Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

1.

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. การเรียนโครงงานวิทยาศาสตร์นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิต
ประจำวันได้
ข. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์จะช่วยพัฒนาให้นักเรียนเป็ นคนรับผิด
ชอบ
ค. จุดมุ่งหมายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ที่สำคัญคือการเข้า
ประกวดแข่งขัน
ง. การทำโครงงานวิทยาศาสตร์เป็ นการเปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนา
และแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
2. ความหมายโครงงานวิทยาศาสตร์คือข้อใด
ก. เป็ นกิจกรรมที่นำเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษา
ข. เป็ นงานวิจัยเล็กๆ ของนักเรียนที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
ค. เป็ นการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่นักเรียนเป็ นผู้ลงมือปฏิบัติและ
ศึกษาค้นคว้าค้นคว้าด้วยตนเอง
ง. ถูกทุกข้อ
3. ข้อใดไม่จัดว่าเป็ นโครงงานวิทยาศาสตร์
ก. แดงซื้อชุดทำยาหม่องน้ำจากร้านค้ามาทำยาหม่องแจกเป็ นของ
ชำร่วย
ข. เขียวผลิตยาขจัดกลิ่นกายสูตรธรรมชาติที่ไม่เหมือนใคร
ค. ขาวศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาเครื่องอบผ้าโดยใช้พลังงานแสง
อาทิตย์
ง. ส้มทำสบู่สมุนไพรสูตรพิเศษที่คิดค้นขึ้นเอง
4. ข้อใดเป็ นจุดมุ่งหมายที่สำคัญในการให้นักเรียนทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์
ก. เพื่อให้นักเรียนได้รับคำตอบในปั ญหา
ข. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์
ค. เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจลักษณะธรรมชาติวิทยาศาสตร์ดีขึ้น
ง. เพื่อให้มีประสบการณ์ตรงในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดยวิธี
ทางวิทยาศาสตร์
5. หลักการของการจัดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์คือข้อใด
ก. การใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ข. การคิดเป็ น ทำเป็ น แก้ปั ญหา
ได้
ค. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ง. ความสามัคคีในหมู่คณะ
6. ข้อใดคือองค์ประกอบของโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ก. เปิ ดโอกาสให้นักเรียนทุกคนได้พัฒนาและแสดงความสามารถ
ข. กระตุ้นให้นักเรียนสนใจในการเรียนวิทยาศาสตร์
ค. นักเรียนเป็ นผู้ริเริ่มเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ง. นักเรียนได้ใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์

7. ข้อใดเป็ นคุณค่าของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ก. สร้างความสำนึก และรับผิดชอบในการศึกษาหาความรู้
ข. เป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค. เป็ นกิจกรรมที่ใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นคว้า
ง. นักเรียนเป็ นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้า
8. ข้อใดไม่ใช่จุดมุ่งหมายของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
ก. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความรักและสนใจในวิชาวิทยาศาสตร์
ข. เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ค. เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
ง. เพื่อให้เห็นถึงนิสัยและพฤติกรรมของผู้ทำโครงงานวิทยาศาสตร์
9. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์
ก. เป็ นการหาความรู้ด้วยตนเองที่หลากหลาย
ข. เปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
ค. รู้จักการทำงานร่วมกันเป็ นหมู่คณะ รู้จักยอมรับฟั งความคิดเห็นของ
ผู้อื่น
ง. ช่วยส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงาน และเป็ นหนทางในการสร้างราย
ได้
10. นักเรียนได้รับประโยชน์อะไรจากการทำโครงงานมากที่สุด
ก. ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
ข. ได้ฝึ กการนำเอาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้แก้ปั ญหา
ค. ได้ประสบการณ์และพัฒนาคุณลักษณะในหลายๆด้านให้กับผู้เรียน
ง. สร้างความสำนึกและรับผิดชอบในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้
11. การสังเกตของนักวิทยาศาสตร์ทำให้เกิดสิ่งใดเป็ นอันดับแรก
ก. สมมติฐาน ข. การทดลอง
ค. ปั ญหา ง. ถูกทุกข้อ
12. กฎขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการแสวงหาความรู้มี
ทั้งหมดกี่ขั้นตอน
ก. 2 ขั้น ข. 3 ขั้น
ค. 4 ขั้น ง. 5 ขั้น
13. การที่ผู้เรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์หรือจิตวิทยาศาสตร์จะมี
ลักษณะตรงกับข้อใด
ก. ศรัทธา ซาบซึ้งในผลงานทางวิทยาศาสตร์
ข. ตั้งในเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
ค. มีเหตุผล ซื่อสัตย์ รับฟั งความคิดเห็น
ง. ตระหนักในคุณและโทษของการใช้เทคโนโลยี

14. ในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถ้าหากผลการทดลองที่ได้จากการ


ทดสอบสมมติฐานไม่สอดคล้องกับสมมติฐานจะต้องทำอย่างไร
ก. สังเกตใหม่
ข. ออกแบบการทดลองใหม่
ค. ตั้งปั ญหาใหม่
ง. เปลี่ยนสมมติฐาน
15. สมมติฐานทางวิทยาศาสตร์จะเปลี่ยนเป็ นทฤษฎีได้เมื่อใด
ก. ทดสอบแล้วเป็ นจริงทุกครั้ง
ข. เป็ นที่ยอมรับโดยทั่วไป
ค. มีเครื่องมือพิสูจน์
ง. อธิบายได้กว้างขวาง
16. ข้อใดเรียงลำดับขั้นตอนของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้ถูกต้อง
ก. การตั้งสมมติฐาน การรวบรวมข้อมูล การทดลอง และสรุปผล
ข. การสังเกตและปั ญหา การทดลองและตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบ
สมมติฐาน และสรุปผล
ค. การตั้งสมมติฐาน การสังเกตและปั ญหา การตรวจสอบสมมติฐาน
และการทดลอง และสรุปผล
ง. การสังเกตและปั ญหา การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน
และการทดลอง และสรุปผล
17. การตั้งสมมติฐานจะต้องสอดคล้องกับข้อใด
ก. ปั ญหา
ข. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ค. ตัวแปรในการศึกษา
ง. การทดลอง
18. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนของ “ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ “
ก. การแก้ปั ญหา
ข. การตั้งสมมติฐาน
ค. การทดลอง
ง. การสรุปและแปลความหมาย
19. ข้อใดคือความชำนาญและความสามารถในการใช้กระบวนการคิด
เพื่อแก้ปั ญหา
ก. วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ข. จิตวิทยาศาสตร์
ค. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ง. ทักษะกระบวนการคิด

