลงและอยูก่ บั ที่เมื่อคลื่นผ่านไปแล้ว
3. เคลื่อนที่ตามคลื่น 4. ขยับไปข้างหน้าแล้วถอยหลัง

3. คลื่นในเส้นเชื อกกาลังเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา A ทิศการเคลื่อนที่


และ B เป็ นจุดสองจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลา
A B
หนึ่งรู ปร่ างของเส้นเชือกเป็ นดังรู ป ถ้าเวลาผ่านไป
อีกเล็กน้อย จุด A และ B จะเคลื่อนที่อย่างไร
1. ทั้ง A และ B จะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ 2. A ต่ากว่าเดิม B สู งกว่าเดิม
3. A สู งกว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม 4. ทั้ง A และ B อยูท่ ี่เดิม

4. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางต่างกันอย่างไร
1. ต่างกันที่ความยาวคลื่น 2. ต่างกันที่แอมพลิจูดของคลื่น
3. ต่างกันที่ประเภทของแหล่งกาเนิด 4. ต่างกันที่ทิศทางการสั่นของตัวกลาง

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
5. คลื่นที่ตอ้ งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่คือ
1. คลื่นกล 2. คลื่นดล 3. คลื่นตามยาว 4. คลื่นตามขวาง

6. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทั้งหมด


1. คลื่นเสี ยง , คลื่นวิทยุ , คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นน้ า , คลื่นในเส้นเชื อก , คลื่นดล
3. คลื่นในสปริ ง , คลื่นน้ า , แสง 4. แสง , ไฟฟ้ ากระแสสลับ , รังสี แกมมา

9.2 คลืน่ ผิวนา้


คลื่นผิวน้ าเป็ นคลื่นกล เกิดเมื่อผิวน้ า
ถูกรบกวน และมีการถ่ายโอนพลังงานผ่าน
อนุภาคของน้ า
สิ่ งที่ควรทราบเป็ นเบื้องต้นเกี่ยวกับคลื่นผิวน้ ามีดงั นี้
1. สั นคลืน่ (crest) คือจุดสู งสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมขึ้นไปได้
2. ท้องคลืน่ (trough) คือจุดต่าสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมลงไปได้
3. แอมพลิจูด (amplitude , A ) คือการกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติข้ ึนไปถึงสันคลื่นหรื อ
การกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติลงไปถึงท้องคลื่น
4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
สันคลื่น

A X
W Y Z
A

ท้องคลื่น
4. หนึ่งลูกคลืน่ คือช่วงจังหวะคลื่นกระเพื่อมขึ้น 1 อัน รวมกับลงอีก 1 อัน เช่นในรู ป
ช่วง WX คือ 1 ลูกคลื่น หรื อช่วง XY ก็เป็ น 1 ลูกคลื่น หรื อช่วง YZ ก็เป็ น 1 ลูกคลื่นเช่นกัน
*
5. ความยาวคลืน่ ( wavelength · , ) คือระยะทางที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไป
จนถึงจุดสุ ดท้ายของหนึ่ งลูกคลื่ น เช่ น ระยะทางจาก W ไป X ดังรู ป หรื อระยะระหว่างสัน
คลื่นที่อยูถ่ ดั กัน หรื อระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน ก็ได้
6. คาบ (period, T) คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 ลูกคลื่น มีหน่วยเป็ นวินาที (s)
7. ความถี่ (frequency , f ) คือจานวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา เช่นถ้าเกิด
คลื่น 3 ลูกในเวลา 1 วินาที เช่นนี้เรี ยกได้วา่ ความถี่คลื่นมีค่า 3 รอบต่อวินาที
ความถี่ มีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อ 1 /วินาที หรื อสั้นๆ ว่า เฮิรตซ์ (Hz)
เราอาจคานวณหาค่าความถี่ได้จาก
f = จานวนคลืน่ ทีเ่ กิด หรื อ f = T1
เวลาทีเ่ กิดคลืน่ นั้น
เมื่อ f คือความถี่ ( 1s , Hz)
T คือคาบ (วินาที)
8. อัตราเร็วคลืน่ (wave speed , v ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา

#
เราสามารถคานวณหาอัตราเร็ วคลื่นได้จาก
v = st หรื อ v=f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วคลื่น (เมตร/วินาที)
s คือระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ ( เมตร )
t คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่คลื่น ( Hz หรื อ รอบ/วินาที )
คือ ความยาวคลื่น ( เมตร )
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9. เฟสของคลืน่ (phase , ) เป็ นการบอกตาแหน่งบนหน้าคลื่นในรู ปของมุมหน่วย
องศาหรื อเรเดียน เช่นในรู ป
90o 450o 810o
B
A 180o E
0o C 360o 540o 720o 900o 1180o
D
270o 630o 990o
จุด A เป็ นจุดซึ่ งคลื่นเริ่ มเคลื่อนที่ข้ ึนจากจุดสมดุล เราถือว่าจุด A มีเฟสเป็ น 0o
จุด E เป็ นจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบนับจากจุดเริ่ มต้น A เราถือว่าจุด E มีเฟสเป็ น 360o
จุด C เป็ นจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ได้ครึ่ งรอบ นับจากจุดเริ่ มต้น A เราถือว่าจุด C มีเฟสเป็ น 180o
จุด B เป็ นจุดซึ่ งอยูต่ รงกับสันคลื่น เราถือว่าจุด B มีเฟสเป็ น 90o
จุด D เป็ นจุดซึ่ งอยูต่ รงกับท้องคลื่น เราถือว่าจุด D มีเฟสเป็ น 270o
สู ตรใช้คานวณเกี่ยวกับเฟสของคลื่น ได้แก่
o o
= 360 vf ( x) หรื อ = 360 ( x) หรื อ = 360 o f (Δ t)
เมื่อ คือเฟสที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( องศา )
x คือระยะการกระจัดที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( เมตร )
f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ์ )
v คืออัตราเร็ วของคลื่น ( เมตร/วินาที )
คือความยาวคลื่น ( เมตร )
160
t คือเวลาที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( วินาที )
10. เฟสตรงกัน คือจุดบนหน้าคลื่นซึ่ งอยูห่ ่างกันเท่ากับ n เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …
↳14 -
-
-

3
2
* ห อ 90o 1 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180o 1440o
270o 630o 990o 1350o
45 + = ° # 2 nw. (-) : 360 = 1, 2, 3,

6
#กศน. 4 า G+ 360 = - #
ข่
รื
O

1,180
If IPi

· H

360;
It

·
=
!
·

180
3.
·
#

· an, st

1 เพ ส ตร น
· -
-
อ ดบน ห า ค น าง น 360,

=- อา.60 2 aroundthere) = = =

-
2, 3, . . . . . .

ศ. แาม อด บนห าค น หง
น 100,ป
①เอาอ
DT = =

ค. หมอ 1,2,3, .....

8 ด,
Z 18 ° .
0=
จุ
คื
กั
ค่
ที่ต่
จุ
จุ
คื
ข้
ที่
ลื่
กั
ลื่
อุ
ลื่
น้
วั
ค่
น้
กั
จุ
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ตัวอย่างเช่น เฟส 90o , 450o , 810o , 1170o ในรู ป อยูห่ ่างกันเท่ากับ 1 , 2 , 3
ดังนั้นเฟสเหล่านี้ถือว่าเป็ นเฟสที่ตรงกันหมด
และจากรู ปจะได้อีกว่า 270o , 630o , 990o , 1350o เป็ นเฟสที่ตรงกัน
และ 180o , 540o , 900o , 1260o เป็ นเฟสที่ตรงกัน
เพราะอยูห่ ่างกันเท่ากับ n
↳100 1
11. เฟสตรงกันข้ าม คือจุดบนหน้าคลื่นซึ่ งอยูห่ ่างกัน ( n – 2 ) เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …
90o 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180o 1440o

λ 270
o 630o 990o 1350o
2 3λ
2 5λ
2
ตัวอย่างเช่นในรู ปด้านบน
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 270o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 1
2 ( คือ [ 1– 12 ] )
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 630o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 3
2 ( คือ [ 2– 12 ] )
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 990o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 5 ( คือ [ 3– 12 ] )
2
12. สมการของคลืน่
s = A sin t Y
S t
เมื่อ s = การกระจัดจากระดับน้ าปกติ
ไปถึงจุดใดๆ บนผิวคลื่น
A = แอมพลิจูดของคลื่น
= อัตราเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
ค่าของ สามารถหาได้จาก
=2 f
เมื่อ f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ์ )

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
7. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของความยาวคลื่น ( )
-

1. ระยะทางที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไปจนถึงจุดสุ ดท้ายของหนึ่งลูกคลื่น


- -

2. ระยะระหว่างสันคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน
-

3. ระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน
- =

·4. ถูกทุกข้อ

8. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น ----
3000 รอบต่อนาที คลื่นนี้มีความถี่ และคาบเท่าไร
1. 50 Hz , 0.02 วินาที 2. 100 Hz , 0.04 วินาที
3. 150 Hz , 0.06 วินาที 4. 300 Hz , 0.08 วินาที

%: 1 =Et
=0.02

#m =
t

9. คลื่นน้ าคลื่นหนึ่งมีความยาวคลื่น 2 เมตร เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 40 เมตร ใน 5 วินาที


จงหา ก. ความเร็ วคลื่น ข. ความถี่ ค. เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ได้ 1 ลูกคลื่น
· 1. 8 m/s , 4 Hz , 0.25 s 2. 8 m/s , 8 Hz , 0.50 s
3. 4 m/s , 4 Hz , 0.25 s 4. 4 m/s , 8 Hz , 0.50 s


⑧. += ?

&
"
①. Vit

↓* 8=-(
H2 + :Toet
m/s
+: 4 s

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3
I
http://www.pec9.com t บทที่ 9 คลื่นกล
10(แนว มช) แหล่ งกาเนิ ดคลื่ นให้คลื่ นความถี่ 400 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่ น 12.5 เซนติเมตร
คลื่นที่เกิดจะมี= = 300=
อตั ราเร็ วเท่าใด และในระยะทาง เมตร คลื่นนี้จะใช้เ=
วลาเคลื่อนที่เท่าไร
1. 25 เมตร/วินาที , 3 วินาที 2. 25 เมตร/วินาที , 6 วินาที
-

3. 50 เมตร/วินาที , 3 วินาที 4. 50 เมตร/วินาที , 6 วินาที


-


# #x -
1403 12.5 x 30
:ข. m/
300 =

-credit =
s

·
11. แหล่งกาเนิดคลื่นปล่อยคลื่นมีความยาวคลื่น 5 เซนติเมตร วัดอัตราเร็ วได้ 40 เมตร/วินาที
&
ในเวลา 0.8 วินาที ได้จะเกิดคลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น
1. 320 ·2. 640 3. 800 4. 1200
#

& 3-
40 - - 10.05

·- See
800ค

แ ว 0.85 ->

= 640
12. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ไปบนผิวน้ ากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหว่าง
-

สันคลื่นที่ถดั กันวัดได้ 20 เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน


--1 นาที
t = 600.
จะได้ระยะทางกี่เมตร

from
for - 10 H2,500คเ ว

#
<= 1000
9
↳0
ที่
รื
ล้
รั
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

·
13. ในการทดลองเรื่ องการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยใช้ถาดน้ ากับตัวกาเนิดคลื่นซึ่ งเป็ นมอเตอร์ ที่
f
&
หมุน 4 รอบ/วินาที ถ้าคลื่นมีความยาวคลื่น 3 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็ วของคลื่นที่เกิดขึน
- < =

1. 8 cm/s 2. 10 cm/s 3. 12 cm/s
· 4. 14 cm/s

* fe
= 4( 3)
=- 12 cm/s

14. ตัวกาเนิ ดคลื่นมีค่าความถี่ของการสัน่ 8 เฮิรตซ์ ทาให้เกิดคลื่นผิวน้ า ดังแสดงในรู ป


-

ทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่นผิวน้ า X = 2 CM
ระดับผิวน้ าปกติ
11 12 13 14 cm

รู ปแสดงคลื่นผิวน้ าในกล่องคลื่นที่เวลาหนึ่งหาความเร็ วของคลื่นนี้ในหน่วยเซนติเมตร/-


*

วินาที
1. 20 ⑧2. 16 3. 8 4. 4

#
=8 (2)
=16

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล


15. นักเรี ยนคนหนึ่งยืนอยูร่ ิ มฝั่งโขงสังเกตเห็นคลื่นผิวน้ าเคลื่อนกระทบฝั่งมีระยะห่างระหว่าง
+ &
-

สันคลื่ นที่อยูถ่ ดั กัน 10 เซนติเมตร และคลื่นมีอตั ราเร็ ว 5 เซนติเมตร/วินาที อยากทราบว่า


=

คลื่นขบวนนี้จะเคลื่อนกระทบฝั่ง·
- >

นาทีละกี่ลูก
-> v =
5cm/s #

↓ #
-"
~
-

8 = f()


0.5x 60 = 30 /
0.5 merformi
8===

16. การทดลองโดยใช้ถาดคลื่นที่มีน้ าลึกสม่าเสมอ วัดระยะห่างระหว่างสันคลื่น 5 สันที่อยูถ่ ดั


กันได้ระยะทาง 10 เซนติเมตร ถ้าคลื่นผิวน้ ามีอตั ราเร็ ว 20 เซนติเมตรต่อวินาที จงหา
#

ความถี่ของคลื่น
+- -
1. 2 Hz 2. 4 Hz 3. 8 Hz 4. 4 Hz

#categor
·The
4 A4

I=== Az

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
17. คลื่นต่อเนื่องในเส้นเชื อกกาลังเคลื่อนที่ไปทางขวา เมื่อเวลา t = 0 กราฟระหว่างการกระจัด
=

ของอนุ ภาคบนเส้นเชือกกับระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ เป็ นดังรู ป ก. ถ้าเขียนกราฟระหว่าง


/
การกระจัดของอนุภาคบนเส้นเชือกกับเวลา จะได้กราฟดังรู ป ข. อัตราเร็ วของคลื่น ในเส้น
เชือกเป็ นเท่าใด
-

->

ระยะห่างจากตาแหน่งเดิม ระยะห่างจากตาแหน่งเดิม
cm.
MM.
S = 50
เซนติเมตร & เวลา
10 20 30 40 50 1 2 3 4
- >

t = 5S (วินาที)

·
1. 0.1 m/s
· 2. 0.2 m/s 3. 0.3 m/s 4. 0.4 m/s

18. การกระจัด

ตาแหน่ง
0 20 40 60 80 100 120 140 160 (cm)

จากรู ปคลื่นขบวนหนึ่ง เมื่อเวลา t = 0 แสดงด้วยเส้นทึบ และเมื่อเวลาผ่านไป t = 0.2


วินาที แสดงด้วยเส้นประ จงหาความเร็ วของคลื่นในหน่วยกี่เมตร/วินาที
1. 0.2 2. 0.5 3. 1.0 4. 1.5

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
19. คลื่นนิ่งในเส้นเชื อกที่เวลาต่างๆ 3 เวลา เวลา 0 วินาที
ดังรู ป จงหาความเร็ วของคลื่นในเชือกนี้ 120 cm
0 30 60 90 -

1. 15 เมตร/วินาที เวลา 0.01 วินาที


2. 30 เมตร/วินาที 120 cm
0 30 60 90
3. 60 เมตร/วินาที
เวลา 0.02 วินาที
4. 120 เมตร/วินาที 120 cm
0 30 60 90

20(แนว En) ในการสังเกตของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง รัศมี(เซนติเมตร)


พบว่า เมื่อทาให้เกิดคลื่นดลวงกลมขึ้นในถาด
คลื่นรัศมีของคลื่นดลวงกลมที่เวลาต่างๆ เป็ น 50
40
ไปตามกราฟ ถามว่านักเรี ยนกลุ่มนี้ทาให้เกิด 30
คลื่นต่อเนื่องขึ้นในถาดคลื่นนี้ดว้ ยความถี่ 10 20
เฮิรตซ์ ยอดคลื่น 2 ยอด ที่อยูใ่ กล้กนั มาก 10 เวลา (วินาที)
ที่สุดจะอยูห่ ่างกันกี่เซนติเมตร 2 4 6 8 10

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
21. คลื่นขบวนหนึ่งมีรูปร่ างดังกราฟ ข้อใดถูกต้องทั้งหมด
1. มุมเฟสเริ่ มต้น 0 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร การกระจัด (เซนติเมตร)
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ์ 5 เวลา
2. มุมเฟสเริ่ มต้น 0 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
2 4 6 8 10 (วินาที)
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ์ –5
3. มุมเฟสเริ่ มต้น 90 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ์
4. มุมเฟสเริ่ มต้น 90 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ์

22. คลื่นสองขบวน มีลกั ษณะดังรู ป ข้อใดที่ถูกต้อง


A B

1m
1. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 90o
2. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 90o
3. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 45o
4. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 45o

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

·
23. คลื่นความถี่ 500 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จุด 2 จุดซึ่ งอยูห่ ่างกัน 0.06 เมตร
จึงมีเฟสต่างกันเท่าใด
1. 30o 2. 36o 3. 42o 4. 45o

·
24. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 150 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จุดสองจุดบนคลื่นที่มี
เฟสต่างกัน 90 องศา จะอยูห่ ่างกันกี่เมตร
1. 0.2 2. 0.5 3. 0.06 4. 1.5

25. จากรู ป S เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นความถี่ 100 เฮิรตซ์

·theeconomic
P
จุด P และ Q อยูห่ ่างจาก S เป็ นระยะ 15 เมตร และ 15 m
18 เมตร ตามลาดับ ถ้าคลื่นที่มาถึงจุด P และ Q มี S
&เฟสต่างกัน 32 เรเดียน จงหาอัตราเร็ วของคลื่นใน 18 m Q
หน่วยเมตร/วินาที ( = 180o )
·
1. 400 2. 500 3. 600 4. 700


3m
3 ->
tel =
4 m

คา at a

15
V=
400M/*
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

·
26. คลื่นขบวนหนึ่งมีความยาวคลื่น 0.5 เมตร จุด 2 จุด บนคลื่นที่ห่างกัน 0.2 เมตร จะมี
เฟสต่างกันกี่องศา
-
1. 144o 2. 360o 3. 155o 4. 123o

27. เชือกเส้นหนึ่งขึงตึง โดยปลายข้างหนึ่ งตรึ งอยูก่ บั ที่ อีกปลายหนึ่ งติดอยูก่ บั เครื่ องสั่นสะเทือน
ณ ที่จุดหนึ่งบนเชือกที่เฟสเปลี่ยนไป 240 องศา ทุกๆ ช่วง 3 วินาที จงหาว่าเครื่ องสั่น
สะเทือนนี้มีความถี่ในการสั่นเท่าไร (ในหน่วยเฮิรตซ์)
1. 0.11 2. 0.22 3. 0.33 4. 0.44

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
28(แนว En) คลื่นผิวน้ ามีอตั ราเร็ ว 20 เซนติเมตร/วินาที กระจายออกจากแหล่งกาเนิ ดคลื่นซึ่ ง
มีความถี่ 5 เฮิรตซ์ การกระเพื่อมของผิวน้ าที่อยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิด 30 เซนติเมตร และ
48 เซนติเมตร จะมีเฟสต่างกัน
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 180o

29. คลื่นน้ าความถี่ 2 เฮิรตซ์ แอมพลิจูด 10 เซนติเมตร จะมีการขจัดตามแนวแกน Y เท่าใด


ณ. จุดเวลา 83 วินาทีจากจุดเริ่ มต้น
1. สู งขึ้นไป 15 เซนติเมตร 2. ลึกลงไป 10 เซนติเมตร
3. ลึกลงไป 15 เซนติเมตร 4. สู งขึ้นไป 10 เซนติเมตร

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.3 การซ้ อนทับของคลืน่
หลักการซ้ อนทับ ( principle of superposition ) กล่าวว่า “ เมื่อคลื่ นตั้งแต่สองคลื่ น
มาพบกันแล้วเกิดการรวมกัน การกระจัดของคลื่นรวมจะมีค่าเท่ากับผลบวกการกระจัดของคลื่น
แต่ละคลื่ นที่ มาพบกัน หลังจากที่คลื่ นเคลื่ อนผ่านพ้นกันแล้ว แต่ละคลื่ นยังคงมี รูปร่ างและทิ ศ
ทางการเคลื่อนที่เหมือนเดิม ”
ตัวอย่าง ก.
คลืน่ คลืน่
เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
~ คลืน่ รวม
รวมกัน ทาให้แอมพลิจูดรวมสูงขึ้น
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลืน่ คลืน่ มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

ตัวอย่าง ข.
-
คลืน่ คลืน่
เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
~คลืน่ รวม รวมกัน ทาให้แอมพลิจูดรวมลึกลง
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลืน่ คลืน่ มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

ตัวอย่าง ค.
คลืน่
คลืน่
คลืน่ รวม เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
หักล้างกัน ทาให้คลื่นรวมหายไป
คลืน่ เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลืน่
มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4 สมบัติของคลืน่
การเขียนรู ปคลืน่
แบบที่ 1 หากเรามองดูคลื่นน้ าในตูป้ ลา
โดยมองจากด้านข้างตู ้ ใช้ตามองที่ระดับผิวน้ า
พอดี เราจะเห็นคลื่นผิวน้ าเป็ นดังรู ป การเขียน
รู ปคลื่นแบบนี้ เป็ นรู ปแบบที่ 1
แบบที่ 2 หากเราใช้มือตีผวิ น้ าที่อยูน่ ิ่งใน
สระว่ายน้ า จะเกิดคลื่นน้ ากระจายออกไปเป็ นรู ป รังสี คลื่น แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
ครึ่ งวงกลม เราอาจเขียนรู ปแสดงการกระจาย สันคลืน่
ของคลื่นได้ดงั รู ป เส้นทึบเป็ นตาแหน่งที่อยูต่ รง (หน้ าคลืน่ )
กับสันคลื่น และตาแหน่งที่อยูต่ รงกลางระหว่าง
เส้นทึบจะอยูต่ รงกับท้องคลื่น และลูกศรที่แสดง S
ถึงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเรี ยกรังสี คลื่น และจากรู ปจะเห็นได้วา่ รังสี คลื่นจะตั้งฉากกับแนว
สันคลื่น (หน้าคลื่น) เสมอ
ฝึ กทา จากรู ปหน้าคลื่นต่อไปนี้
แหล่งกาเนิดคลื่น
จงเขียนรังสี คลื่น อยูด่ า้ นนี้

คลืน่ ทุกชนิดจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ


1. การสะท้อน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (lnterference) 4. การเลี้ยวเบน (Diffrection)
การสะท้อน และการหักเห ทั้งคลื่ นและอนุ ภาคต่างก็แสดงคุ ณสมบัติสองข้อนี้ ได้ แต่การ
แทรกสอดและการเลี้ ยวเบนจะเป็ นคุ ณสมบัติเฉพาะตัวของคลื่ น เพราะคลื่ นเท่านั้นที่จะแสดง
คุณสมบัติสองข้อนี้ได้

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.1 การสะท้อน
เมื่อคลื่นพุง่ เข้าไปตกกระทบสิ่ งกีด รังสีตกกระทบ เส้ นปกติ รังสีสะท้ อน
ขวาง คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับออกมา มุมตก มุมสะท้ อน
ได้ดงั แสดงในรู ปภาพ สมบัติของคลื่นข้อ 1 2
นี้เรี ยก สมบัติการสะท้อนได้ของคลื่น
คาศัพท์เกีย่ วกับการสะท้อนคลืน่
1. รังสี ตกกระทบ คือรังสี คลื่นที่พงุ่ เข้าไปตกกระทบ
2. รังสี สะท้อน คือรังสี คลื่นที่สะท้อนย้อนกลับออกมา
3. เส้นปกติ คือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับผิวที่คลื่นมาตกกระทบ
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างรังสี ตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมสะท้อน คือมุมระหว่างรังสี สะท้อนกับเส้นปกติ
การสะท้อนของคลืน่ ใดๆ จะเป็ นไปภายใต้ กฎการสะท้อน 2 ข้ อคือ
1. มุมตกกระทบจะมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
2. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้
ให้ถูกต้องและสมบูรณ์

1 2

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
แสงเป็ นคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทาง
เป็ นเส้นตรง ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเราอาจใช้เส้น
ลูกศรแทนได้ เรี ยกลูกศรนี้วา่ รังสี ของแสง ความเร็ วแสง
ในสุ ญญากาศจะมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที แต่
แต่ในตัวกลางต่างชนิดกันความเร็ วแสงจะมีค่าไม่เท่ากัน
1. กาหนดความเร็ วแสงในสุ ญญากาศมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา 1 ปี
แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไร
1. 9.78 x 1015 เมตร 2. 9.46 x 1015 เมตร
3. 9.77 x1015 เมตร 4. 9.88 x 1015 เมตร

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
รังสี ตกกระทบ เส้นปกติ รังสี สะท้อน
เมื่อแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ
ปกติแล้วแสงจะสะท้อนออกจากผิวของ มุมตก มุมสะท้อน
กระทบ
วัตถุน้ นั ได้ ปรากฏการณ์น้ ี เรี ยกว่าเป็ น 1 2
การสะท้อนได้ ของแสง
กฎการสะท้อนของแสง มีดังนี้
1. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบต้องมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
ข้ อควรรู้ เพิม่ เติมเกีย่ วกับการสะท้ อนแสง แสงสะท้อน
1. ถ้ารังสี ตกกระทบตกตั้งฉากกับผิวของวัตถุ
แสงตกกระทบ
รังสี สะท้อนจะสะท้อนย้อนแนวเดิมออกมาโดยตลอด
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
2. หากรังสี สะท้อนอย่างน้อย 2 เส้น มาตัดกัน
จะเกิดภาพของวัตถุตน้ กาเนิดแสงขึ้น ณ.จุดตัดนั้น
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงวัตถุ เรี ยก
ระยะวัตถุ (s )
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงภาพ เรี ยก
ระยะภาพ ( s )
ระยะภาพ ( s )
ระยะวัตถุ (s)
อัตราส่ วนของระยะภาพต่อระยะวัตถุ หรื อขนาดภาพต่อขนาดวัตถุ ของการสะท้อน
หนึ่งๆ จะมีค่าคงที่ เรี ยกค่าคงที่น้ ีวา่ กาลังขยาย ( m )
นัน่ คือ กำลังขยำย (m) = ss = yy
เมื่อ s = ระยะภาพ s = ระยะวัตถุ
y = ขนาดภาพ y = ขนาดวัตถุ

2. กาหนดให้ภาพที่เกิดจากการสะท้อนครั้งหนึ่งมีความสู งเป็ น 10 เซนติเมตร ระยะภาพมีคา่


เท่ากับ 6 เซนติเมตร ระยะวัตถุมีค่าเท่ากับ 3 เซนติเมตร จงหาว่าขนาดของวัตถุตน้ กาเนิด
นี้มีความสู งกี่เซนติเมตร

โดยทัว่ ไปแล้วการศึกษาการสะท้อนแสง จะใช้


กระจกเป็ นอุปกรณ์ในการศึกษา กระจกโดยทัว่ ไปนั้นจะ
มี 2 ชนิด
1. กระจกราบ
2. กระจกโค้ง ( กระจกโค้งเว้า และกระจกโค้งนูน )

หลัง หน้า

กระจกโค้งเว้า กระจกโค้งนูน กระจกราบ


2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
พิจารณาตามรู ป เมื่อยิงแสง
ออกจากวัตถุตน้ กาเนิดแสง ไปตก
กระทบกระจกดังรู ป รังสี ของแสง
สะท้อนเส้นที่ 1 และ 2 จะกระ
จายออกจากกัน ดังนั้นรังสี สะท้อน
นี้จะไม่สามารถตัดกันและไม่ทาให้
ที่ดา้ นหน้ากระจกได้ แต่ถา้ เรา
ต่อแนวรังสี สะท้อนทั้งสองย้อนไป
ด้านหลังกระจก จะพบว่าเส้นสมมติที่ต่อออกไปนี้จะไปตัดกันได้ที่จุดจุดหนึ่ง การตัดกันของ
เส้นสมมติน้ ีจะทาให้เกิดภาพหลังกระจก เรี ยกภาพที่เกิดนี้ วา่ ภาพเสมือน
สาหรับภาพที่เกิดจากกระจกราบ จะได้วา่
ระยะภาพ ( s ) = ระยะวัตถุ ( s )
และ ขนาดภาพ ( y ) = ขนาดวัตถุ ( y )
ดังนั้น กาลังขยายของกระจกราบ ( m ) = ss = yy = 1
3. ภาพที่เกิดจากกระจกราบจะเป็ นภาพ
1. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจก 2. ภาพจริ งอยูห่ ลังกระจก
3. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจก 4. ภาพเสมือนอยูห่ ลังกระจก

4. ภาพที่เกิดจากกระจกราบจะมีลกั ษณะ
1. ขนาดวัตถุ ( y ) = ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายเท่ากับ 1
2. ขนาดวัตถุ ( y ) > ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายน้อยกว่า 1
3. ขนาดวัตถุ ( y ) < ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายมากกว่า 1
4. ขนาดวัตถุ ( y ) < ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายน้อยกว่า 1

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
กระจกเงาทรงกลม หรื อกระจกโค้ง จะแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ดย่อย ได้แก่กระจกโค้ง
เว้า และกระจกโค้งนูน กระจกแต่ละ
แบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั เป็ นพื้น
ฐานดังรู ป R R
จากรู ป จุด C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้ง O C C O
จุด O เรี ยกจุดใจกลางบนผิวโค้ง
กระจกเว้า กระจกนูน
เส้นตรง CO เรี ยกเส้นแกนมุขสาคัญ
ระยะ CO เรี ยกรัศมีความโค้ง ( R )

ถ้าเราให้รังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญ
มาตกกระทบกระจกเว้า จะพบว่ารังสี สะท้อนของรังสี
ขนานเหล่านี้ จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับ
จุด O เสมอ จุดตัดนี้เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะ
ห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f )
แต่กระจกนูนจะเป็ นกระจกกระจายแสง กล่าวคือ
เมื่อรังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญไปตกกระ
ทบกระจกนูน รังสี ของสะท้อนจะกระจายออกจากกัน
ดังรู ป แต่ถา้ ต่อแนวรังสี สะท้อนย้อนไปด้านหลังกระจก
จะพบว่าเส้นสมมุติเหล่านั้น จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระ
หว่างจุด C กับจุด O ด้านหลังกระจก จุดตัดนี้เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะห่างจากจุด O ถึง
จุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาวโฟกัสเสมือนเท่านั้น

ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ

5. ถ้าใช้กระจกเว้ารัศมีความโค้ง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึ่ง จะได้ภาพห่าง


จากกระจกกี่เซนติเมตร
1. 200 2. 100 3. 50 4. 25

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
6. ถ้ากาหนดให้ R คือรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ถ้าต้องการให้เกิดลาแสงขนานส่ งออกไป
จากกระจกเว้านี้ ควรจะวางหลอดไฟฟ้ าไว้ที่ตาแหน่งใดบนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกนี้
1. 2R 2. R 3. R2 4. R4

เกิดภาพโดยกระจกโค้งเว้ า
รู ปที่ 1 รู ปที่ 4

รู ปที่ 2 รู ปที่ 5

รู ปที่ 3

รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหน้าใกล้กระจกเว้า


รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้กระจก ภาพที่เกิดจะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของกระจก แสงสะท้อนแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงสะท้อนแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงสะท้อนจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
การเกิดภาพโดยกระจกนูน
ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ ลังกระจก
และระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงทีเ่ กิดจากการสะท้อน ลักษณะของภาพเสมือนทีเ่ กิดจากการสะท้อน
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหน้ากระจก 2. เกิดหลังกระจก
3. เอาฉากมารับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
ผ่านกระจก
7(แนว En) เมื่อเลื่ อนวัตถุ ซ่ ึ งอยูห่ น้ากระจกเว้าจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของกระจก
เว้า ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

8. เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้า ณ. จุดซึ่ งใกล้กระจกมากกว่าจุดโฟกัสของกระจกเว้านั้น ภาพ


ที่เกิดจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพจริ งหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น

9. ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้


1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น
6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
10. กระจกในข้อใดต่อไปนี้ สร้างภาพจริ งได้
1. กระจก เว้า 2. กระจกราบ 3. กระจกนูน 4. ถูกทุกข้อ

11. กระจกในข้อใดต่อไปนี้ สร้างภาพเสมือนได้


1. กระจก เว้า 2. กระจกราบ 3. กระจกนูน 4. ถูกทุกข้อ

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยกระจกเว้า และกระจกนูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = sff f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
y = ขนาดภาพ
เงื่อนไขการใช้ สูตร
m = กาลังขยาย
1) หากเป็ นกระจกเว้า ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น +
R = รัศมีความโค้งกระจก
หากเป็ นกระจกนูน ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น –
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
12. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้าอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพจริ งขึ้นที่
ระยะห่างจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
13. วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ
ห่างจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

14. วางวัตถุหน้ากระจกเว้าเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริ งหน้ากระจกที่ระยะ 15 เซน-


ติเมตร กระจกมีรัศมีความโค้งมีค่ากี่เซนติเมตร
1. 8 2. 10 3. 12 4. 14

15. เมื่อวางวัตถุ หน้ากระจกโค้งห่ าง 30 เซนติ เมตร ปรากฏว่าได้ภาพจริ งขนาด 2 เท่าของ


วัตถุบนฉาก จงหาความยาวโฟกัสของกระจกและชนิดกระจก
1. –20 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. 20 เซนติเมตร , กระจกเว้า
3. 100 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. –100 เซนติเมตร , กระจกนูน

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
16. กระจกเว้ามี ความยาวโฟกัส 40 เซนติ เมตร จะต้องวางวัตถุ บ นแกนของกระจกห่ างจาก
กระจกกี่เซนติเมตรจึงจะทาให้เกิดภาพหัวตั้งที่มีขนาดเป็ น 4 เท่าของขนาดวัตถุ
1. 60 2. 50 3. 40 4. 30

17. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร อยูห่ ่ าง 10 เซนติเมตร จากกระจกเว้าซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50 เซน–


ติเมตร จงหาขนาดของภาพ
1. 253 เซนติเมตร 2. 25 เซนติเมตร
3. 203 เซนติเมตร 4. 12.5 เซนติเมตร

18. วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกโค้งเป็ นระยะ 5 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาด


สู ง 3 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสและชนิดของกระจก
1. – 7.5 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. – 8.5 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. + 7.5 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. + 8.5 เซนติเมตร , กระจกเว้า

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
19. กระจกเว้า 2 บาน ความยาวโฟกัสแผ่นละ 10 เซนติเมตร วางหันหน้าเข้าหากันห่ างกัน
30 เซนติเมตร นาวัตถุวางห่างกระจกบานหนึ่ งระยะ 5 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งและชนิ ด
ของภาพที่เกิดจากการสะท้อนแสงระหว่างกระจกทั้งสอง ให้สะท้อนจากบานใกล้วตั ถุก่อน
1. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 40 / 3 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 40 / 3 เซนติเมตร
3. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 10 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 10 เซนติเมตร

20. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางห่างจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 20


เซนติ เมตร กระจกราบบานหนึ่ งวางหั น หน้ า เข้า หากระจกนู น ห่ า งจากกระจกนู น 20
เซนติ เมตร จงหาตาแหน่ งของภาพซึ่ งเกิ ดจากรั งสี ข องแสง ซึ่ งสะท้อนที่ ก ระจกนู น ก่ อน
จากนั้นสะท้อนที่กระจกราบ
1. หลังกระจกนูน 30 เซนติเมตร 2. หลังกระจกราบ 26 เซนติเมตร
3. หลังกระจกราบ 30 เซนติเมตร 4. หลังกระจกนูน 26 เซนติเมตร

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
21. วางหลอดไฟฟ้ าที่ โฟกัส ของกระจกเว้าดังรู ป ถ้านากระจกเว้าอีกบานหนึ่ งมารับแสงจาก
กระจกบานแรก ภาพหลอดไฟฟ้ านี้จะเกิดขึ้น ณ.ตาแหน่งใดและเป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน
1. เกิดภาพจริ ง ที่จุดโฟกัสกระจกบานที่ 2
2. เกิดภาพจริ ง ที่จุดใจกลางกระจกบานที่ 2
วัตถุ
3. เกิดภาพเสมือน ที่จุดโฟกัสกระจกบานที่ 2 F
4. เกิดภาพเสมือน ที่จุดใจกลางกระจกบานที่ 2

11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
เมื่อแสงผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ งซึ่ งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทาให้
อัตราเร็ ว (v) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น ( ) ของแสงเปลี่ยนไป แต่ความถี่ (f ) จะคงที่
ในกรณี ที่แสงตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับ แนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ทะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากแสงตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิม
แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ ีเรี ยกการหักเหของแสง

กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย


รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V1 , 1 , A1 V1 , 1 , A1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V , , A
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v, , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
กฎของสเนลล์
sin 1 v1 1 n2
sin 2 = v2 = = n 21 = n1
2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่างรังสี แสงกับเส้นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
v1 และ v2 คือความเร็ วแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n1 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 1 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1
n2 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 2 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2
n21 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1

22. แสงชนิ ด หนึ่ งมี ค วามยาวคลื่ น 450 นาโนเมตร ความเร็ ว 3 x 108 เมตร/วิน าที ใน
อากาศ เมื่อยิงแสงทะลุลงไปในของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฏว่าความยาวคลื่นเปลี่ยนเป็ น 300
นาโนเมตร ความเร็ วแสงในของเหลวชนิดนี้มีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 7.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

23. ดัชนีหกั เหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนีหกั เหของตัวกลาง B = 6 หากแสงเดินทางจาก


ตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B เมื่อแสงในตัวกลาง B มีความเร็ วเท่ากับ 1.2 x 108 เมตร/-
วินาที แล้วความเร็ วแสงในตัวกลาง A จะมีค่าเท่าใด
1. 2.4 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.2 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
24(แนว En) แสงความยาวคลื่นในอากาศ 390 นาโนเมตร เมื่อเคลื่อนที่ผา่ นไปในแก้วที่มีดชั นี
หักเห 1.30 จงหาความยาวคลื่นแสงในแก้วในหน่วยนาโนเมตร
( ให้ ดัชนีหักเหของแสงในอากาศ = 1 )
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

25. ดรรชนีหกั เหของแสงในตัวกลางหนึ่งมีค่า 1.5 ดังนั้นอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้นมีค่า


เท่าไร ( กาหนด ดัชนีหกั เหของแสงในอากาศ = 1 , อัตราเร็วแสงในอากาศ = 3 x 108 เมตร/วินาที )
1. 4.5 x 107 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

26. แสงเคลื่อนที่ผา่ นของเหลวหนึ่งด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าของ


เหลวนี้มีค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.00 2. 1.25 3. 1.33 4. 1.86

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
27. แสงเคลื่อนจากของเหลวผ่านแท่งแก้วไปสู่ อากาศ
30o
ดังรู ป จงหาดรรชนีหกั เหของของเหลว ของเหลว
1. 1 2. 2
แก้ว
3. 3 4. 4
อากาศ

28(แนว En) แสงสี หนึ่ งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ในอากาศ และมีอตั ราเร็ ว 3 x 108
เมตร/วินาที ถ้าดัชนี หักเหของแก้วเทียบกับอากาศเป็ น 23 จงหาอัตราเร็ วแสงในแก้วและ
ความยาวคลื่นแสงในแก้ว
1. 2 x 108 เมตร/วินาที , 500 นาโนเมตร
2. 3 x 108 เมตร/วินาที , 400 นาโนเมตร
3. 3 x 108 เมตร/วินาที , 500 นาโนเมตร
4. 2 x 108 เมตร/วินาที , 400 นาโนเมตร

29. ถ้า ดรรชนีหกั เหของน้ า = 43


ดรรชนีหกั เหของแก้วเมื่อเทียบกับน้ า = 89
ดรรชนีหกั เหของพลาสติกเทียบกับแก้ว = 45
จงหาดรรชนีหกั เหของพลาสติก
1. 5/86 2. 8/15 3. 15/8 4. 86/5

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
อากาศ หักเห อากาศ 90o อากาศ

ตก c > c
พลาสติก พลาสติก พลาสติก

หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแน่ นมากไปสู่ ตวั กลางที่มีความหนาแน่ นน้อยกว่า


เช่ นยิงแสงจากพลาสติกไปสู่ อากาศ จะเกิ ดการหักเหซึ่ งมุมหักเหโตกว่ามุมตกกระทบเสมอดัง
รู ป สาหรับมุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o มุมตกกระทบนั้นเรี ยกมุมกฤติ ( C)
ในกรณี ที่มุมตกกระทบมีขนาดโตกว่ามุมวิกฤติ จะทาให้แสงเกิดการสะท้อนกลับเข้ามา
ภายในตัวกลางแรกทั้งหมดไม่มีการหักเหออกไปยังตัวกลางที่ 2 เราเรี ยกปรากฏการณ์น้ ี วา่ เป็ น
การสะท้อนกลับหมด
30. เมื่อแสงเดิ นทางจากตัวกลางที่ มีความหนาแน่ นมากสู่ ตวั กลางที่ มีความหนาแน่ นน้อยกว่า
จะเกิดการหักเหโดย
1. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมหักเห
2. มุมตกหักเหมีขนาดใหญ่กว่ามุมตกกระทบ
3. มุมตกกระทบมีขนาดเท่ากับมุมหักเห
4. ไม่สามารถบอกได้วา่ มุมตกกระทบและมุมหักเห มุมใดจะใหญ่กว่ากัน

31. มุมวิกฤติ ( C ) คือข้อใดต่อไปนี้


1. มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o
2. มุมหักเหซึ่งมีขนาดเป็ น 90o
3. มุมตกกระทบที่มีขนาดเป็ น 90o
4. มุมที่เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมในการหักเห

32. ปรากฏการณ์สะท้อนกลับหมดจะเกิดเมื่อ
1. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมหักเห 2. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมวิกฤติ
3. มุมตกกระทบมีขนาดเป็ น 90o 4. มุมตกหักเหมีขนาดเป็ น 90o

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
33(แนว En) มุมวิกฤติ C ของแสงที่ เดิ นทางจากแก้วซึ่ งมี ค่าดรรชนี หักเห 1.4 ไปยังของ
เหลวซึ่งมีค่าดรรชนีหกั เห 1.2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. sin–1(0.65) 2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.86) 4. sin–1(0.92)

34. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีค่าดัชนีหกั เห 2 และของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าดัชนีหกั เห 43 จงหามุม


วิกฤตระหว่างผลึกใสและของเหลวนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 23 3. sin–1 85 4. sin–1 43

35(แนว En) มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิ ดหนึ่ งในอากาศมีค่าเท่ากับ 30 องศา ความเร็ ว


แสงในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ ความเร็ วแสงในอากาศ = 3.0 x 108 เมตร/วินาที )
1. 1.5 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.0 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.7 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
36. มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิดหนึ่งในอากาศมีค่าเท่ากับ 30 องศา ดัชนีหกั เหของแสง
ในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ดชั นีหกั เหแสงในอากาศ = 1 )
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

37(แนว En) ในการส่ งพลังงานในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยใช้แสงเป็ นคลื่นพาหะไปตามเส้น


ใยนาแสง ควรมีเงื่อนไขของมุม อย่างไร
n
1. 0o sin –1 n1 n2
2 n1
n
2. 0o sin –1 n2
1
n 1
3. sin –1 n 90o เส้นใยนาแสง
2
n
4. sin –1 n2 90o
1

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
พิจารณาตัวอย่างการมองวัตถุที่จม
อยูใ่ ต้น้ า เราจะเห็นวัตถุน้ นั อยูต่ ้ืนกว่า
ความเป็ นจริ ง ทั้งนี้ เพราะแสงที่สะท้อน
ออกมาจากวัตถุน้ นั เมื่อเคลื่อนที่ออก
จากน้ ามาสู่ อากาศแล้วเข้าตาเรานั้น แสง
จะเกิดการหักเห แต่เนื่ องจากสายตาของ
คนเราจะมองตรงเสมอ เราจึงมองเห็นวัตถุอยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ งดังแสดงในรู ป
ในกรณี ที่เรามองวัตถุลงไปตรงๆ
ตา
( มองตั้งฉากกับผิวหักเห ) เราสามารถ
คานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกปรากฏ
ลึกจริ ง = nn1 ภาพ
ลึกปรากฏ 2
ลึกจริ ง
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่ วัตถุ
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
กรณี ที่เรามองวัตถุเอียงทามุมกับผิวหักเห เราสามารถคานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกจริ ง = n1 cos 1
ลึกปรากฏ n2 cos 2
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
1 คือมุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1
2 คือมุมหักเหในตัวกลางที่ 2
38(แนว มช) ปลาอยูใ่ นน้ ามีความลึกจริ งเป็ น 4 เมตร เราจะมองเห็นภาพปลานั้นอยูล่ ึกกี่เมตร
( กาหนดดัชนีหกั เหของน้ า = 4 / 3 )
1. 4 2. 3 3. 2.67 4. 2

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
39. นายเอนกยืนอยูบ่ นสะพานเห็นปลาตัวหนึ่ งอยูล่ ึก 2 เมตร ถามว่าตัวจริ งของปลาอยูล่ ึกกี่เมตร
( กาหนด ดัชนีหกั เหของน้ า = 4 / 3 )
1. 1.33 2. 1.50 3. 2.50 4. 2.67

40(แนว มช) นกตัวหนึ่ งบินอยูใ่ นอากาศสู งจากผิวน้ า 3 เมตร คนที่ดาอยู่ใต้น้ าและมองดูนก


ตัวนี้ ในแนวเส้นปกติจะมองเห็ นนกไกลหรื อใกล้กว่าความจริ งเท่าใด ในหน่ วยของเมตร
กาหนด n ของน้ า = 43
1. ใกล้เข้ามามากกว่าความจริ ง 1.00 2. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 1.00
3. ใกล้เข้ามากกว่าความจริ ง 2.25 4. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 2.25

41. แท่งแก้วสี่ เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มีคา่ ดัชนีหกั เห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบว่า ถ้า
มองผ่านแท่งแก้วนี้ ลงไปตรงๆ จะเห็นตัวอักษรบนกระดาษลอยสู งจากกระดาษขึ้นมากี่เซน-
ติเมตร
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
42(แนว มช) มองผ่านกล้องจุลทรรศน์เห็ นจุดเล็ก ๆ บนโต๊ะชัดเจน แต่เมื่อนาแผ่นวัตถุ ใสหนา
1.00 เซนติเมตร มาวางทับจุดดังกล่าว ต้องปรับเลื่ อนกล้องให้ห่างโต๊ะจากตาแหน่ งเดิ ม
ไปเป็ นระยะ 0.40 เซนติเมตร โดยที่ โฟกัสของกล้องจุลทรรศน์ยงั คงเดิม ดัชนี หักเหของ
แผ่นวัตถุน้ ีเป็ นเท่าใด
1. 1.24 2. 1.40 3. 1.66 4. 2.50

43(แนว En) แท่งแก้วรู ปลูกบาศก์ยาวด้านละ 15 เซนติเมตร มีฟองอากาศเล็กๆ อยูภ่ ายใน เมื่อ


มองทางด้านหนึ่ งจะเห็นฟองอากาศอยูท่ ี่ระยะ 6 เซนติเมตร แต่เมื่อมองทางด้านตรงกัน
ข้ามจะเห็นอยูท่ ี่ระยะ 4 เซนติเมตร จริ งๆ ฟองอากาศอยูท่ ี่ความลึกกี่เซนติเมตร จากผิวแรก
ที่มอง
1. 4 2. 6 3. 9 4. 10

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง
11.4.1 การกระจายของแสง
พิจารณาส่ งแสงอาทิตย์ผา่ นแท่งแก้ว
สามเหลี่ยม(ปริ ซึม) แสงขาวของดวงอาทิตย์
นั้นมีองค์ประกอบด้วยแสงสี ต่างๆ 7 สี คือ
ม่วง คราม น้ าเงิน เขียว เหลือง แสด และ
แดง เมื่อผ่านปริ ซึมแต่ละสี จะเกิดการหักเห
ออกมาได้ไม่เท่ากัน
สี แดง มีความยาวคลืน่ มากทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหน้ อยทีส่ ุ ด
สี ม่วง มีความยาวคลืน่ น้ อยทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหมากทีส่ ุ ด
ส่ วนสี อื่นๆ ซึ่ งมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ก็จะเกิดการหักเหได้ไม่เท่ากันด้วย ลักษณะนี้
จะทาให้แสงแต่ละสี ที่หักเหออกมาเกิ ดการแยกออกจากกันดังรู ป เรี ยกว่าเกิ ดการกระจายของ
แสง
44. ทาไมเมื่อให้แสงสี ขาวเช่นแสงอาทิตย์ผา่ นปริ ซึมแสงสี ขาวนั้นถูกกระจายออกเป็ นสี ต่าง ๆ กัน
1. เพราะแสงเดินเป็ นแสงตรง
2. เพราะสี ภายในวัตถุที่ใช้ทาปริ ซึม
3. เพราะแสงถูกปริ ซึมดูดคลื่นและปล่อยออกมาบางส่ วน
4. เพราะแสงแต่ละสี หกั เหไม่เท่ากัน

45. เมื่อแสงสี ขาวผ่านปริ ซึมแสงสี ใดมีการเบี่ยงเบนได้มากที่สุด


1. สี น้ าเงิน 2. สี เหลือง 3. สี ม่วง 4. สี แดง

46. มุมเบี่ยงเบนของแสงสี ใดมีค่าน้อยที่สุด


1. สี แดง 2. สี ม่วง 3. สี น้ าเงิน 4. สี เขียว

47. ปรากฏการณ์ใดไม่สามารถเกิดขึ้นได้กบั แสงสี เดี่ยว


1. การหักเห 2. การเลี้ยวเบน 3. การแทรกสอด 4. การกระจาย

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.4.2 รุ้ งกินนา้
หยดน้ า

รุ ้งทุติยภูมิ
แดง
ม่วง
แสงจากดวงอาทิตย์
แดง
ม่วง
รุ ้งปฐมภูมิ
ม่วง
แดง
ม่วง
แดง

รุ ้ งกิ นน้ ามักจะเกิ ดหลังฝนตกและเกิ ดในทิ ศซึ่ งตรงกันข้ามกับพระอาทิ ตย์ ทั้งนี้ เพราะ
หลังฝนตกในอากาศจะมีละอองน้ าอยูม่ าก เมื่อแสงตกกระทบเข้าไปในละอองน้ านี้ จะเกิดการ
สะท้อนกลับหมด และหักเหออกมาทาให้สีท้ งั 7 สี ของแสงขาวเกิดการกระจายออกจากกัน รุ ้ง
กินน้ ามี 2 ชนิด ซึ่ งปกติแล้วจะเกิดขึ้นพร้อมกัน ได้แก่
1) รุ ้งทุติยภูมิ เป็ นรุ ้งกิ นน้ าซึ่ งแสงจะเกิ ดการสะท้อนกลับหมดภายในละอองน้ า 2 ครั้ง
รุ ้งแบบนี้ จะเกิ ดในระดับความสู งมากกว่ารุ ้งชนิ ดต่อไป แสงที่หกั เหออกมาจากละอองน้ าแต่ละ
ละอองนั้นแสงสี แดงจะหักเหอยูด่ า้ นบนสี ม่วง แต่สีที่มาเข้าตาเรากลับเป็ นสี ม่วงอยูบ่ นสี แดง
2) รุ ้งปฐมภูมิ เป็ นรุ ้งกินน้ าซึ่ งแสงจะเกิดการสะท้อนกลับหมดภายในละอองน้ า 1 ครั้ง
รุ ้ งแบบนี้ จะเกิ ดในระดับต่ ากว่ารุ ้ งทุ ติยภูมิ แสงที่ หักเหออกมาจากละอองน้ าแต่ละละอองนั้น
แสงสี ม่วงจะหักเหอยูด่ า้ นบนสี แดง แต่สีที่มาเข้าตาเรากลับเป็ นสี แดงอยูบ่ นสี ม่วง

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์

สี ม่วง สี แดง สี แดง สี ม่วง รุ ้งปฐมภูมิ รุ ้งทุติยภูมิ


11.4.3 มิราจ

ในบางครั้ งคนซึ่ งเดิ นทางในทะเลทราย จะมองเห็ นต้นไม้เป็ นสองต้นพร้ อมกัน โดย


ต้นไม้ตน้ หนึ่ งคือต้นไม้ปกติ แต่อีกต้นหนึ่ งจะเป็ นภาพหัวกลับยอดชี้ ลงใต้พ้ืนทราย ปรากฏ-
การณ์น้ ี เรี ยกมิราจ ปรากฏการณ์น้ ี เกิดขึ้นเนื่องจากพื้นทรายถูกแดดจัดเผา ทาให้อากาศบริ เวณ
ใกล้พ้ื น ทรายมี อุณ หภู มิ สู ง และมี ค วามหนาแน่ น ต่ า แต่ จุดซึ่ งสู งกว่าพื้ น ทรายขึ้ น มาเล็ ก น้อ ย
อุณหภูมิจะลดลงอย่างมาก ทาให้ความหนาแน่นอากาศบริ เวณนี้ สูงขึ้น จึงเกิดความแตกต่างของ
ความหนาแน่นของชั้นอากาศบริ เวณนั้น
และเมื่อแสงอาทิตย์สะท้อนออกจากยอดไม้ แสงบางส่ วนจะพุง่ ตรงเข้าตา ทาให้เห็นยอด
ไม้ช้ ี ข้ ึนบนอากาศเป็ นปกติ แต่แสงบางส่ วนจะพุ่งลงข้างล่างแล้วเกิ ดการหักเหตามชั้นอากาศ
ซึ่ งมีความหนาแน่นต่างกันอยูแ่ ล้วย้อนขึ้นมาเข้าตา และเมื่อสายตามองตรงลงไป จะทาให้เห็น
ยอดไม้ช้ ีลงไปใต้พ้นื ทราย
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
นอกจากตัวอย่างนี้ แล้ว ยังมีปรากฏการณ์ มิราจให้เห็นได้อีก เช่ นการเห็นน้ าปรากฏบน
พื้นผิวถนนที่ร้อนทั้งๆ ที่ถนนแห้ง หรื อเห็นเรื อลอยคว่าอยูใ่ นอากาศเหนือท้องทะเลเป็ นต้น
ฝึ กทา จงวาดภาพเพื่ออธิ บายปรากฏการณ์มิราจที่เกิดกับเรื อลอยลาอยูก่ ลางท้องทะเล

11.5 เลนส์ บาง


เลนส์โดยทัว่ ไป จะมี 2 ชนิดย่อย ได้แก่เลนส์เว้า และเลนส์นูน
เลนส์แต่ละแบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั R
เป็ นพื้นฐานดังรู ป
C O C/
จุด C , C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้งของเลนส์
จุด O เรี ยกจุดกลางเลนส์ R
เส้นตรง OC เรี ยกแกนมุขสาคัญ C O C/
ระยะจาก O ถึง C เรี ยกรัศมีความโค้ง (R)
เลนส์นูนจะเป็ นเลนส์รวมแสง กล่าวคือถ้า
เราให้แสงซึ่งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์นูน แสงหักเหของแสงขนานเหล่า
นี้จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับจุด O
ฝั่งตรงข้ามเสมอ จุดที่แสงหักเหตัดนี้เรี ยกจุดโฟกัส (F)
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f )
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เลนส์เว้าจะเป็ นเลนส์กระจายแสง กล่าวคือ
เราให้แสงซึ่ งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์เว้า แสงหักเหจะกระจายออกจาก
กันไม่สามารถมาตัดกันได้ แต่ถา้ เราลากเส้นสมมุติ
ย้อนถอยออกมาจากแสงหักเหแต่ละเส้น เส้นสมมุติ
เหล่านี้จะมาตัดกันที่จุดกึ่งกลางจุด O กับจุด C ด้านหน้าเลนส์จุดตัดนี้เรี ยกจุดโฟกัส (F) เช่นกัน
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาว
โฟกัสเสมือนเท่านั้น
ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ
48. ลาแสงสี เดียวส่ องผ่านเลนส์ 2 อัน และรังสี เดิน
ทางดังรู ป เลนส์ I และเลนส์ II เป็ นเลนส์อะไร
1. เป็ นเลนส์นูนทั้งคู่
2. I เป็ นเลนส์นูน II เป็ นเลนส์เว้า
3. I เป็ นเลนส์เว้า II เป็ นเลนส์นูน I II

4. เป็ นเลนส์เว้าทั้งคู่

การเกิดภาพโดยเลนส์ นูนบาง รู ปที่ 4


รู ปที่ 1

รู ปที่ 2

รู ปที่ 3
รู ปที่ 5

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหลังใกล้เลนส์นูน
รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้เลนส์ ภาพที่เกิดจะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของเลนส์ แสงหักเหแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงหักเหแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงหักเหจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
การเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ าบาง
ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ น้าเลนส์
ระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากเลนส์ ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหลังเลนส์ 2. เกิดหน้าเลนส์
3. เอาฉากมาตั้งรับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า

49(แนว En) เมื่อเลื่อนวัตถุซ่ ึ งอยูห่ น้าเลนส์ นูนจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของเลนส์ นูน


ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

50. เมื่อวัตถุอยูห่ น้าเลนส์นูนใกล้กว่าจุดโฟกัส ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้


1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
51. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ ลังเลนส์
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ อยูห่ น้าเลนส์
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่ อยูห่ ลังเลนส์
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้าเลนส์

52(แนว มช) ถ้าให้ O เป็ นจุดกึ่ งกลางความหนาของเลนส์ C เป็ นจุดศูนย์กลางของผิวโค้ง


F เป็ นจุ ดโฟกัส U เป็ นวัตถุ และ I เป็ นภาพ อยากทราบว่าการเกิ ดภาพจากเลนส์
ในรู ปข้างล่างนี้ รู ปไหนถูก
U U
I 2. I
1.

U U
3. 4.
I I

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ า และเลนส์ นูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = sff f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
y = ขนาดภาพ
เงื่อนไขการใช้ สูตร
m = กาลังขยาย
1) หากเป็ นเลนส์นูน ต้องใช้ f มีค่าเป็ น +
R = รัศมีความโค้ง
หากเป็ นเลนส์เว้า ต้องใช้ f มีค่าเป็ น –
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
53. วางวัตถุ ไว้หน้าเลนส์ นูนอันมี ความยาวโฟกัส 5 เซนติ เมตร ปรากฏว่าเกิ ดภาพจริ งขึ้ นที่
ระยะห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างเลนส์กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

54. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ เว้าอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ


ห่างจากเลนส์ 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างเลนส์เว้ากี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

55. วางวัตถุ ห่ า งเลนส์ นู น 12 เซนติ เมตร ทางยาวโฟกัส เลนส์ นู น 18 เซนติ เมตร จงหา
ตาแหน่งและชนิดของภาพที่เกิด
1. เกิดภาพเสมือนห่างเลนส์ 36 เซนติเมตร
2. เกิดภาพเสมือนห่างเลนส์ 18 เซนติเมตร
3. เกิดภาพจริ งห่างเลนส์ 36 เซนติเมตร
4. เกิดภาพจริ งห่างเลนส์ 18 เซนติเมตร

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
56. วางวัตถุห่างจากเลนส์ A เป็ นระยะทาง 15 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4 เท่า เลนส์ A ควรจะเป็ นเลนส์ชนิดใด มีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 10 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 10 เซนติเมตร

57. เลนส์ อนั หนึ่ งให้ภาพเสมือนขนาด 3/4 เท่ าของวัตถุ ในขณะที่ วตั ถุ อยู่หน้าเลนส์ 10
เซนติเมตร จงหาว่าเลนส์น้ ีเป็ นเลนส์ชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 30 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 30 เซนติเมตร

58(แนว มช) วัตถุสูง 9.0 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากเลนส์ เว้า 27.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์ มีความ
ยาวโฟกัส 18.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
59. จากรู ป จงหาตาแหน่งภาพ ถ้าความ
ยาวโฟกัสเลนส์นูน = 30 เซนติเมตร 20 cm 40 cm
ของเลนส์เว้า 50 เซนติเมตร
1. 33 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์เว้า
2. 20 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์เว้า
3. 33 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์นูน
4. 20 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์นูน

60. เลนส์ นูนและเลนส์ เว้าความยาวโฟกัสเท่ากัน 20 เซนติเมตร วางอยูใ่ นแนวแกนมุขสาคัญ


เดียวกันและห่างกัน 30 เซนติเมตร วัตถุวางอยูห่ น้าเลนส์นูนห่าง 40 เซนติเมตร จงหาชนิด
ตาแหน่งของภาพที่เกิดขึ้นหลังจากแสงหักเหผ่านเลนส์ท้ งั สองแล้ว
1. ภาพเสมือน หน้าเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือน หลังเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร
3. ภาพจริ ง หน้าเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร
4. ภาพจริ ง หลังเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
61(แนว มช) เลนส์นูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 20
เซนติเมตร เป็ นระยะทาง 80 เซนติเมตร ถ้าวางวัตถุหน้าเลนส์นูนเป็ นระยะทาง 60 เซนติ-
เมตร จะเกิดภาพจริ งหรื อภาพเสมือน ณ ตาแหน่ง ที่ห่างจากกระจกเว้าเท่าใด
1. ภาพจริ ง 10 เซนติเมตร 2. ภาพเสมือน 10 เซนติเมตร
3. ภาพจริ ง 20 เซนติเมตร 4. ภาพเสมือน 20 เซนติเมตร

62(แนว มช) เลนส์นูนทางยาวโฟกัส 0.5 เมตร


วัตถุ
วางห่างจากกระจกเงาราบ 2 เมตร มีวตั ถุ
วาง หน้าเลนส์นูนโดยวางห่างจากเลนส์
นูน 1 เมตร จงหาว่าเมื่อมองผ่านเลนส์
นูนจะเห็นภาพของวัตถุอยูห่ ่างจากเลนส์นูน 1 เมตร 2 เมตร
กี่เซนติเมตร
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.6 ตาและการมองเห็น
สายตาของคนปกติ น้ ั นจะมองเห็ น วัต ถุ ไ ด้ ชั ด เจนเมื่ อ วัต ถุ อ ยู่ ใ นระยะใกล้ สุ ด 25
เซนติเมตร และไกลสุ ดที่ระยะอนันต์ ( Infinite ) จากตา
สาหรับคนสายตายาวหากวัตถุอยูท่ ี่ระยะ 25 เซนติเมตร จะเห็นไม่ชดั แต่อาจมองเห็นชัด
ที่ระยะไกลกว่านี้ ดังนั้นต้องใช้แว่นตาเลนส์
นูน เพื่อนาวัตถุซ่ ึ งอยูท่ ี่ระยะ 25 เซนติเมตร
นั้น ไปสร้างเป็ นภาพเสมือนตรงจุดใกล้ที่
สุ ดที่เขามองเห็นได้ชดั

สาหรับคนสายตาสั้น หากวัตถุอยูไ่ กลๆ


จะเห็นได้ไม่ชดั แต่หากวัตถุอยูใ่ กล้ๆ อาจ
เห็นชัด ดังนั้นต้องใช้แว่นตาเลนส์เว้า เพื่อ
นาวัตถุที่อยูไ่ กลๆ นั้น มาสร้างเป็ นภาพ
เสมือนตรงจุดไกลสุ ดที่เขา ยังสามารถเห็น
ได้ชดั เจน ดังแสดงในรู ป

63(แนว มช) ชายผูห้ นึ่ งสามารถอ่านหนังสื อได้ชัดเมื่ อหนังสื ออยู่ห่างจากเขาไม่น้อยกว่า 90


เซนติเมตร ดังนั้นเขาจะต้องสวมแว่นตาความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 15 2. 20 3. 35 4. 40

64. ชายสายตาสั้นผูห้ นึ่งสามารถมองเห็นได้ชดั เจนในระยะไกลสุ ดเพียง 5 เมตร เท่านั้น


ดังนั้นเขาจะต้องสวมแว่นตาความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 150 2. 200 3. 400 4. 500

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7 ทัศนอุปกรณ์
11.7.1 แว่นขยาย
ภาพเสมือน
แว่นขยายทาจากเลนส์นูนโดยอาศัยหลักการว่า เมื่อ
วางวัตถุไว้ใกล้กว่าจุดโฟกัสของเลนส์นูน จะทาให้เกิดภาพ
เสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ซึ่ งสามารถมองเห็นได้
วัตถุ
ด้วยตาเปล่าย้อนผ่านเลนส์เข้าไป
65. กล้องส่ องพระอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ต้องการส่ องดูพระสมเด็จให้เห็น
ภาพชัดที่สุดต้องวางพระห่างจากเลนส์ของกล้องส่ องเท่าไร และจะเห็นภาพมีกาลังขยายกี่เท่า
1. 4.05 เซนติเมตร , 7 เท่า 2. 5.23 เซนติเมตร , 6 เท่า
3. 4.17 เซนติเมตร , 6 เท่า 4. 4.09 เซนติเมตร , 7 เท่า

11.7.2 เครื่องฉายภาพนิ่ง
เครื่ องฉายภาพนิ่งมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

เมื่อแสงจากหลอดไฟผ่านเลนส์ รวมแสงแล้วผ่านสไลด์ จากนั้นแสงจะพุ่งผ่านฉายภาพ


แล้วเกิดการหักเหไปเกิ ดเป็ นภาพจริ งหัวกลับขึ้นที่ฉากรับภาพ และเนื่ องจากภาพที่เกิดบนฉาก
เป็ นภาพหัวกลับ ดัง นั้น เวลาใส่ ฟิ ล์ม จึ งต้องกลับ หัวฟิ ล์ม ลงเพื่ อให้ ได้ภาพหัวตั้งขึ้ น บนฉาก
นัน่ เอง
66. ขนาดของฟิ ล์ม 5 มิลลิเมตร x 4 มิลลิเมตร ใช้กบั เครื่ องฉายสไลด์แล้วทาให้เกิดภาพชัด
มีขนาด 80 เซนติเมตร x 64 เซนติเมตร ที่จอซึ่ งอยูห่ ่างจากเลนส์ของเครื่ องฉายเป็ นระยะ 5
เมตร กาลังขยายของเลนส์ในเครื่ องฉายสไลด์มีค่าเท่าใด
1. 5 เท่า 2. 16 เท่า 3. 80 เท่า 4. 160 เท่า
33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7.3 กล้ องถ่ ายรู ป
กล้องถ่ายรู ปจะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป
เมื่อแสงสะท้อนออกจากวัตถุที่จะถ่ายรู ป
แสงจะพุง่ ผ่านเลนส์นูนหน้ากล้องแล้วหักเหไป
เกิดภาพจริ งหัวกลับบนฟิ ล์มในกล้อง จากนั้น
แสงจะทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีบนฟิ ล์มเกิดเป็ น
รู ปภาพที่ตอ้ งการเก็บไว้นนั่ เอง
อุปกรณ์เสริ มในกล้องถ่ายรู ปปกติจะมีดงั นี้
วงแหวนปรับความชัด ใช้ปรับเลื่อนเลนส์ ( ปรับโฟกัส ) เพื่อปรับความคมชัดของภาพ
ไดอะแฟรม เป็ นช่องกลมปรับย่อขยายขนาดได้ เพื่อปรับแต่งปริ มาณแสงให้เข้ามากน้อย
ตามความพอดี
ชัตเตอร์ เป็ นแผ่นทึบแสงคอยกั้นแสงและปิ ดเปิ ดเมื่อต้องการถ่ายรู ป
หากปริ มาณแสงมีมาก ต้องปรับความเร็ วชัตเตอร์ ให้ปิดเปิ ดอย่างรวดเร็ ว
หากปริ มาณแสงมีนอ้ ย ต้องปรับความเร็ วชัตเตอร์ ให้ปิดเปิ ดอย่างช้าๆ
67. กล้องถ่ายรู ปอันหนึ่ง ใช้เลนส์ซ่ ึ งมีความยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ถ้าต้องการถ่ายรู ปชายคน
หนึ่งซึ่งสู ง 175 เซนติเมตร โดยต้องการให้ได้ขนาดภาพบนฟิ ล์มเท่ากับ 35 มิลลิเมตร
อยากทราบว่า ชายผูน้ ้ ีควรยืนห่างจากกล้องถ่ายรู ปเป็ นระยะกี่เมตร
1. 2.55 2. 3.0 3. 25.5 4. 30.0

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7.4 กล้ องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์จะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

เมื่อแสงสะท้อนออกจากวัตถุ ที่ตอ้ งการส่ องดู แสงจะพุ่งผ่านเลนส์ ใกล้วตั ถุแล้วเกิ ดเป็ น


ภาพจริ งหัวกลับ (ภาพ 1) ในกล้องจุลทรรศน์ และเมื่อจัดให้ภาพที่ เกิ ดนี้ อยู่ใกล้กว่าจุดโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตาด้านบน เมื่อแสงหักเหผ่านเลนส์ใกล้ตาจะทาให้เกิดเป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาด
ใหญ่ (ภาพ 2) สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
68. ภาพที่เกิดในกล้องจุลทรรศน์จะเป็ นภาพอะไร
1. ภาพจริ งหัวกลับ 2. ภาพจริ งหัวตั้ง
3. ภาพเสมือนหัวกลับ 4. ภาพเสมือนหัวตั้ง

11.7.5 กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์เป็ นกล้องที่ใช้ส่องดูวตั ถุที่อยูไ่ กลๆ เช่นกล้องดูดาว กล้องส่ องทางไกล
เป็ นต้น กล้องโทรทรรศน์จะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เมื่อแสงจากวัตถุซ่ ึ งอยูไ่ กลพุ่งผ่านเลนส์ ใกล้วตั ถุของกล้องโทรทรรศน์ แสงจะเกิดการหัก
เหทาให้เกิดภาพจริ งหัวกลับ (ภาพ 1) ขึ้นที่จุดโฟกัสของเลนส์ ใกล้วตั ถุน้ นั และเมื่อแสงพุ่งผ่าน
เลนส์ใกล้ตาจะหักเหแล้วทาให้เกิดภาพเสมือน (ภาพ 2) ขนาดใหญ่มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าดังรู ป
ปั จจุบนั เราสามารถทาให้ภาพเสมือนที่มองเห็นเป็ นภาพหัวตั้ง โดยใส่ เลนส์นูนตัวที่ 3
แทรกไว้ระหว่างเลนส์ใกล้วตั ถุกบั เลนส์ใกล้ตาดังรู ป

ความยาวของกล้องโทรทรรศน์ จะมีค่าประมาณ
ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วตั ถุ + ความยาวโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตา
กาลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ สามารถหาค่า
ได้จาก กาลังขยาย = ความยาวโฟกสเลนส์ใกล้วัตถุ
ความยาวโฟกสเลนส์ใกล้ตา
เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์จะมีขนาดที่ยาวมาก
หากเราใช้ปริ ซึมเข้าช่วยจะสามารถลดความยาวของ
กล้องได้ดงั รู ป วิธีการนี้จะใช้กบั กล้องส่ องทางไกล
69. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน้าที่ของเลนส์ใกล้วตั ถุของกล้องโทรทรรศน์
1. สร้างภาพจริ งหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
2. สร้างภาพจริ งหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
3. สร้างภาพเสมือนหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
4. สร้างภาพเสมือนหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
70. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน้าที่ของเลนส์ใกล้ตาของกล้องโทรทรรศน์
1. สร้างภาพจริ งหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
2. สร้างภาพจริ งหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
3. สร้างภาพเสมือนหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
4. สร้างภาพเสมือนหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง

71. ความยาวกล้องโทรทรรศน์ จะเท่ากับ


1. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุลบความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา
2. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุบวกความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา
3. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุคูณความยาวโฟกัสเลนส์ ใกล้ตา
4. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุยกกาลังสอง

72. ปริ ซึมที่ใส่ แทรกเข้าไปในกล้องโทรทรรศน์ มีจุดประสงค์เพื่อข้อใดต่อไปนี้


1. เพิ่มความคมชัดของภาพ
2. ขยายขนาดของภาพ
3. ลดความยาวกล้อง
4. กลับหัวของภาพให้ต้ งั ขึ้น

73. กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน คือ A และ B มีระยะ


โฟกัส 80 เซนติเมตร และ 20 เซนติเมตร ตามลาดับในการส่ องดูดาว ข้อใดผิด
1. ความยาวกล้อง 1 เมตร
2. ภาพที่มองผ่านเลนส์ตาเป็ นภาพจริ ง
3. ภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วตั ถุมีระยะภาพ 80 เซนติเมตร
4. กาลังขยายของกล้อง 4 เท่า

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.8 ความสว่ าง
ความสว่างบนพื้นผิวใด ๆ สามารถคานวณหาค่าได้ จากสมการ
E = AF หรือ E = I2
R
เมื่อ E คือความสว่าง (ลูเมน/เมตร2 . ลักซ์ )
F คืออัตราการให้พลังงานแสง หรื อ ฟลักซ์ส่องสว่าง (ลูเมน)
[ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส่ องออกมาจากแหล่ ง กาเนิ ด ต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ย เวลา ]
A คือพื้นที่รับแสง (เมตร2)
I คือความเข้มของการส่ องสว่าง (แคนเดลลา)
[ ความสามารถในการเปล่ ง แสงออกจากแหล่ ง กาเนิ ด ]
R คือระยะจากแหล่งกาเนิดแสงวัดมาตั้งฉากกับพื้นที่ ( เมตร )
74. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2700 ลูเมน จงหาความสว่าง
บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร จากหลอดไฟ 2 หลอดเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 640 ลักซ์ 4. 540 ลักซ์

75(แนว En) พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่งประสิ ทธิภาพของหลอดใน


การให้พลังงานแสงเหลือเพียง 50% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีความสว่างเฉลี่ยบนจอ 200
ลักซ์ ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 2.5 2. 3.2 3. 3.6 4. 4.0

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
76(แนว มช) หลอดไฟ 64 วัตต์ มีความเข้มแห่ งการส่ องสว่าง 36 แคนเดลา ถ้าต้องการความ
สว่างบนโต๊ะอ่านหนังสื อ 144 ลักซ์ จะต้องแขวนหลอดไฟสู งจากโต๊ะเป็ นระยะกี่เมตร
1. 0.50 2. 0.67 3. 1.50 4. 2.25

=>
->


pro
Quote
=>

11.9 แสงสี และการผสมสี



แสงสี ปฐมภูมิ คือ แสงสี พ้นื ฐานซึ่ งมี 3 สี ได้
แก่ แสงสี แดง แสงสี เขียว และแสงสี น้ าเงิน เมื่อนา
แสงสี ปฐมภูมิมาผสมกัน จะเกิดเป็ นสี อื่นๆ อีก ดังนี้
แสงสี แดง + แสงสี น้ าเงิน ได้ แสงสี แดงม่วง
แสงสี แดง + แสงสี เขียว ได้ แสงสี เหลือง
แสงสี น้ าเงิน + แสงสี เขียว ได้ แสงสี น้ าเงินเขียว
ทั้ง 3 แสงสี ปฐมภูมิรวมกัน จะได้แสงขาว
77. เมื่อฉายแสงสี เหลืองและแสงสี น้ าเงินลงบนจอภาพสี ขาวพร้อมกัน ด้วยความเข้มแสงที่
- -

เท่า ๆ กัน แสงที่ปรากฏบนจอภาพจะเป็ นสี อะไร


1. สี ฟ้าอ่อน 2. สี เหลือง 3. สี ขาว 4. สี เทา

78. แสงสี คู่ใดที่เป็ นสี เติมเต็มของกันและกัน


1. น้ าเงิน – น้ าเงินเขียว 2. น้ าเงิน – แดงม่วง
3. แดง – แดงม่วง 4. เขียว – แดงม่วง
samps,of t
x 500, f *
โอเลต เ ก เข า
ทไ
โครเวฟ = - ล า
ใจ

39 =
=

ของ ญ

-
·
อุ
วิ
กั
สั่
ม่
อ็
ด้
ม่
ยุ
ซ์
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
79. ถ้าตาของเรามองดูแสงสี น้ าเงินเป็ นเวลานานๆ แล้วเปลี่ยนมาดูแสงสี ขาวทันที ท่านจะมอง
เห็นเป็ นแสงสี
1. สี ขาว 2. สี เขียว 3. สี น้ าเงิน 4. สี เหลือง

สาหรับการมองเห็นวัตถุเป็ นสี ต่างๆ นั้น เกิดจากการที่วตั ถุสะท้อนแสงสี น้ นั ๆ ออกมาเข้า


ตามเรา ตัวอย่างเช่น วัตถุสีแดง
น้ าเงิน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีแดง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อน เขียว
แสงสี แดงออกมาเข้าตาเรา ส่ วนแสงสี อื่นๆ จะถูกดูดกลืน แดง
หมดดังแสดงในแผนภาพ

ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีเหลือง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงสี แดงและเขียวออกมาเข้าตา


เรา แล้วแสงสี ท้ งั สองเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี เหลือง ส่ วนแสงสี น้ าเงินจะถูกดูดกลืน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีขาว แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงทุกสี ออกมาเข้าตาเรา แล้วแสงสี
ทั้งหมดเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี ขาว
ส่ วนการที่ เรามองเห็ น วัต ถุ เป็ นสี ด า เป็ นเพราะวัตถุ น้ ัน ดู ด กลื น แสงทุ ก สี จึงไม่ มี แ สง
สะท้อนมาเข้าตาเรา เราจึงมองเห็นวัตถุน้ นั มืดดานัน่ เอง
80. วัตถุหนึ่งมีสีเหลืองภายใต้แสงอาทิตย์ ถ้านาวัตถุน้ ีมาไว้ในห้องที่มีแต่แสงสี น้ าเงิน จะ
ปรากฏเป็ นสี อะไร
1. เขียว 2. น้ าเงิน 3. เหลือง 4. ดา

81(แนว En) นาย ก. สวมหมวกสี เขียว เสื้ อสี ขาว กางเกงสี แดง เมื่อฉายแสงสี เขียว ตกกระทบ
นาย ก. จะเห็นเขาแต่งตัวอย่างไร
1. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี ดา
2. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว
3. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เหลือง
4. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยบทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบ 5 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2. 37. ตอบข้ อ 4.
38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2. 41. ตอบข้ อ 2.
42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 4. 45. ตอบข้ อ 3.
46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 1.
50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 2.
54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 4.
58. ตอบ 3.6 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบข้ อ 3.
62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4. 65. ตอบข้ อ 3.
66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 1. 69. ตอบข้ อ 1.
70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 2.
74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1. 77. ตอบข้ อ 3.
78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 1.

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
ตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
1. กาหนดความเร็ วแสงในสุ ญญากาศมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา 1
นาที แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร
1. 1.8 x 1010 เมตร 2. 2.8 x 1010 เมตร
3. 3.8 x 1010 เมตร 4. 4.8 x 1010 เมตร
2. สมมติวา่ ดวงอาทิตย์อยูห่ ่ างจากดาวพระเคราะห์ (A) เป็ นระยะ 20000 ล้านกิโลเมตร และ
ห่ างจากดาวพระเคราะห์ (B) เป็ นระยะ 50000 ล้านกิ โลเมตร จงหาว่าหากพระอาทิตย์ส่อง
แสงสว่างถึงทั้งสองดาวพระเคราะห์น้ ีจะใช้เวลาต่างกันเท่าไร ถ้าความเร็ วแสงเท่ากับ 3x108
เมตรต่อวินาที
1. 1.0 x 105 วินาที 2. 1.0 x 106 วินาที
3. 1.0 x 107 วินาที 4. 1.0 x 108 วินาที

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
3. เมื่อรังสี ของแสงสะท้อนตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไปมาตัดกันจะทาให้เกิดข้อใดต่อไปนี้
1. การกระเจิงแสง 2. การกระจายแสง
3. ภาพของวัตถุตน้ กาเนิ ดแสงนั้น 4. ถูกทุกข้อ
4. กาหนดให้วตั ถุ ชิ้นหนึ่ งมี ความสู ง 6 เซนติ เมตร เมื่ อเกิ ดการสะท้อนผ่านกระจกที่มีกาลัง
ขยายเท่ากับ 2 จงหาว่าภาพที่เกิดจะมีความสู งกี่เซนติเมตร
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
5. จุดโฟกัสของกระจกเว้าเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
6. จุดโฟกัสของกระจกนูนเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
7. รังสี ของแสงจากดวงอาทิตย์ถือเป็ นรังสี ขนาน หากเรานากระจกเว้ามารองรับแสงอาทิตย์ เมื่อ
แสงสะท้อนมาตัดกัน จะทาให้เกิดภาพของดวงอาทิตย์ที่จุดใดของกระจกเว้านั้น
1. จุดโฟกัส 2. จุดศูนย์กลางความโค้ง
3. จุดใจกลางกระจก 4. จุดหลังกระจกเว้า
8. ถ้าวางวัตถุไว้ที่จุดศูนย์กลางความโค้งของกระจกเว้า ภาพที่เกิดขึ้นเป็ นอย่างไร
1. ภาพเสมือนขนาดเท่าวัตถุ 2. ภาพจริ งขนาดเท่าวัตถุ
3. ภาพจริ งขนาดเล็กกว่าวัตถุ 4. ภาพจริ งขนาดโตกว่าวัตถุ
9. จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกเว้าอย่างไร เราจึงมองเห็นภาพที่เกิดจากกระจกเว้าได้เลยโดย
ไม่ตอ้ งใช้ฉากรับภาพ
1. วัตถุอยูห่ ่างจากกระจกน้อยกว่าความยาวโฟกัส
2. วัตถุอยูห่ ่างจากกระจกเท่ากับความยาวโฟกัส
3. วัตถุอยูร่ ะหว่างศูนย์กลางความโค้งกับโฟกัส
4. วัตถุอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางความโค้ง
10. กระจกในข้อใดสามารถให้ภาพเสมือนที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
1. กระจกเงาราบ 2. กระจกนูน
3. กระจกเว้า 4. ข้อ 2 , 3 ถูก
11. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ภาพจริ งหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตั้ง 2. ภาพจริ งต้องใช้ฉากรับ
3. ภาพเสมือนโตเท่าวัตถุเสมอ 4. ภาพเสมือนไม่ตอ้ งใช้ฉากรับ

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
12. วางวัตถุ ไ ว้ห น้ากระจกโค้งห่ างกระจก 4 เซนติ เมตร เกิ ดภาพเสมื อ นห่ างกระจก 2
เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
1. –4 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. –5 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. –4 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. –5 เซนติเมตร , กระจกเว้า
13. เมื่อเอาวัตถุมาวางไว้ที่หน้ากระจกโค้งอันหนึ่งที่ระยะห่าง 10 เซนติเมตร พบว่าจะเกิดภาพ
ซึ่งเอาฉากรับได้ที่ระยะ 10 เซนติเมตร ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
1. กระจกเป็ นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
2. กระจกเป็ นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
3. กระจกเป็ นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. กระจกเป็ นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
14. ถ้า จะให้ เกิ ด ภาพหลัง จากกระจกนู น 40 เซนติ เมตร กระจกนู น มี รั ศ มี ค วามโค้ง 120
เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกนูนกี่เซนติเมตร
1. 80 2. 120 3. 140 4. 180
15. วางวัตถุหน้ากระจกโค้งความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏว่าใช้ฉากรับภาพได้ที่ระยะ
120 เซนติเมตร หน้ากระจก จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างจากกระจกเท่าใด และได้ขนาดภาพเป็ นกี่
เท่าของขนาดวัตถุ
1. 30 เซนติเมตร , 4 เท่า 2. 30 เซนติเมตร , 2 เท่า
3. 60 เซนติเมตร , 4 เท่า 4. 60 เซนติเมตร , 2 เท่า
16. ถ้าจะให้เกิดภาพหลังจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 60 เซนติ-
เมตร จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกนูนกี่เซนติเมตร
1. 20 2. 40 3. 60 4. 80
17. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้ง ห่างกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างกระจก 4 เซนติ-
เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
1. 8 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. 4 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. 8 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. 4 เซนติเมตร , กระจกเว้า

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
18. ทันตแพทย์ถือกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 4.0 เซนติเมตร ห่างจากฟันที่ตอ้ งการอุดเป็ นระยะ
1.0 เซนติเมตร ทันตแพทย์จะเห็นฟันในกระจกขยายเป็ นกี่เท่า
1. 2 เท่า 2. 3 เท่า 3. 4 เท่า 4. 5 เท่า
19(แนว Pat) กระจกเว้า ให้ ภ าพหั ว ตั้ง ขนาดเป็ น 2 เท่ า ของวัต ถุ เมื่ อ ระยะวัต ถุ เป็ น 20
เซนติเมตร ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าบานนี้เท่ากับกี่เซนติเมตร
1. +5 2. +10 3. +20 4. +40
20. จงหาชนิ ดและความยาวโฟกัสของกระจกโค้งที่ให้ภาพจริ งขนาด 14 เท่าของวัตถุ เมื่ อ
วัตถุ วางห่างกระจก 40 เซนติเมตร
1. กระจกเว้า f = 8 เซนติเมตร 2. กระจกเว้า f = 10 เซนติเมตร
3. กระจกนูน f = 8 เซนติเมตร 4. กระจกนูน f = 10 เซนติเมตร
21. นาวัตถุมาวางด้านหน้าของกระจกเว้าที่มี รัศมีความโค้ง 35.0 เซนติเมตร โดยวางห่ างจาก
กระจกเป็ นระยะที่ทาให้เกิดภาพจริ งขนาดใหญ่เป็ น 2.5 เท่า ของวัตถุ อยากทราบว่าวัตถุห่าง
จากกระจกเป็ นระยะเท่าไร
1. 10.50 เซนติเมตร 2. 12.25 เซนติเมตร
3. 21.00 เซนติเมตร 4. 24.50 เซนติเมตร
22. กระจกโค้งทรงกลมอันหนึ่ง เมื่อวางวัตถุไว้ห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร ปรากฏว่าภาพ
ที่เกิดขึ้นเป็ นภาพหัวตั้งมีขนาดโต 1.5 เท่าของวัตถุ ข้อใดกล่าวถึงกระจกอันนี้ได้ถูกต้อง
1. เป็ นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 36 เซนติเมตร
2. เป็ นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 72 เซนติเมตร
3. เป็ นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 90 เซนติเมตร
4. เป็ นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 180 เซนติเมตร
23. วางวัตถุ ไว้ขา้ งหน้ากระจกโค้ง ซึ่ งมี ความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพ
เสมือนโดยมีกาลังขยาย 0.1 จงหาระยะวัตถุ
1. +220 cm 2. +180 cm 3. –220 cm 4. –180 cm
24. ถ้าวางวัตถุ ที่ มี ความสู ง 10 เซนติ เมตร ไว้หน้ากระจกเว้ารัศมีค วามโค้ง 50 เซนติ เมตร
โดยวางให้ห่างจากหน้ากระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร ภาพจะสู งกี่เซนติเมตร
1. 1.00 2. 3.33 3. 4.55 4. 5.00
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
25(แนว มช) ถ้าวางวัตถุ ที่มีความสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนู นซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. 25 3. 2 4. 2.5
26(แนว มช) ถ้าวางวัตถุที่มีความสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. +2 3. –4 4. +5
27. วัตถุ สู ง 10 เซนติ เมตร อยู่ห่ าง 10 เซนติ เมตร จากกระจกเว้าซึ่ งมีรัศ มี ความโค้ง 40
เซนติเมตร ภาพจะสู งกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
28(แนว มช) วัตถุ สูง L วางอยูห่ น้ากระจกเว้าซึ่ งมี ทางยาวโฟกัส f ด้วยระยะ s จากกระจก
ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่าใด
2 2
1. Lf f 2. L (s - f) 3. Lf 4. L(s - f)
(s - f) f (s - f) f
29. กระจกเว้า P รัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร
150 cm
กระจกเว้า Q รัศมีความโค้ง 68 เซนติเมตร P Q
วางหันหน้าเข้าหากันห่างกัน 150 เซนติเมตร
วัตถุ A
ดังรู ป เมื่อวางวัตถุเล็กๆ A ไว้ที่โฟกัสของ F
กระจกเว้า P พิจารณาแสงสะท้อนของวัตถุ A
ที่กระจก P เคลื่อนที่ไปกระจกเว้า Q แล้วสะ
ท้อนมาพบกันที่จุด B ถามว่าจุด B อยูห่ ่าง
กระจกเว้า P กี่เซนติเมตร
1. 100 2. 116 3. 121 4. 133
30. กระจกที่เหมาะสมจะใช้ติดข้างรถสาหรับคนขับใช้ดูรถข้างหลังเป็ นกระจกชนิดใด
1. กระจกนูน 2. กระจกเว้า 3. กระจกราบ 4. ถูกทุกข้อ

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
31. ถ้าเปลี่ยนทางเดินแสงจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
1. แสงเปลี่ยนความเร็ วและความถี่
2. ความเร็ ว ความยาวคลื่นและความถี่ของแสงเปลี่ยนแปลง
3. เปลี่ยนเฉพาะความถี่อย่างเดียว
4. เปลี่ยนความเร็ วและความยาวคลื่น
32. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง (1) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 23 ไปยังตัวกลาง (2) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 65
ด้วยมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหในตัวกลาง (2)
1. sin–1 25 2. sin–1 85 3. sin–1 85 4. sin–1 43
33. แสงเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าตัวกลางนี้มี
ค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.11 2. 1.22 3. 1.33 4. 1.44
34. ดัชนีหกั เหของแก้วมีคา่ 1.5 จงหาอัตราเร็ วของแสงในแก้วเป็ นเท่าใด
1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที
35. ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่า 43 และดัชนีหกั เหของน้ ามันมีค่า 23 อัตราส่ วนระหว่าง
อัตราเร็ วของแสงในน้ ามันและน้ าเป็ นเท่าใด
1. 9 / 8 2. 8 / 9 3. 4 / 3 4. 3 / 4
36(แนวA–net) แสงความถี่ 2.00 x 1014 เฮิรตซ์ ในเส้นใยนาแสงมีความยาวคลื่ นในเนื้ อเส้น
ใยเท่ากับ 4.50 x 10–7 เมตร จงหาค่าดรรชนีหกั เหของเนื้อเส้นใยนาแสงนี้
1. 3.62 2. 3.12 3. 3.52 4. 3.33
37. ดัชนี หักเหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนี หักเหของตัวกลาง B = 6 จงหาดัชนี หักเห
ของตัวกลาง A เทียบกับ B
1. 0.5 2. 0.4 3. 0.2 4. 0.1

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
38. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B มีมุมตกกระทบ 30o และมีมุมหักเหเป็ น 37o
จงหาดัชนีหกั เหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A
1. 5 / 8 2. 8 / 15 3. 5 / 6 4. 6 / 5
39. ถ้าดัชนีหกั เหของน้ า และแก้วเป็ น 43 และ 23 ตามลาดับ จงหาดัชนี หกั เหของแก้วเทียบ
กับน้ ามีค่าเท่าใด
1. 9 / 8 2. 8 / 9 3. 7 / 6 4. 6 / 5
40. จากรู ป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผ่าน
ตัวกลางที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสู่ ตวั กลางที่ 4 53o (4)
C
โดยผ่านรอยต่อตัวกลาง A , B , C ซึ่งขนาน
(3)
กัน จงหาดัชนีหกั เหของของตัวกลางที่ 1 B
เทียบกับตัวกลางที่ 4 (2)
A
53o (1)
1. 3 / 4 2. 4 / 3
3. 5 / 6 4. 6 / 5
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
41. ถ้ามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเป็ น 30 องศา จงหาอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้น
1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที
42. ถ้ามุมวิกฤตในของเหลวชนิดหนึ่ง ( เมื่อแสงเดินทางผ่านไปสู่ อวกาศ ) มีค่าเป็ น 60o ถามว่า
ความเร็ วแสงในของเหลวนี้มีค่าเป็ นเท่าใด ( c = ความเร็ วแสงในอากาศ )
1. 23 c 2. 2c 3. 42 c 4. 43 c
3
43. เมื่อแสงเคลื่อนที่จากแก้วดัชนีหกั เห 23 สู่ อากาศ จงหามุมวิกฤติของแก้วนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 23 3. sin–1 85 4. sin–1 43
44. ถ้าเพชรมีดชั นีหกั เห 2.42 มุมวิกฤตของเพชรจะมีค่าเท่าใด
1. sin–1(0.635) 2. sin–1(0.446) 3. sin–1(0.413) 4. sin–1(0.972)

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
45. จากรู ป แสงเคลื่อนที่จากผลึกใสไปสู่ ของเหลว อากาศ
แล้วเคลื่อนที่ต่อไปยังอากาศ ทาให้เกิดมุมวิกฤต
จงหาดัชนีหกั เหของผลึกใส ของเหลว
1. 2 2. 4 30o ผลึกใส
3. 6 4. 8
46. หลอดไฟเล็กๆ เปิ ดไฟสว่างอยูภ่ ายใต้ของเหลวลึก 100 เซนติเมตร ปรากฏว่าเห็นความ
สว่างบนผิวของเหลวเป็ นรู ปวงกลม ถ้าดรรชนีของเหลวเป็ น 45 จงหารัศมีของวงกลม
ของแสงไฟ
1. 100 เซนติเมตร 2. 133 เซนติเมตร
3. 150 เซนติเมตร 4. 177 เซนติเมตร
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
47. ชายคนหนึ่งอยูบ่ นเรื อ มองลงตรงๆ ในน้ าเห็นปลาอยูล่ ึกจากผิวน้ า 27 เซนติเมตร ซึ่ งพบว่า
ผิดความจริ งไป 9 เซนติเมตร จงหาดัชนีหกั เหของน้ า
1. 3/4 2. 4/3 3. 2/7 4. 7/2
48. ปลาอยูท่ ี่พ้นื สระน้ าซึ่ งลึก 5 เมตร ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่าเท่า 43 จะมองเห็นปลาอยูล่ ึก
จากผิวน้ ากี่เมตร
1. 154 2. 43 3. 43 4. 5
49. น้ ามันเบนซิ นและน้ าไม่ ผ สมกัน ถ้าเทน้ ามันเบนซิ นลงไปอ่างใส่ น้ า จะปรากฏว่าน้ ามัน
เบนซินลอยเป็ นชั้นสู งด้านบน ถ้าน้ าและน้ ามันเบนซิ นลึกชั้นละ 5 เซนติเมตร เท่ากัน และ
มีเหรี ยญบาทที่กน้ อ่างคนที่มองดูเหรี ยญจากด้านบนตรง ๆ จะเห็นว่าเหรี ยญอยูท่ ี่ความลึก
กี่เซนติเมตร กาหนดดรรชนีหกั เหของน้ า = 43 และของน้ ามันเบนซิ น = 45
1. 3.38 2. 5.25 3. 7.76 4. 8.86
11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง
11.4.1 การกระจายของแสง
11.4.2 รุ้ งกินนา้
11.4.3 มิราจ
49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.5 เลนส์ บาง
50. รังสี ของแสงเบนเข้าหากันที่จุด A ถ้านาเลนส์ไปวางไว้ ที่จุด B รังสี ของแสงนี้จะเบนไป
พบกันที่จุด C เลนส์ที่นาไปวางเป็ นเลนส์ชนิดใด
1. เลนส์เว้า
2. เลนส์นูน
3. เลนส์เว้าประกบเลนส์นูน B A C

4. เลนส์นูนครึ่ งซีก
51. จุดโฟกัสของเลนส์นูนเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
52. จุดโฟกัสของเลนส์เว้าเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
53. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จาก 2F ไป F ทางด้าน A เมื่อ F ในรู ปเป็ นจุดโฟกัสของเลนส์ ภาพที่
เกิดขึ้นบนด้าน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด
1. 2F ไป F A
2. 2F ไประยะอนันต์
3. F ไป 2F 2F F F 2F
4. F ไปเลนส์
54. ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนจะมีขนาดเท่าวัตถุเมื่อ
1. วางวัตถุไว้ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง 2. วางวัตถุไว้ที่จุดโฟกัส
3. วางวัตถุไว้ชิดขอบเลนส์ 4. วางวัตถุไว้ที่ระยะไกลมาก ๆ

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
55. ภาพเสมือนเป็ นภาพที่ได้จากข้อใด
a. กระจกนูน b. กระจกเว้า c. เลนส์นูน d. เลนส์เว้า
คาตอบคือ
1. ข้อ a , b , c , d 2. ข้อ a , c 3. ข้อ a , d 4. ข้อ b , c
56. ภาพเสมือนขนาดโตกว่าวัตถุเกิดจาก
1. กระจกเว้า เลนส์เว้า 2. กระจกเว้า เลนส์นูน
3. กระจกนูน เลนส์เว้า 4. กระจกนูน เลนส์เว้า
57(แนว มช) เมื่อต้องการดูของที่มีขนาดเล็กเรามักจะใช้ “ แว่นขยาย ” ซึ่งทาด้วยเลนส์นูน
เพราะภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนนั้น
1. มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
2. เป็ นภาพเสมือนเสมอ
3. เป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน และมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
4. เป็ นภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ระยะวัตถุช่วงหนึ่ง
58. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้าจะเป็ นภาพในข้อใดต่อไปนี้
1. ภาพจริ งหัวกลับ 2. ภาพจริ งหัวตั้ง
3. ภาพเสมือนหัวกลับ 4. ภาพเสมือนหัวตั้ง
59. เลนส์ นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร มีวตั ถุอยูด่ า้ นหน้าห่ าง 20 เซนติเมตร จงหาว่า
สุ ดท้ายจะเกิดภาพห่างจากเลนส์กี่เซนติเมตร
60. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนซึ่ งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
ภาพที่เกิดขึ้นจะเป็ น
1. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งหัวตั้ง อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ น้าเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 103 เซนติเมตร
61. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์เว้าห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เกิดภาพห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร
จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –30 2. +30 3. – 40 4. +40
51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
62. วัตถุสูง 6 เซนติเมตร อยูห่ ่างจากเลนส์นูน 12.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์มีความยาวโฟกัส
6.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร
63. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เมื่อวางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้ห่างจากเลนส์
15 เซนติเมตร จงหาชนิ ดตาแหน่งและขนาดของภาพ
1. ภาพจริ งอยูห่ น้าเลนส์ 40 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งอยูห่ ลังเลนส์ 40 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
3. ภาพจริ งอยูห่ น้าเลนส์ 30 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งอยูห่ ลังเลนส์ 30 เซนติเมตร , สู ง 10 เซนติเมตร
64. วัตถุสูง 4 เซนติเมตร วางหน้าเลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร ได้ภาพจริ งห่างจาก
เลนส์ 24 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพและความยาวโฟกัสของเลนส์เป็ นเซนติเมตร
1. y = 7 เซนติเมตร , f = 8 เซนติเมตร
2. y = 8 เซนติเมตร , f = 8 เซนติเมตร
3. y = 8 เซนติเมตร , f = 7 เซนติเมตร
4. y = 7 เซนติเมตร , f = 7 เซนติเมตร
65. มีเลนส์ นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร อยู่ 1 อัน ถ้าต้องการภาพจริ งขยายเป็ น 2
เท่าของวัตถุจะต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 5 เซนติเมตร 2. 10 เซนติเมตร
3. 15 เซนติเมตร 4. 20 เซนติเมตร
66. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือน
ขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุอยูต่ าแหน่งที่กี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
67. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 13 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือน
ขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุอยูท่ ี่ตาแหน่ง
1. 10.00 เซนติเมตร 2. 8.67 เซนติเมตร
3. 3.45 เซนติเมตร 4. 4.13 เซนติเมตร

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
68(แนว มช) เมื่อมองผ่านเลนส์ อนั หนึ่ งเห็นวัตถุที่วางห่ างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร มีขนาดเล็ก
ลงครึ่ งหนึ่งของขนาดจริ ง จงหาว่าเป็ นเลนส์ชนิดใด ทางยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร
2. เลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร
3. เลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. เลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
69. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุไว้ที่ตาแหน่งกี่เซนติเมตร จึงจะ
ให้ภาพมีขนาด 41 เท่าของวัตถุ
1. 20 2. 30 3. 50 4. 60
70. ถ้าต้องการให้ได้ภาพบนฉากมีขนาด 4 เท่าของวัตถุ และเกิดอยูห่ ่ างจากเลนส์ 100 เซน-
ติเมตร จะต้องใช้เลนส์นูนมีความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
71. แว่นขยายทาด้วยเลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ถ้าต้องการใช้ส่องดูวตั ถุเพื่อให้
เห็นวัตถุใหญ่ข้ ึนควรวางวัตถุให้ห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 7 เซนติเมตร 2. 14 เซนติเมตร
3. 21 เซนติเมตร 4. 28 เซนติเมตร
72(แนว En) วัตถุอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์นูน
วัตถุ
(ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10
เซนติเมตร และมีเลนส์เว้า (ความยาวโฟกัส 10
เซนติเมตร) ทางด้านขวามือของเลนส์นูนนั้น 10 cm 5 cm
ระยะทาง 5 เซนติเมตร ภาพที่เกิดเป็ นดังข้อใด
1. ภาพเสมือนอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 3.33 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งอยูท่ างด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนอยูท่ างด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
73. เลนส์นูน 2 อัน ความยาวโฟกัสอันละ 10 เซนติเมตร วางห่างกัน 35 เซนติเมตร อยูบ่ น
แกนมุขสาคัญเดียวกัน วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางอยูห่ น้าเลนส์ท้ งั สอง และอยูห่ ่างจากเลนส์
อันใกล้ 15 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งชนิดและขนาดของภาพที่เกิดจากแสงหักเหผ่านเลนส์
ทั้งสองแล้ว
1. ภาพเสมือนสู ง 20 เซนติเมตร , อยูห่ น้าเลนส์ L2 ห่าง 10 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนสู ง 40 เซนติเมตร , อยูห่ น้าเลนส์ L2 ห่าง 20 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนสู ง 20 เซนติเมตร , อยูห่ ลังเลนส์ L2 ห่าง 10 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือนสู ง 40 เซนติเมตร , อยูห่ ลังเลนส์ L2 ห่าง 20 เซนติเมตร
74(แนว มช) แสงจากจุดวัตถุซ่ ึ งอยูห่ ่าง
เลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร จุดวัตถุ
เมื่อหักเหผ่านเลนส์นูนจะตัดแกนห่าง
จากเลนส์นูนเป็ นระยะ 24 เซนติเมตร
เมื่อนาเลนส์เว้ามาวางต่อจากเลนส์นูน
12 cm 6 cm
เป็ นระยะ 6 เซนติเมตร ปรากฎว่า
แสงที่หกั เหผ่านเลนส์เว้าเป็ นแสงขนาน 24 cm

กับแกนดังรู ป ทางยาวโฟกัสของเลนส์เว้าเท่ากับ
1. 6 เซนติเมตร 2. 12 เซนติเมตร
3. 18 เซนติเมตร 4. 24 เซนติเมตร
75. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 0.2 เมตร และเลนส์
เว้า ความยาวโฟกัส 0.15 เมตร วางอยูด่ งั รู ป
เมื่อให้ลาแสงขนานตกกระทบเลนส์นูนลาแสง
จะผ่านเลนส์นูนไปสู่ เลนส์เว้า ถ้าลาแสงผ่าน
เลนส์เว้าออกมาเป็ นลาแสงขนานอีกครั้งหนึ่งเลนส์ท้ งั สองจะต้องห่างกันกี่เมตร
1. 0.03 2. 0.02 3. 0.04 4. 0.05

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.6 ตาและการมองเห็น
76(แนว En) เลนส์แว่นตาสาหรับคนตายาวทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่อนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
77. เลนส์แว่นตาสาหรับคนตาสั้นทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่อนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด

11.7 ทัศนอุปกรณ์
11.7.1 แว่นขยาย
11.7.2 เครื่องฉายภาพนิ่ง
11.7.3 กล้ องถ่ ายรู ป
11.7.4 กล้ องจุลทรรศน์
11.7.5 กล้องโทรทรรศน์
78. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
ก. ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่วา่ วัตถุ
ข. ภาพที่เกิดในระนาบฟิ ล์มของกล้องถ่ายรู ปเป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ค. ภาพที่เห็นจากแว่นขยายเมื่อระยะวัตถุส้ นั กว่าความยาวโฟกัสเป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง
ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค. 3. ก. และ ค 4. ข. เท่านั้น

55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.8 ความสว่ าง
79. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2500 ลูเมน ความสว่างจาก
หลอดไฟ 4 หลอด บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร มีค่าเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 2000 ลักซ์ 4. 2540 ลักซ์
80. พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่ งประสิ ทธิ ภาพของหลอดใน การให้
พลังงานแสงเหลื อเพี ยง 60% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีค วามสว่างเฉลี่ ยบนจอ 300 ลัก ซ์
ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 4 2. 14 3. 20 4. 2
81. เครื่ องฉายภาพยนตร์ เครื่ องหนึ่งให้ความสว่างเฉลี่ยบนจอ 300 ลักซ์ เมื่อฉายที่ระยะห่าง
จากจอ 5 เมตร ถ้าเลื่อนเครื่ องฉายไปเป็ น 2 เท่าของระยะเดิม ความสว่างบนจอจะเป็ นเท่าใด
1. 65 ลักซ์ 2. 70 ลักซ์ 3. 75 ลักซ์ 4. 80 ลักซ์

11.9 แสงสี และการผสมสี


82. ฉายแสงสี ขาวกระทบวัตถุ ก. และวัตถุ ข. ซึ่ งวางอยูด่ ว้ ยกัน มองเห็นวัตถุ ก. สี เหลือง
ส่ วนวัตถุ ข. เห็นเป็ นสี ขาว หากฉายแสงสี เขียวแทนแสงสี ขาว จะมองเห็นเป็ นเช่นไร
1. เห็นวัตถุ ก. และ ข. สี เขียว 2. เห็นวัตถุ ก. สี เหลือง วัตถุ ข. สี ขาว
3. เห็นวัตถุ ก. สี ดา และ วัตถุ ข. สี เขียว 4. เห็นวัตถุ ทั้ง ก. และ ข. สี ดา

56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป บท ที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป ก รณ์
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบ 12
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 115. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32.ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบ 20 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบ 6 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 4.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 1.

57
②การ ก เขา ( เ ดเ เปล NOK

-

อา - no -
"

·# 1
1x ->
1
-

th

1 นา ↓·ห อ
#

44

#ก x
=v t การ
* * ( ตราเ ว
8
low


I
หั
น้ำ
กี
ตั
มื่
กิ
อั
ที
รื
ร็
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
การสะท้อนของคลืน่ ในเส้ นเชือก
หากเรานาเชือกเส้นหนึ่งมามัดติดเสา ปลายอีกข้างหนึ่งใช้มือดึงให้ตึงพอสมควร จากนั้น
สะบัดให้เกิดคลื่นในเส้นเชื อก คลื่นนี้จะเคลื่อนที่จากจุดที่ใช้มือสะบัดพุง่ เข้าหาต้นเสา และเมื่อ


คลื่นกระทบเสาแล้วจะสามารถสะท้อนย้อนกลับออกมาได้ดว้ ย
สาหรับการสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกนี้ คลืน่ เข้ า
จะเป็ นไปได้ 2 กรณี ได้แก่
1) ถ้าปลายเชือกมัดไว้แน่น คลื่นที่ออก
มาจะมีลกั ษณะตรงกันข้ามกับคลื่นที่เข้าไป นัน่
คือคลื่นที่สะท้อนออกมาจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180o คลืน่ ออก
คลืน่ เข้ า
2) ถ้าปลายเชือกมัดไว้หลวมๆ ( จุดสะ
ท้อนไม่คงที่ ) คลื่นที่สะท้อนออกมาจะมีลกั ษณะ
เหมือนคลื่นที่เข้าไป นัน่ คือคลื่นที่สะท้อนออก
มาจะมีเฟสเท่าเดิมหรื อมีเฟสเปลี่ยนไป 0o
คลืน่ ออก
30(แนว มช) เชือกเส้นหนึ่งมีปลายข้างหนึ่งผูกแน่นติดกับเสา เมื่อสร้างคลื่นจากปลายอีกข้าง
หนึ่งเข้ามาตกกระทบจะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น คลื่นสะท้อนนี้มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 90 2. 180 3. 270 4. 360

31. คลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อ
1. คลื่นตกกระทบตั้งฉากกับตาแหน่งสะท้อน 2. ตาแหน่งสะท้อนคลื่นคงที่
3. ตาแหน่งสะท้อนคลื่นไม่คงที่ 4. มุมตกกระทบโตกว่ามุมสะท้อน

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
32. คลื่นน้ าหน้าตรงเคลื่อนที่เข้ากระทบผิวสะท้อนราบเรี ยบจะเกิดการสะท้อนขึ้น คลื่นน้ าที่
สะท้อนออกมามีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 0 2. 90 3. 180 4. 270

33(แนว มช) รู ปแสดงถึงคลื่นตกกระทบในเส้นเชือก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งของเชื อกผูกติดอยูก่ บั


กาแพง เมื่อคลื่นตกกระทบกับกาแพง
แล้วจะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น ต่อไปนี้
ข้อใดแสดงถึงคลื่นสะท้อน
1. 2.

3. 4.

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.2 การหักเห
เมื่อคลื่ นผ่านจากตัวกลางหนึ่ งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ ง ซึ่ งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทา
ให้อตั ราเร็ ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น ( ) เปลี่ยนไป แต่ความถี่ ( f ) จะคงเดิม
ในกรณี ที่ คลื่ นตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับ แนวรอยต่อตัวกลาง คลื่ นที่ ท ะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากคลื่นตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง คลื่นที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิม
แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ ีเรี ยกว่าเกิดการหักเหของคลืน่
กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ


รังสี ตกกระทบ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V1 , 1 , A1 V1 , 1 , A1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V , , A
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v , , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
คาศัพท์เกีย่ วกับการหักเหของคลืน่
1. รังสี ตกกระทบ คือรังสี คลื่นที่พงุ่ เข้าไปตกกระทบ
2. รังสี หักเห คือรังสี คลื่นที่ทะลุเข้าไปในตัวกลางที่ 2
3. เส้ นปกติ คือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับรอยต่อตัวกลาง
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างรังสี ตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมหักเห คือมุมระหว่างรังสี หกั เหกับเส้นปกติ
ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
ตาก
ง………รา เ นปก (
………
I

กระทบ
มตา
………

her
govin
………

เง ก
………

23
รั
รั
มุ
หั
ส้
สี
สี
ติ
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
กฏของสเนลล์
sin θ 1 v1
= = 1 = n
21 ( เมื่อ 90o )
sin θ 2 v2 2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่ างรังสี คลืน่ กับเส้ นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 และ v2 คือความเร็วคลืน่ ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลืน่ ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n21 คือค่ าดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
เกีย่ วกับการหักเหผ่านนา้ ตืน้ นา้ ลึก น้ าตื้น
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ระหว่างน้ าตื้นกับน้ าลึก รอยต่อระหว่างตัวกลาง
ตอนคลื่นอยูใ่ นน้ าลึก คลื่นจะมีความยาวคลื่น (ผิวหักเห)
แอมพลิจูด ความเร็ วคลื่น มากกว่าในน้ าตื้น
น้ าลึก
เสมอ แต่ความถี่จะมีค่าเท่าเดิม

34(แนว มช) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากโลหะเข้าไปในน้ าจะทาให้


- <

1. ความเร็ วคลื่นคงเดิม 2. ความยาวคลื่นคงเดิม


3. แอมพลิจูดคลื่นคงเดิม ·4. ความถี่คลื่นคงเดิม

35. ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นน้ า
1. คลื่นน้ าตื้นอัตราเร็ วคลื่นมากกว่าคลื่นน้ าลึก
=

2. คลื่นน้ าตื้นอัตราเร็ วคลื่นเท่ากับคลื่นน้ าลึก


=>
-
<

· 3. คลื่นน้ าตื้นอัตราเร็ วคลื่นน้อยกว่าอัตราเร็ วคลื่นในน้ าลึก


=
==

4. ความยาวคลื่นในน้ าตื้น·
=
มากกว่าความยาวคลื่นในน้ าลึก

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
36. คลื่ น เคลื่ อ นที่ จากตัวกลาง x ไปยังตัว กลาง y ถ้าความเร็ วคลื่ น ในตัว กลาง x เป็ น 8
เมตร/วินาที และความยาวคลื่นมีขนาดเท่ากับ 4 เมตร เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง y ความเร็ ว
คลื่นเปลี่ยนเป็ น 10 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นในตัวกลาง y จะมีค่าเป็ นกี่เมตร
1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

37(แนว En) ถ้าคลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นจากเขตน้ าลึกไปยังเขตน้ าตื้น แล้วทาให้ความยาวคลื่นลดลง


ครึ่ งหนึ่ง จงหาอัตราส่ วนของอัตราเร็ วของคลื่นในน้ าลึกกับอัตราเร็ วของคลื่นในน้ าตื้น
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

·
38. คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นไปยังน้ าลึก ถ้ามุม
ตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30o และ 45o 30o = นาตืน น้ าตื้น
ตามลาดับ และความเร็ วคลื่นในน้ าตื้นเท่ากับ ้ ้
~ ผิวรอยต่อ
10 เซนติเมตร/วินาที จงหาความเร็ วคลื่น o
- น้ าลึก= 45 น้ าลึก
ในน้ าลึกในหน่วยเซนติเมตร/วินาที
1. 2 2. 2 3. 10 4. 10 2

IP:
#Go
·O
tothe
39(แนว En) คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นไปยังน้ าลึก
ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 30o = นาตื้น น้ าตื้น
45 องศา ตามลาดับ และความยาวคลื่นในน้ าตื้น ้
ผิวรอยต่อ
เท่ากับ 5 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นใน
น้ าลึก = 45o น้ าลึก
น้ าลึกในหน่วยเซนติเมตร
1. 2.8 2. 5.0 ·3. 7.0 4. 15.0

=1. &

·
#: 1
Share : Er
26
re
ยี่
มี
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
40. ถ้าความเร็ วคลื่นในตัวกลาง x เป็ น 8 เมตร/วินาที เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง y ความเร็ ว
คลื่นเปลี่ยนเป็ น 10 เมตร/วินาที ดัชนีหกั เหของตัวกลาง y เทียบกับตัวกลาง x เป็ นเท่าใด
1. 0 2. 0.8 3. 1.8 4. 2.7

41. ถ้าคลื่นเคลื่อนจากบริ เวณน้ าตื้นมีความยาวคลื่น 45 เซนติเมตร ไปสู่ น้ าลึกความยาวคลื่น


เปลี่ยนเป็ น 60 เซนติเมตร จงหาดัชนีหกั เหของตัวกลางน้ าลึกเทียบกับตัวกลางน้ าตื้น
1. 0 2. 0.75 3. 1.82 4. 2.45

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
42. แสงเคลื่อนที่จากอากาศสู่ ผวิ น้ าทามุม 37o กับผิวน้ า จงหาค่าของมุมหักเหที่เกิดขึ้นในน้ าว่า
มีค่ากี่องศา กาหนดดรรชนีหกั เหของน้ าเทียบกับอากาศ = 43 , sin37o= 35 , sin53o= 45
1. 0 2. 37 3. 1.82 4. 150

43. จากรู ปแสดงหน้าคลื่นตกกระทบ และหน้าคลื่นหักเหของคลื่นผิวน้ าที่เคลื่อนที่จากเขตน้ าลึก


ไปยังเขตน้ าตื้นเมื่อ กข คือเส้นรอยต่อระหว่างน้ าลึกและน้ าตื้น จงหาอัตราส่ วนความเร็ วของ
คลื่นในน้ าลึกต่อความเร็ ว บริ เวณน้ าลึก
ของคลื่นในน้ าตื้น ข-

บริ เวณน้ าตื้น


1. sin 60o / sin 35o
(

2. sin 35o / sin 60o 55o


30o
3. sin 55o / sin 30o
o o ก ห า
คน
บ น การ อ
4. sin 30 / sin 55 รา

เ นปก ต

28
ต่
ลิ
กั
ล์
กั
ลื่
นิ
น้
ติ
เส เอา

ง กากร mu
น "

!!
""


0↓ )
!
"

รอย อ

ฒื่
7

น ง
กเห
|
ม ระห าง เ
7
* ① บ

_

*
② mnen ห าค น บ รอย


.

น จาก
-

,
ตกแกง ก ( ข กอ↑)
.

}
ญืน
I ตาม ขวาง 9
รอย



ʳ ""
า น1 ำ0
↓)

r ,
กเห

|] a g ๆu y µ
น.
น →
เ นปก 2,2
กกร

¥µ 0)

ว 1 180ำ 07
ตามา
_
คอ
รอย
ไมโล


นาน
นาง
สป ง , เ ≠

-แ•

• a. "
ภ vinn

mnmn
'
รั
ก็
รั
ต่
ฏู่
อื่
มุ
หั
รั
กั
สั
ต่
กั
ฏุ๋
ต่
อํ
ฏึ่
น้ำลึ
สี
ริ
นำลำ
นำตื
สีหั
ฏุ๊
ขุ
ตื้
นํ้
หิ๋หู
?⃝
นั้
ป็
สี
ริ
ส้
ติ
น้
ลื่
ติ
ริ
สี
ญุ์
สี
สี
ว่
ทุ๊
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.3 การแทรกสอดคลืน่

คลืน่ คลืน่

คลืน่ รวม

คลืน่ คลืน่

แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั


A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
N3 2 1 N1 N2 คลืน่ รวม
N A

..- - m
/
-

คลืน่

/ คลืน่
"
คลืน่ รวม
!

*S1 *S2
-

ถ้าเราให้แหล่งกาเนิ ดคลื่ นอาพันธ์ (แหล่ งกาเนิ ดคลื่ น 2 แหล่ ง ที่ให้คลื่ นที่ มีความถี่ และ
เฟสตรงกันตลอด ) วางอยูห่ ่ างกันในระยะที่พอเหมาะ แล้วสร้างคลื่นพร้อมๆ กัน จะพบว่าคลื่นที่
เกิดขึ้นทั้งสองจะเกิดการแทรกสอดกัน โดยจะมีแนวบางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาเสริ มกัน โดย
คลื่นทั้งสองอาจนาสันคลื่นมารวมกัน จะทาให้คลื่นรวมมีแอมปลิจูดสู งขึ้นกว่าเดิม หรื อคลื่นทั้ง
สองอาจนาท้องคลื่นมารวมกัน จะทาให้คลื่นรวมมีแอมปลิจูดลึกลงกว่าเดิม ลักษณะเช่นนี้ จะทา
ให้ตลอดแนวดังกล่าวคลื่ นน้ าจะกระเพื่อมขึ้นลงอย่างแรง แนวที่คลื่ นมีการเสริ มกันเช่ นนี้ เรี ยก
แนวปฎิบั พ (Antinode , A) ซึ่ งจะมี อยู่หลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวา
อย่างสมมาตรกัน แนวปฏิ บพั ที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยกเป็ นปฏิ บพั ที่ 0 ( A0) ถัดออกไปจะเรี ยก
แนวปฏิบพั ที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) , 3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งด้านซ้ายและด้านดังรู ป
นอกจากนี้ แล้วยังจะมีแนวบางแนวที่คลื่ นทั้งสองจะมาหักล้างกัน โดยคลื่นหนึ่ งจะนาสัน
คลื่นมารวมกับท้องคลื่นของอีกคลื่นหนึ่ ง คลื่นรวมของคลื่นทั้งสองจะมีลกั ษณะราบเรี ยบ (ผิวน้ า
จะค่อนข้างนิ่ ง ) แนวหักล้างนี้ จะเรี ยกแนวบัพ (Node , N) แนวบัพ จะแทรกอยู่ระหว่างกลาง
แนวปฏิบพั เสมอ แนวบัพแรกที่อยูถ่ ดั จากแนวปฏิบพั กลาง ( A0 ) จะเรี ยกแนวบัพที่ 1 ( N1) ถัด
ออกไปจะเรี ยกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลืน่ n=0 n=1 n=2
A1 A0 A1
A2 A2
สาหรับแนวปฎิบัพลาดับที่ n (An) A3
P
S 1P – S 2P = n
d sin = n
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวปฎิบพั ลาดับที่ n ( An ) x x
S1 S2
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 n=3 n=2 n=1
A0
A2 A1
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P A3
S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
คือความยาวคลื่น
n คือลาดับที่ของปฎิบพั นั้น
x x
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2 S1 S2
คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง An d
สาหรับแนวบัพลาดับที่ n (Nn)
S1P – S2P = n – 12
d sin = n – 12
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวบัพลาดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
คือความยาวคลื่น (m) n คือลาดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2 คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง Nn
44. คลื่นรวมซึ่ งเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นสองขบวนที่มีแอมปลิจูดความถี่ ความยาวคลื่น
&
-

และ เฟสเท่ากัน ที่จุดที่อยูบ่ นแนวปฎิ บพั จะมีลกั ษณะดังนี้


1. แอมปลิจูด และความถี่เป็ นสองเท่าของคลื่นเดิม
&
2. แอมปลิจูด เท่าเดิมแต่มีความถี่เพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า
=3. ความถี่เท่าเดิม แต่มีแอมปลิจูดเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า
4. ความถี่เท่าเดิม แต่มีแอมปลิจูดเป็ นศูนย์
-*

น 30
บั
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
45. เมื่อคลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มารวมกันแล้ว เกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกันแสดงว่า
1. ผลต่างทางเดินของคลื่นทั้งสองเป็ นจานวนเต็มของความยาวคลื่น
2. ผลต่างมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 0 องศา
3. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 180 องศา
4. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 360 องศา

46. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรู ป


ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 100 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด
&

A0
-
A1
1. ก. 2 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที
2. ก. 2 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที P ล
A2
5 เมตร
1 เมตร
3. ก. 4 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที

=nx"
4. ก. 4 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที S1 S2

15- 11 =
24

4 = le4
4= 2 m.

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
47. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก
แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองอยูห่ ่ างกัน 8 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้มีค่าเท่าใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 2 เมตร , ข. 150 Hz 2. ก. 2 เมตร , ข. 300 Hz
3. ก. 7 เมตร , ข. 300 Hz 4. ก. 7 เมตร , ข. 150 Hz

48. จากรู ป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่น


A0 A1 N2 A2
ผิวน้ าที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1
และ S2 มี P เป็ นจุดบนเส้นบัพ ถ้า S1P
เท่ากับ 10 เซนติเมตร และ S2P เท่ากับ
7 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นทั้ง
สองเท่ากับ 30 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่ง *s *s
1 2
กาเนิดทั้งสองมีความถี่เท่าใด d
1. 3 Hz 2. 8 Hz 3. 5 Hz 4. 7.5 Hz

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
49. แหล่งกาเนิดคลื่นน้ าสร้างคลื่นน้ าที่สองตาแหน่ง
A และ B มีความยาวคลื่น 1.5 เซนติเมตร และ
C
ได้แนวของเส้นปฏิบพั ดังแสดงในรู ป อยาก
ทราบว่า AC และ BC มีความยาวต่างกันเท่าใด A B
1. 1.5 cm 2. 3 cm 3. 4.5 cm 4. 6 cm

50(แนว En) แหล่งกาเนิดคลื่นน้ าอาพันธ์ให้หน้าคลื่นวงกลมสองแหล่งอยูห่ ่างกัน 10 เซนติเมตร


มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่ตาแหน่งหนึ่งห่างจากแหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองเป็ นระยะ 10
เซนติเมตร และ 19 เซนติเมตร ตามลาดับ 10 cm P
จะอยูบ่ นแนวบัพหรื อปฎิบพั ที่เท่าใด นับ S1
จากแนวกลาง 10 cm 19 cm
1. ปฎิบพั ที่ 4 2. บัพที่ 4
S2
3. ปฎิบพั ที่ 5 4. บัพที่ 5

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
51. แหล่งกาเนิดคลื่นวงกลมสองแหล่งห่างกัน 6 เซนติเมตร สร้างคลื่นที่มีความถี่เท่ากันและมี
ความยาวคลื่นเป็ น 3 เซนติเมตร ตาแหน่งที่จะเกิดการแทรกสอดเป็ นจุดบัพนั้นคือตาแหน่ง
ที่ห่างจากแหล่งกาเนิดทั้งสองเป็ นระยะ
1. 10 และ 20.5 เซนติเมตร 2. 12 และ 15 เซนติเมตร
3. 16 และ 23 เซนติเมตร 4. 20.5 และ 29.5 เซนติเมตร

52(แนว มช) ถ้า S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่ น ซึ่ งมีความถี่ เท่ากัน และเฟสตรงกันอยูห่ ่ าง
8.0 เซนติเมตร ถ้าความยาวคลื่นเท่ากับ 4.0 เซนติเมตร จะเกิดจุดบัพกี่จุดบนเส้นตรง S1S2
1. 0.1 2. 2 3. 3 4. 4

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
53. S1 , S2 เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่นน้ า อยูห่ ่างกัน 16 เซนติเมตร ให้คลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่
และแอมพลิจูดเท่ากัน ความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร จาก S1 ถึง S2 จะมีแนวปฏิบพั กี่แนว
1. 4 แนว 2. 5 แนว 3. 8 แนว 4. 9 แนว

9.4.4 การเลีย้ วเบนของคลื่น


ถ้าเรานาแผ่นที่มีช่องแคบๆ ไปกั้นหน้าคลื่นไว้ จะพบว่า
เมื่อคลื่นเข้าไปตกกระทบแผ่นกั้นแล้ว คลื่นส่ วนหนึ่งจะลอด
ช่องนั้นออกไปได้ คลื่นส่ วนที่ลอดออกไปนั้นจะสามารถสร้าง
s
คลื่นลูกใหม่หลังแผ่นกั้นดังรู ป คลื่นลูกใหม่ที่เกิดขึ้นนั้นจะ
สามารถกระจายเลี้ยวอ้อมไปทางด้านซ้ายและขวาของช่องแคบ
ได้ ปรากฏการณ์น้ ี จึงเรี ยกเป็ น การเลี้ยวเบนได้ของคลื่น
การเลี้ยวเบนได้ของคลื่น จะเป็ นไปตามหลักของฮอยเกนส์ ซึ่ งกล่าวว่า “ ทุก ๆ จุดบน
หน้าคลื่น สามารถประพฤติตวั เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ได้ ”
-

54. หลักของฮอยเกนส์ใช้อธิบายปรากฏการณ์ใด
1. การเลี้ยวเบน 2. การแทรกสอด 3. การเปลี่ยนเฟส 4. การหักเห

ยวเน

35
อี
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
9.5 คลืน่ นิ่ง
ถ้านาเชื อกเส้นหนึ่ งมัดติดเสาให้แน่น แล้วดึงปลายอีกข้างหนึ่ งให้ตึงพอสมควร จากนั้นทา
การสะบัดให้เกิดคลื่นต่อเนื่ องพุ่งไปกระทบเสา คลื่นที่เข้ากระทบเสาจะสามารถจะสะท้อนกลับ
ออกมาจากเสาได้ จากนั้นคลื่นที่เข้าและคลื่นที่สะท้อนออกมานี้ จะเกิดการแทรกสอดกัน ทาให้
เชื อกที่บางจุดมี การสั่นขึ้ นลงอย่างแรงกว่าปกติ เรี ยกจุดที่ สั่นสะเทื อนแรงนี้ ว่า แนวปฎิบั พ (A)
และจะมีบางจุดไม่สั่นขึ้นหรื อลงเลย เราเรี ยกจุดที่ไม่มีการสั่นสะเทือนนี้วา่ แนวบัพ (N)
และเนื่ อ งจากจุ ด ที่ สั่ น และไม่ สั่ น ดั ง กล่ า ว จะสั่ น หรื อไม่ สั่ น อยู่ ที่ เดิ ม ตลอดเวลา
ปรากฏการณ์น้ ีจึงเรี ยกเป็ นการเกิด คลืน่ นิ่ง เคลื่อนเข้า λ
2
ควรทราบ A A A
N N
1) คลื่นนิ่งจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมีคลื่น 2 คลื่น
ซึ่ งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เท่ากัน แต่
เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกันเท่านั้น เคลื่อนออก λ
4
2) แนวปฏิบพั (A) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวปฏิบพั (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 4
3) จานวนแนวปฏิบพั (A ) หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น จะหาได้จาก
n = 2L
เมื่อ L คือความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร)
คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจานวนแนวปฏิบพั หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด
4) ความถี่ของคลื่น จะหาได้จาก
f = nv
2L
เมื่อ f คือความถี่คลื่นนิ่ง ( เฮิรตซ์ ) v คือความเร็ วคลื่นนิ่ง (เมตร/วินาที)
L คือความยาวของเชือก (เมตร) คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจานวนแนวปฏิบพั หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
55. คุณสมบัติหรื อปรากฏการณ์ ข้อใดที่ใช้อธิ บายการเกิดคลื่นนิ่ง
1. การแทรกสอด 2. การรวมกันได้ของคลื่น
3. แหล่งกาเนิดอาพันธ์ 4. ถูกทั้ง (1) , (2) และ (3)

56. ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเส้นเชื อก ถ้าความถี่ของคลื่นนิ่งเป็ น 475 เฮิรตซ์ และอัตราเร็ ว


ของคลื่นในเส้นเชือกเท่ากับ 380 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งบัพสองตาแหน่งที่อยูถ่ ดั กันจะห่าง
กันเท่าใด
1. 0.4 2. 2.0 3. 3.5 4. 4.2

57(แนว มช) คลื่นนิ่งเป็ นคลื่นที่เกิดจากการแทรกสอดกันของคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประ


การแต่เคลื่อนที่สวนทางกัน ถ้าคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น มีตาแหน่งบัพและปฎิบพั อยูห่ ่างกัน 1.0
เมตร คลื่นที่มาแทรกสอดกันนี้จะต้องมีความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 1.0 2. 2.0 3. 3.0 4. 4.0

37
/

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล


58(แนว En) จากรู ปเป็ นคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่มีปลาย 1.2 m
ทั้งสองยึดแน่นไว้ ถ้าเส้นเชือกยาว 1.2 เมตร
และความเร็ วคลื่นในเส้นเชื อกขณะนั้นเท่ากับ 240
เมตรต่อวินาที จงหาความถี่คลื่น oc
local on

1. 200 Hz · 2. 300 Hz 3. 400 Hz 4. 800 Hz

%= 0.8 :

#
fl /
240 :
f=

59. เชือกเส้นหนึ่ง ปลายข้างหนึ่งถูกตรึ งแน่น ปลายอีกข้างหนึ่งติดกับตัวสัน่ สะเทือน สัน่ ด้วย


ความถี่ 30 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิดคลื่นนิ่งพอดี 3 Loop ถ้าใช้เชือกยาว 1.5 เมตร จงหา
+

=
> -

อัตราเร็ วคลื่นในเส้นเชือกในหน่วย เมตร/วินาที


-

1. 15 ·2. 30 3. 45 4. 60

+ 1.5m. -

/
# /
1- 1 m ->

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล

เฉลยบทที่ 9 คลื่ น กล
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบ 120
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบ 30 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบ 0.5
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 2.

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
ต ะ ลุ ย โ จ ท ย์ ทั่ ว ไ ป บ ท ที่ 9 ค ลื่ น ก ล
9.1 การถ่ ายโอนพลังงานของคลืน่ กล
1. คลื่นดลในเส้นเชื อกกาลังเคลื่อนที่จากขวาไปซ้าย A ,
B และ C เป็ นจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลาหนึ่งรู ปร่ าง ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นดล

%
ของเส้นเชื อกเป็ นดังรู ป ถ้าเวลาผ่านไปอีกเล็กน้อย จุด A
ทั้งสามจะเคลื่อนที่อย่างไร B
1. จุดทั้งสามจะเคลื่อนที่ไปทางซ้ายมือ C
◦2. A สู งกว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม และ C สู งกว่าเดิม
3. A สู งกว่าเดิม B สู งกว่าเดิม และ C ต่ากว่าเดิม
4. A ต่ากว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม และ C สู งกว่าเดิม

2(แนว มช) จงพิจารณาคลื่นในเส้นเชือกที่เกิดจากการสะบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้ าที่เกิด


-
-

จากวัตถุกระทบผิวน้ า และ คลื่นเสี ยงในน้ า ข้อใดผิด


_

1. คลื่นทั้งสามชนิดเป็ นคลื่นกล ✓
0 2. คลื่นทั้งสามชนิดเป็ นคลื่นตามยาว e
3. คลื่นทั้งสามชนิดเป็ นการถ่ายโอนพลังงาน
4. คลื่นทั้งสามชนิดจะสะท้อนเมื่อเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางต่างชนิด

9.2 คลืน่ ผิวนา้


3. แหล่งกาเนิ ดคลื่นให้คลื่นความถี่ 500 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่น 10 เซนติเมตร ถ้าคลื่นชุ ดนี้
เคลื่อนที่ในระยะทาง 300 เมตร จะใช้เวลากี่วนิ าที

4. เมื่อเรากระทุ่มน้ าเป็ นจังหวะสม่ าเสมอ 3 ครั้งต่อวินาที แล้วจับเวลาที่คลื่ นลูกแรกเคลื่ อนที่


ไปกระทบขอบสระอีกตาแหน่ งซึ่ งอยู่ห่างออกไป 45 เมตร พบว่าใช้เวลา 3 วินาที ความ
ยาวคลื่นของคลื่นผิวน้ านี้เท่ากับกี่เมตร

40
หุ๊
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
5. เมื่ อสั งเกตคลื่ นเคลื่ อนที่ ไปบนผิวน้ ากระเพื่ อมขึ้ นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระ
หว่างสันคลื่นที่ถดั กันวัดได้ 10 เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน
1 นาที จะได้ระยะทางกี่เมตร

6. แหล่งกาเนิ ดคลื่ นสั่นอย่างสม่ าเสมอด้วยอัตรา 30 ครั้ง ใน 1 นาที ทาให้เกิ ดคลื่ นน้ าแผ่
ออกไปอย่างต่อเนื่ อง เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบว่าคลื่นแต่ละลูกเคลื่อนที่จากเสาต้นหนึ่ ง
ไปยังเสาอีกต้นหนึ่ งซึ่ งปั กอยูห่ ่ างกัน 20 เมตร ต้องใช้เวลา 2 วินาที ความยาวคลื่ นน้ ามีค่า
เท่าใด
1. 10 เมตร 2. 15 เมตร 3. 20 เมตร 4. 25 เมตร

7. น้องดายืนอยูท่ ี่ท่าน้ าสังเกตเห็นคลื่นผิวน้ าที่เกิ ดจากเรื อวิง่ กระทบฝั่ง 20 ลูกคลื่น ในเวลา 10


วินาที และทราบว่าอัตราเร็ วของคลื่นผิวน้ า 10 เมตร/วินาที อยากทราบว่าสันคลื่นที่อยูต่ ิด
กันห่างกันเท่าไร
1. 10 เมตร 2. 5 เมตร 3. 2 เมตร 4. 25 เมตร

8. คลื่ นในทะเลซัดเข้าหาฝั่ งด้วยอัตราเร็ ว 3 เมตรต่อวินาที ถ้าระยะระหว่างสั นคลื่ นที่ ถดั กัน


เท่ากับ 6 เมตร ในเวลา 1 ชัว่ โมง จะมีคลื่นกระทบฝั่งกี่ลูก

9. ทดลองใช้ถาดคลื่ นที่ มีน้ าลึ กสม่ าเสมอ วัดระยะห่ างระหว่างสันคลื่ น 6 สันที่ อยู่ถดั กันได้
ระยะทาง 30 เซนติ เมตร ถ้าคลื่ นผิวน้ ามี อตั ราเร็ ว 10 เซนติ เมตรต่อวินาที จงหาความถี่
ของคลื่น
1. 2.13 Hz 2. 1.67 Hz 3. 2.33 Hz 4. 1.22 Hz

10. คลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นจุดๆ หนึ่ งไป 30 ลูกคลื่น ในเวลา 1 นาที ถ้าคลื่ นนี้ เคลื่อนที่ดว้ ย
อัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที จงหาระยะระหว่างสันคลื่นและท้องคลื่นที่อยูต่ ิดกัน
1. 1 m 2. 2 m 3. 3 m 4. 4 m

41

· =

-
* = >

4 = 1000x1
09
· -
-

- -

-
doctorto จวก ฤ ตร ne
14 -
d) :
i

home an

24 -
ทลา กาก Ag
* (42) =
/Q 2
:

201

:: 22
=even-

แทน า He ใน

10.1 m/ 45MT
3) (
en ) = 4

= 5 x 10
·121
0.9

5 x 1024
=Men =
x M.
:1 1 = 45 10

mm. #
4.5
:My =

แทน า ว, ใน

2 14.5 x1024)
&2 =

9 x 100 me
:Re :

He= 9 mm. #
วิ
ปี
ด้
กำ
ธี
ค่
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
11. ในการสั่นเชื อกที่มีความยาวมากเส้นหนึ่ง
t

ปรากฏว่าหลังจากการสั่น 0.5 วินาที ได้


-

คลื่นดังรู ป จงหาอัตราเร็ วของคลื่นบน 0 2 4 6 (cm)


เชือกเส้นนี้ -v :9. (cm)ปะะ ↓

0.5
1. 1.5 cm/s 2. 3 cm/s 3. 12 cm/s
· 4. 6 cm/s

12. คลื่นชนิดหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดงั ในรู ปไป y (cm)


/
ทางขวาด้วยอัตราเร็ ว 0.5 เมตร/วินาที +1
-
อยากทราบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที ↓
1 .P x (m)
1 2 3 4 5 6 7
·
-

จุด P ซึ่งเป็ นจุดหนึ่งบนตัวกลางจะ


-
- –1 ·

เคลื่อนที่ได้การกระจัดกี่เซนติเมตร
1. +0.25 2. +1.00 3. –0.50 ·4. –1.00

13. คลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่ง เกิดจากแหล่งกาเนิ ดที่สั่น 20 รอบ/วินาที มีความเร็ วเฟส 30


เมตร/วินาที ณ. จุด 2 จุด บนคลื่นนี้ซ่ ึ งห่างกัน 0.5 เมตร จะมีเฟสต่างกันเท่าไร
1. 120o 2. 160o 3. 240o 4. 360o

14. คลื่นมีความถี่ 600 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 400 เมตร/วินาที จุดที่มีเฟสต่างกัน 45o อยูห่ ่ างกัน
< -
-

กี่เมตร
1. 301 2. 241 3. 181 4. 121

staffin
15. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 20 เมตร ในเวลา 4 วินาที ถ้าพบว่าจุด 2 จุด บน
คลื่นที่ห่างกัน 0.2 เมตร มีเฟสต่างกัน 120o จงหาค่าความถี่ของคลื่นนี้
1. 8.33 Hz 2. 1.01 Hz 3. 4.25 Hz 4. 30 Hz

มะขาม (
<


vf 0.6

=
42 =

=
writtentothe
He = 1 2 MM.

IN -
E) =
"
จการ InVee;

Aci d( 24 -
22) =
In

หา:
Octmit
·

Mo Q -
:. Hey = IMC
1 (420) (
4
(0.
axof) (02) = -
=

:uc = 4x10

1.2 x10t m.
He =

12 x 10 M.
:. Her =
mm,
12
Hey =

าว 12
: mm
ใน ④
แทน

:. += 1 ( 12x10

:: H1 = 6 x 10 " m.

mm. #
↳6
ด้ข่
กิ
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
พะ ฐ
16. จากรู ป S เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่นซึ่ งมีความถี่ 20 Hz ให้ A
1.2 = 20R &
=
16 cm
คลื่นแผ่ออกไปอัตราเร็ ว 1.2 เมตร/วินาที จุด A และ B
S
" : tr อยูห่ ่างจาก S เป็-S นระยะ 16 และ 13 ซม. ตามลto
= 30
าดั2บ =
0.0

13 cm
-
2= B
2. ob =R อยากทราบว่ า คลื ่ นที ่ จุ ด A และ B มี เฟสต่ า งกั
น กี ่ องศา
1. 180o 2. 270o 3. 360o 4. 450o
0.0 6 = 24
⑧ 0.03 =
Lefttoa = A = 4 = 1000

17. คลื่ นผิวน้ ากระจายออกจากแหล่งกาเนิ ดคลื่ นซึ่ งมีความถี่ 6 เฮิรตซ์ มีอตั ราเร็ ว 30 เซนติ-
เมตร/วินาที การกระเพื่ อมของผิวน้ าที่ อยู่ห่างจากแหล่ งกาเนิ ด 40 เซนติ เมตร และ 55
เซนติเมตร จะมีเฟสต่างกันเท่าใด
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8

18. ตัวกาเนิ ดคลื่ นน้ าให้คลื่ นที่มีความถี่ 8 เฮิรตซ์ ซึ่ งเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที
จุด A และ B อยูบ่ นผิวน้ าในแนวเส้นตรงต่อกับตัวกาเนิ ดคลื่น โดยอยูห่ ่ างกัน 0.30 เมตร
จุดทั้งสองมีเฟสต่างกันกี่เรเดียน
1. 0.25 2. 0.40 3. 2.25 4. 2.40

19. คลื่นหนึ่งมีคาบการสั่น 0.5 วินาที และระยะระหว่าง 2 จุด บนคลื่นที่มีมุมเฟสต่างกัน 5


เรเดียนเท่ากับ 30 เซนติเมตร จงหาค่าความเร็ วคลื่นในหน่วยเมตรต่อวินาที ( = 180o)
1. 0.24 m/s 2. 6.4 m/s 3. 8.12 m/s 4. 1.2 m/s

20. จุด 2 จุดบนคลื่นขบวนหนึ่งอยูห่ ่างกัน 3 เมตร มีเฟสต่างกัน 240o แสดงว่าคลื่นขบวนนี้


มีความยาวคลื่น
1. 1.5 เมตร 2. 3.0 เมตร 3. 4.5 เมตร 4. 6.0 เมตร

21. คลื่ นน้ ามี อตั ราเร็ ว 0.5 เมตรต่อวินาที มี ความยาวคลื่ น 0.1 เมตร เมื่ อเวลาผ่านไป 1
วินาที ผิวน้ า ณ.จุดหนึ่ง จะมีเฟสเปลี่ยนไปจากเดิมกี่องศา
1. 1200o 2. 160o 3. 1800o 4. 360o
43
รั
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
22. คลื่นที่มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร มีความเร็ ว 50 เมตร / วินาที ถ้าเวลาผ่านไป 0.1 วินาที
การกระจัดของจุดจุดหนึ่งจะมีเฟสเปลี่ยนไปเท่าไร
1. 30o 2. 3600o 3. 35o 4. 360o

23. คลื่ นน้ ามีความถี่ 30 เฮิรตซ์ และความเร็ ว 2.4 เมตร/วินาที ระยะทางระหว่าง 2 จุด ที่
คลื่นมีความแตกต่างเฟสเป็ น 120 องศา มีค่าเป็ นเท่าใด และเมื่อพิจารณาตาแหน่ งหนึ่ งของ
ผิวน้ าที่มีคลื่นน้ านี้ถา้ เวลาผ่านไป 901 วินาที แล้วคลื่น ณ ตาแหน่งนี้มีการเปลี่ยนเฟสเท่าใด
1. ระยะทาง 2.7 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 30 องศา
2. ระยะทาง 2.7 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 120 องศา
3. ระยะทาง 4.2 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 30 องศา
4. ระยะทาง 4.2 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 120 องศา

24. คลื่นเสี ยงมีความถี่ 600 เฮิรตซ์ และมีความเร็ วเฟส 360 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งสอง
ตาแหน่งบนคลื่นซึ่ งมีเฟสต่างกัน 60 องศา จะอยูห่ ่างกันเท่าใด
ก. 10 cm ข. 50 cm ค. 70 cm ง. 80 cm
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ก , ข และ ค 2. ก และ ค 3. ง เท่านั้น 4. คาตอบเป็ นอย่างอื่น

25. ที่ความถี่ 3 เมกะเฮิรตซ์ คลื่นเดินทางในตัวกลางที่ 1 และตัวกลางที่ 2 ด้วยความเร็ ว 3x106


เมตร/วินาที และ 9x106 เมตร/วินาที ตามลาดับ โดยมีเฟสเริ่ มต้นเป็ น 0o เหมือนกัน อยาก
ทราบว่าที่ระยะ 3 เมตร เฟสของคลื่นในตัวกลางทั้งสองเป็ นอย่างไร
1. เฟสตรงกัน
2. เฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 1 เป็ น 3 เท่าของเฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 2
3. เฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 2 เป็ น 3 เท่าของเฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 1
4. เฟสของคลื่นในตัวกลางทั้งสองต่างกัน 30 องศา พอดี

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
26. คลื่นน้ าความถี่ 5 เฮิรตซ์ แอมพลิจูด 15 เซนติเมตร จะมีการขจัดตามแนวแกน Y เท่าใด
ณ. จุดเวลา 2.5 วินาทีจากจุดเริ่ มต้น
1. สู งขึ้นไป 14.7 เซนติเมตร 2. ลึกลงไป 14.7 เซนติเมตร
3. ลึกลงไป 18.3 เซนติเมตร 4. สู งขึ้นไป 18.3 เซนติเมตร

27. หากผูกปลายเชือกข้างหนึ่งกับจุดยึดแน่น แล้วสะบัดปลายเชือกอีกข้างหนึ่งในแนวตั้งฉาก


กับความยาวเชือกทาให้เกิดเป็ นคลื่นรู ปซายน์ ( sine ) จากการเปรี ยบเทียบการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคของตัวกลางเชื อกกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ข้อใดไม่เป็ นความจริ ง
1. ความถี่ในการสั่นของอนุ ภาคตัวกลางเท่ากับความถี่ของคลื่น
2. แอมปลิจูดในการสั่นของอนุภาคตัวกลางเท่ากับแอมปลิจูดของคลื่น
3. ความเร็ วในการสั่นของอนุภาคตัวกลาง เท่ากับความเร็ วของคลื่น
4. ช่วงเวลาที่อนุ ภาคสั่นครบ 1 รอบ เท่ากับเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 1 ความยาวคลื่น

9.3 การซ้ อนทับของคลืน่


9.4 สมบัติของคลืน่
9.4.1 การสะท้อน
28. จากรู ป จงหาว่ามุมตกกระทบควรมี
ขนาดเท่ากับเท่าใด
1. 30o 2. 45o 30o
3. 60o 4. 120o

29. ปริ มาณใดของคลื่นที่ใช้บอกค่าพลังงานบนคลื่น


1. ความถี่ 2. ความยาวคลื่น 3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ ว

30. เชือกเส้นหนึ่งมีปลายข้างหนึ่งผูกแน่นติดกับเสา เมื่อสร้างคลื่นดลจากปลายอีกข้างหนึ่งเข้า


มาตกกระทบ จะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น คลื่นสะท้อนนี้มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 90 2. 180 3. 270 4. 360
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
31. คลื่นดลในเส้นเชือกคลื่นหนึ่ง เมื่อ t = 0 วินาที

มีลกั ษณะดังรู ป (ก) ต่อมาเมื่อเวลา t = 0.2 วินาที
คลื่นมีลกั ษณะดังรู ป (ข) จงหาว่าคลื่นดลในเส้น จุดตรึ ง
เชือกนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด ถ้าคลื่นนี้ มีความถี่ 0.2 m
5 เฮิรตซ์
1. 2 เมตร 2. 0.2 เมตร

3. 44 เมตร 4. 0.4 เมตร

32. ในรู ป คลื่นขบวนหนึ่งในเส้นเชือกแผ่เข้าหากา


แพง โดยปลายเชือกที่ 0 ตรึ งแน่นไว้กบั กาแพง เมตร
ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นเป็ น 5 เมตร/วินาที ให้หา
0 2 4 6 8
ว่านานกี่วินาที รู ปร่ างของคลื่นจึงจะเปลี่ยนจาก
รู ปข้างบนเป็ นรู ปข้างล่าง
เมตร
1. 2.3 วินาที 2. 2.2 วินาที 0 2 4 6 8
3. 4.1 วินาที 4. 0.4 วินาที

9.4.2 การหักเห
33. ขณะเมื่อแสงสี ขาวผ่านเข้าไปในเลนส์ สิ่ งใดต่อไปนี้ มีการเปลี่ยนแปลง
1. ความเร็ วและความถี่ 2. ความเร็ วและคาบ
3. ความเร็ วและความยาวคลื่น
0 4. ความถี่และความยาวคลื่น

34. ถ้าคลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปยัง บริ เวณน้ าตื้น ข้อใดไม่ถูกต้อง


1. ความยาวคลื่นน้ าลึกมากกว่าในน้ าตื้น
o2. ความถี่คลื่นน้ าลึกมากกว่าความถี่ในน้ าตื้น F
3. ความเร็ วคลื่นน้ าลึกมากกว่าในน้ าตื้น
4. ข้อ 1. และ 3. ถูก

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
35. คลื่นใด ๆ เมื่อเคลื่อนที่ผา่ นจากตัวกลางหนึ่งไปอีกตัวกลางหนึ่ง โดยที่ไม่ต้ งั ฉากกับเส้นเขต
ระหว่างตัวกลาง จะมีการหักเห ข้อใดเป็ นข้อดีที่สุดที่เป็ นสาเหตุของการหักเห
1. ความเร็ วของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน

¥
2. ความยาวคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
3. ความถี่ของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
4. แอมปลิจูดของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน

36. คลื่นน้ าที่เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่นเร็ วขึ้น จะมีอะไรเปลี่ยนแปลงนอกจากความถี่


1. คาบเพิ่มขึ้น ✗ 2. ความยาวคลื่นลดลง
3. พลังงานมากขึ้น
← (A) o 4. อัตราเร็ วเพิ่มขึ้น

37. คลื่นผิวน้ าเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปยังบริ เวณน้ าตื้น โดยหน้าคลื่นตกกระทบขนานกับ


บริ เวณรอยต่อ คลื่นในบริ เวณทั้งสองมีค่าใดบ้างที่เท่ากัน
ก. ความถี่ของคลื่น ✓
ค. อัตราเร็ วของคลื่น F ข. ความยาวคลื่น
ง. ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 04. ก และ ง

38. คลื่นตรงแผ่จากบริ เวณน้ าตื้น A ไปสู่ น้ าลึก B แล้วสะท้อนกลับเข้าบริ เวณน้ าตื้น( เดิม) C A
oneennoz
ถ้าไม่มีการสู ญเสี ยใดๆ เลย
1. ความยาวคลื่นบริ เวณ C มากกว่าบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นเปลี่ยน
2. ความยาวคลื่นบริ เวณ C น้อยกว่าบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นไม่เปลี่ยน
3. ความยาวคลื่นบริ เวณ C เท่ากับบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นเปลี่ยน ←
4. ความยาวคลื่นบริ เวณ C เท่ากับบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นไม่เปลี่ยน

39. คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นเข้าสู่ น้ าลึก ทามุมตกกระทบ 30o แล้วมุมหักเห 37o ถ้าความ
ยาวคลื่นในน้ าลึกวัดได้ 6 เซนติเมตร ในน้ าตื้นจะมีความยาวคลื่นกี่เซนติเมตร
( ให้ sin 30o = 0.5 , sin 37o = 0.6 )
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5
47
ฏื๋
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
40. คลื่ นน้ าเคลื่ อนที่ จากน้ าตื้ นไปยังน้ าลึ ก ถ้ามุ ม ตกกระทบและมุ ม หักเหเท่ ากับ 30 องศา
และ 45 องศา ตามลาดับ และความยาวคลื่นในน้ าตื้นเท่ากับ 2 เซนติเมตร จงหาความยาว
คลื่นในน้ าลึกในหน่วยเซนติเมตร
1. 2.83 2. 3.22 3. 4.12 4. 5.02

41. คลื่ นน้ าขบวนหนึ่ งเคลื่ อนที่ จากบริ เวณน้ าตื้นไปสู่ บริ เวณน้ าลึ ก โดยแนวทางเดิ นของคลื่ น
ตกกระทบทามุมตกกระทบ 30o ถ้าความยาวคลื่ นในน้ าลึกเป็ น 3 เท่า ของความยาวคลื่ น
ในน้ าตื้น จงหามุมหักเห
1. 30o 2. 40o 3. 50o 4. 60o

42. คลื่นผิวน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นเข้าสู่ บริ เวณน้ าลึก พบว่าอัตราเร็ วของคลื่นเพิม่ เป็ น 2 เท่า
ของเดิม ถ้ามุมตกกระทบมีขนาด 30o จงหามุมหักเหที่เกิดขึ้น
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

43. คลื่นน้ ามีอตั ราเร็ วในน้ าลึกและในน้ าตื้นเป็ น 20 ซม./วินาที และ 16 ซม./วินาที จงหาอัตรา
ส่ วนของ sine ของมุมตกกระทบต่อ sine ของมุมหักเห เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากน้ าลึกสู่ น้ าตื้น
1. 45 2. 45 3. 23 4. 23

44. คลื่นผิวน้ าในถาดคลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าตื้นเข้าสู่ บริ เวณน้ าลึก โดยมีมุมตกกระทบเท่า


กับ 56 องศา และมุมหักเหเท่ากับ 70 องศา (ให้ sin 56o = 0.829 , sin 70o = 0.940 )
ก. ถ้าความยาวคลื่นในน้ าตื้นเท่ากับ 0.6 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นในน้ าลึก
ข. ถ้าคานกาเนิดคลื่นสั่น 10 รอบต่อวินาที ความถี่ของคลื่นในบริ เวณน้ าลึกมีค่าเท่าใด
ค. อัตราเร็ วคลื่นในบริ เวณน้ าลึกมีค่าเท่าใด
1. ก) 0.68 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 6.8 เซนติเมตร/วินาที
2. ก) 0.75 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 4.5 เซนติเมตร/วินาที
3. ก) 0.68 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 5.5 เซนติเมตร/วินาที
4. ก) 0.75 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 8.2 เซนติเมตร/วินาที

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
45. คลื่นน้ าในถาดคลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปสู่ บริ เวณน้ าตื้นโดยมีมุมตกกระทบ 45o และ
มุมหักเห 30o ถ้าระยะห่างของหน้าคลื่นหักเหที่ติดกันวัดได้ 2 2 เซนติเมตร และแหล่ง
กาเนิดคลื่นมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ จงหาอัตราเร็ วคลื่นตกกระทบ
1. 75 cm/s 2. 70 cm/s 3. 85 cm/s 4. 80 cm/s

46. ถ้าความเร็ วคลื่นในตัวกลาง x เป็ น 6 เมตร/วินาที เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง y ความเร็ ว


คลื่นเปลี่ยนเป็ น 8 เมตร/วินาที ดัชนีหกั เหของตัวกลาง y เทียบกับตัวกลาง x เป็ นเท่าใด
1. 90 2. 0.75 3. 2.70 4. 3.12

47. ถ้าคลื่นเคลื่อนจากบริ เวณน้ าตื้นมีความยาวคลื่น 45 เซนติเมตร ไปสู่ น้ าลึกความยาวคลื่น


เปลี่ยนเป็ น 60 เซนติเมตร จงหาดัชนี หกั เหของตัวกลางน้ าลึกเทียบกับตัวกลางน้ าตื้น
1. 4.60 2. 0.75 3. 2.70 4. 0.50

48. เมื่อคลื่นแนวตรงเคลื่อนที่จากบริ เวณ A


ไปสู่ บริ เวณ B ในถาดคลื่นทาให้เกิดการ 4 6 8 10 12 cm
หักเหของคลื่นปรากฏดังรู ป ซึ่งมีไม้
สเกลเซนติเมตรวางเทียบอยู่ ถ้าคลื่นนี้ A 45o
เขตระหว่าง
เกิดจากแหล่งกาเนิ ดซึ่ งมีความถี่ 9 30o ตัวกลาง
เฮิรตซ์ จงหาอัตราเร็ วของคลื่นน้ าที่
B
บริ เวณ B
1. 9 2 cm/s 2. 18 cm/s 3. 9 cm/s 4. 92 cm/s

49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
49. คลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นบริ เวณที่มีความลึกต่างกันเกิดปรากฏการณ์ดงั รู ป บริ เวณ ก หน้าคลื่น
อยูห่ ่างกัน 12 เซนติเมตร ในบริ เวณ ข คลื่นมีความเร็ ว 6 2 เซนติ เมตรต่อวินาที ถ้า
ต้นกาเนิ ดคลื่นมาจากบริ เวณ ก ความถี่
ของต้นกาเนิดคลื่นมีค่าเท่ากับข้อใด 12 ซม. 60o
1. 23 รอบต่อวินาที ก 45o
2. 4 รอบต่อวินาที
3
3. 12 รอบต่อวินาที ข
3
4. 1 รอบต่อวินาที
3

50. ในการศึกษาคลื่นผิวน้ าในถาดคลื่น โดยให้คลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปบริ เวณน้ าตื้น


พบว่าระยะระหว่างหน้าคลื่นที่ติดกันในน้ าลึกและในน้ าตื้นเท่ากับ 2.5 และ 1.5 เซนติเมตร
ตามลาดับ ถ้ามุมระหว่างหน้าคลื่นในบริ เวณน้ าตื้นทามุม 35 องศา กับรอยต่อของน้ าลึกและ
น้ าตื้น มุมระหว่างหน้าคลื่นในน้ าลึกกับรอยต่อของน้ าลึกและน้ าตื้นเป็ นเท่าใด
( กาหนดให้ sin 35o = 0.574 )
1. sin–1 0.357 2. sin–1 0.487 3. sin–1 0.587 4. sin–1 0.957

9.4.3 การแทรกสอดคลืน่
51. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรู ป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด A0 A1
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 150 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด A2
1. ก. 2 เมตร ข. 300 เมตร/วินาที
2. ก. 2 เมตร ข. 220 เมตร/วินาที 5 เมตร 1 เมตร
3. ก. 4 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที S1 S2
4. ก. 4 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
52. จากรู ป P เป็ นจุดใด ๆ อยูบ่ นเส้นปฏิบพั ถ้า ปฏิบพั
S1P = 10 เซนติเมตร , S2P = 4 เซนติเมตร
และการทดลองนี้ใช้มอเตอร์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์
P
ความเร็ วของคลื่นน้ ามีค่ากี่ เซนติเมตร/วินาที
1. 50 2. 150
3. 300 4. 400 S1 S2

53. ในการทดลองการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ าจาก S1 S2


แหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 ได้ผลดังรู ป
S1P = 0.50 เมตร , S2P = 0.44 เมตร ถ้า P
อัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเป็ น 0.60 เมตร/วินาที
แหล่งกาเนิดคลื่นมีความถี่กี่รอบต่อวินาที A0
1. 32 2. 52 3. 15 4. 20

54. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก


แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองอยูห่ ่ างกัน 10 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้มีค่าเท่าใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ ว 100 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 2.5 เมตร ข. 45 เฮิรตซ์ 2. ก. 4.2 เมตร ข. 45 เฮิรตซ์
3. ก. 4.2 เมตร ข. 40 เฮิรตซ์ 4. ก. 2.5 เมตร ข. 40 เฮิรตซ์

55. แหล่งกาเนิ ดคลื่นอาพันธ์เฟสตรงกัน 2 อัน วางห่ างกัน 6 เซนติเมตร ความเร็ วคลื่น 40


เซนติเมตร/วินาที ขณะนั้นคลื่นมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ จงหาว่าแนวปฏิบพั ที่ 3 จะเบนออกจาก
แนวกลางเท่าไร
1. 30o 2. 53o 3. 60o 4. 90o

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
56. จากรู ป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ า
ปฏิบพั
ที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 มี
P
P เป็ นจุดบนเส้นบัพ ถ้า S1P เท่ากับ 10 เซน-
ติเมตร และ S2P เท่ากับ 6 เซนติเมตร ถ้า
อัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 32 เซนติ-
S1 S2
เมตร/วินาที แหล่งกาเนิดทั้งสองมีความถี่เท่าใด
1. 3 Hz 2. 4 Hz 3. 5 Hz 4. 7 Hz

57(แนว En) จากรู ปเป็ นภาพการแทรกสอดของคลื่น ปฏิบพั


ผิวน้ าจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 โดย บัพ
มี P เป็ นจุดใดๆ บนแนวเส้นบัพ S1P = 19 P
เซนติเมตร S2P = 10 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของ
คลื่นทั้งสองเท่ากับ 60 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่ง
กาเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ์ S1 S2
1. 7.5 Hz 2. 10.0 Hz 3. 12.5 Hz 4. 15.0 Hz

58. ในการทดลองการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ าจาก S1 S2


แหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 ได้ผลดังรู ป
S1P = 0.50 เมตร และ S2P = 0.44 เมตร ถ้า P
อัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเป็ น 0.60 เมตร/วินาที
แหล่งกาเนิดคลื่นมีความถี่เท่าไร A0
1. 34 Hz 2. 45 Hz 3. 55 Hz 4. 15 Hz

59. จุด P อยูห่ ่ างจาก S1 และ S2 ซึ่ งเป็ นแหล่งกาเนิ ดอาพันธ์มีเฟสตรงกัน ให้กาเนิ ดคลื่นความ
ยาวคลื่น 3 ซม. จุด P อยู่ห่างจาก S1 เป็ นระยะ 6 ซม. และจะอยู่ห่างจาก S2 เท่าไร ถ้า
จุด P เป็ นตาแหน่งบนแนวบัพเส้นแรกถัดจากเส้นกลาง
1. 1.5 ซม. 2. 3.0 ซม. 3. 4.5 ซม. 4. 6.0 ซม.

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
60. S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์ให้คลื่นเฟสตรงกัน อยูห่ ่างกัน 25 บนแนว
เส้น S1S2 จะมีจุดบัพกี่จุด
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

61. แหล่งกาเนิ ดอาพันธ์สองแหล่งมีเฟสตรงกันอยู่ห่างกัน 12 เซนติเมตร ให้คลื่ นมีความยาว


คลื่น 3 เซนติเมตร ระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองจะเกิดจุดปฏิบพั กี่จุด
1. 6 จุด 2. 7 จุด 3. 8 จุด 4. 9 จุด

62. แหล่งกาเนิดคลื่นน้ าสร้างคลื่นน้ าที่สองตาแหน่ง


A และ B มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร และ C
ได้แนวของเส้นปฏิบพั ดังแสดงในรู ป อยาก
ทราบว่า AC และ BC มีความยาวต่างกันเท่าใด A B
1. 1.5 cm 2. 2 cm 3. 2.5 cm 4. 3 cm

63. S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิดอาพันธ์สองแหล่งที่ทาให้เกิดคลื่นผิวน้ าที่มีความถี่เท่ากัน และ


อยูห่ ่างกัน 6 เซนติเมตร พบว่าบนเส้นตรงที่ต่อระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองมีบพั 6 บัพ
ถ้า Q เป็ นจุดในแนวปฏิบพั ที่ 2 นับจากปฏิบพั กลาง จุด Q จะอยูห่ ่างจาก S1 และ S2
เป็ นระยะต่างกันกี่เซนติเมตร

64. แหล่งกาเนิดอาพันธ์สองแห่งห่างกัน 10 ซม. ทาให้เกิดคลื่นมีความเร็ ว 40 ซม./วินาที


ถ้าแหล่งกาเนิดทั้งสองมีเฟสตรงกัน และมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ S1
จงหาว่าจุด C ซึ่ งอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดทั้งสองเป็ นระยะทาง
16 ซม. และ 24 ซม. จะอยูต่ าแหน่งไหนของการแทรกสอด C
1. อยูบ่ นปฏิบพั ที่ 4 2. อยูบ่ นปฏิบพั ที่ 5
3. อยูบ่ นบัพที่ 4 4. อยูบ่ นบัพที่ 5 S2

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
65. กาหนดแผ่นกั้น AB เป็ นตัวสะท้อนคลื่นน้ าจาก S ซึ่ งห่างจากแผ่น AB 6 ซม. และจุด R
เป็ นจุดที่ อยูห่ ่างจาก S เป็ นระยะ 15 ซม. ดังรู ป ถ้า S ให้คลื่นที่มีความยาวคลื่น 2 ซม.
อยากทราบว่าจุด R จะเกิดการแทรกสอดอย่างไร
A B
1. เป็ นจุดปฏิบพั
2. เป็ นจุดบัพ 6 cm
3. เกิดแทรกสอดแต่ไม่ใช่ท้ งั บัพและปฏิบพั
4. ไม่เกิดการแทรกสอด S R
16 cm

9.4.4 การเลีย้ วเบนของคลื่น

9.5 คลืน่ นิ่ง


66. ในการทดลองคลื่นนิ่ งบนเส้นเชื อก ถ้าความถี่ ของคลื่นนิ่ งเป็ น 512 เฮิรตซ์ และอัตราเร็ ว
ของคลื่นในเส้นเชื อกเท่ากับ 256 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งบัพสองตาแหน่งที่อยูถ่ ดั กันจะห่ าง
กันเท่าใด
1. 0.4 2. 2.5 3. 0.25 4. 4.05

67. ระยะห่ างระหว่างจุดปฎิ บ พั กับจุ ดปฏิ บพั ที่ อยู่ถดั ไปของคลื่ นนิ่ งเป็ น 12.5 เซนติเมตร ตัว
คลื่นมีความเร็ ว 75 เซนติเมตร/วินาที จงหาความถี่ของคลื่นนิ่งมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 1.5 2. 3.0 3. 4.5 4. 6.0

68. คลื่นนิ่งในเส้นเชื อกยาว 0.8 เมตร มีจานวน 4 Loop อัตราเร็ วคลื่น 20 เมตร/วินาที จง
หาความถี่คลื่น
1. 10 Hz 2. 25 Hz 3. 50 Hz 4. 100 Hz

69. เมื่อสั่นเชื อกเส้นหนึ่งซึ่ งยาว 1.6 เมตร ถูกขึงตรึ งด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิด
คลื่นนิ่งมีลกั ษณะเป็ น Loop 5 Loop พอดี จงหาอัตราเร็ วของคลื่นในเชื อกเส้นนี้
1. 32 m/s 2. 50 m/s 3. 64 m/s 4. 100 m/s
54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 9 คลื่นกล
เ ฉ ล ย ต ะ ลุ ย โ จ ท ย์ ทั่ ว ไ ป บ ท ที่ 9 ค ลื่ น ก ล
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบ 6 4. ตอบ 5
5. ตอบ 60 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบ 1800
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบ 4.8 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 1.

55

You might also like