20. ในการตั้งสมมติฐานของการศึกษาค้นคว้ามีประโยชน์อย่างไร
ก.เพื่อเป็ นการบอกผลสรุปจากการทำโครงงานล่วงหน้า
ข.เพื่อเป็ นการคาดคะเนคำตอบชั่วคราวของปั ญหาที่ตั้งไว้
ค.เพื่อเป็ นการพิสูจน์ผลของปั ญหาที่ตั้งไว้
ง. เพื่อเป็ นแนวทางในการดำเนินโครงการ
21.โครงงานวิทยาศาสตร์ มีกี่ประเภท
ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท
ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท
22. โครงงานประเภทใดที่ง่ายเหมาะสำหรับการเริ่มต้นในการทำโครง
งาน
ก. การทดลอง
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
23. โครงงานที่นำเอาหลักการ กฎ แนวคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปสูตร
สมการ หรือคำอธิบาย คือโครงงานประเภทใด
ก. โครงงานประเภททดลอง
ข. โครงงานประเภทสำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. โครงงานประเภททฤษฎี
ง. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์
24. โครงงานประเภทใดที่เกี่ยงข้องกับการประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้
และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ การใช้สอย
ก. การทดลอง
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
25. การจัดทำโครงงานที่ดี นักเรียนต้องทำอย่างไร
ก. เป็ นโครงงานที่ไปดูมากจากโครงงานอื่น
ข. เป็ นโครงงานที่มีอาจารย์ที่ปรึกษาเก่ง ๆ
ค. เป็ นโครงงานที่เราคิดเอง ทำเอง แก้ปั ญหาเอง นำเสนอเองอย่างมีรูป
แบบขั้นตอน
ง. เป็ นโครงงานที่ ส่งเข้าประกวดได้รางวัล
26. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง “การสร้างเครื่องถอนขนไก่” เป็ นโครง
งานประเภทใด
ก. การทดลอง
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
27. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง “การอธิบายอวกาศแนวใหม่” เป็ น
โครงงานประเภทใด
ก. การทดลอง
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
28. โครงงานที่ศึกษาผลของตัวแปรหนึ่งที่มีต่อตัวแปรอีกตัวแปรหนึ่งจัด
ว่าเป็ นโครงงานประเภทใด
ก. การทดลอง
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
29. การศึกษาชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอนในน้ำทิ้งจากฟาร์มเลี้ยง
สุกรจัดว่าเป็ นโครงงานประเภทใด
ก. การทดลอง
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
30. โครงงานประเภทใดที่มีการกำหนดตัวแปรที่ค่อนข้างเด่นชัด
ก. ทดลอง สำรวจรวบรวมข้อมูล
ข. สำรวจรวบรวมข้อมูล สิ่งประดิษฐ์
ค. สิ่งประดิษฐ์ ทฤษฎี
ง. สิ่งประดิษฐ์ ทดลอง
31.สิ่งที่ควรทำเป็ นอันดับแรกในการทำโครงงาน คือทำอย่างไร
ก. สอบถามเรื่องที่จะทำจากอาจารย์
ที่ปรึกษา
ข. คิดหัวเรื่องที่จะทำ
ค. เตรียมสถานที่ที่จะทำโครงงาน
ง. ศึกษาหาสถานที่ที่จะประกวด

32. ในการจัดนิทรรศการแสดงโครงงานนั้นควรคำนึงถึงสิ่งใดมากที่สุด
ก. ความปลอดภัยและความเหมาะสมของเนื้อหาที่จัดแสดง
ข. ดึงดูดความสนใจผู้เข้าชม
ค. ใช้ตาราง และรูปภาพประกอบโดยจัดวางเหมาะสม
ง. สิ่งประดิษฐ์ควรอยู่ในสภาพที่ทำงานได้อย่างสมบูรณ์
33. ขั้นตอนใดเป็ นขั้นตอนสุดท้ายในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
ก. ขั้นตอนการคิดหัวข้อของโครงงาน
ข. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค. การเขียนรายงาน
ง. การแสดงผลงาน
34. ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์คือขั้นตอนใด
ก. การจัดทำเค้าโครงย่อของโครงงาน
ข. การคิดหัวข้อเรื่องที่จำทำโครงงานวิทยาศาสตร์
ค. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ง. การลงมือทำโครงงาน
35. ข้อใดเป็ น การประเมินผลของโครงงานวิทยาศาสตร์
ก. การเขียนรายงาน
ข. การจัดแสดงโครงงาน
ค. การอภิปรายปากเปล่า
ง. ถูกทุกข้อ
36. ความสำเร็จของการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ขึ้นอยู่กับข้อใด
ก. ผลการทดลองที่ได้ตรงกับความคาดหวังเสมอ
ข. ผลการทดลองที่ได้ไม่จำเป็ นต้องเป็ นไปตามความคาดหวัง
ค. ได้สิ่งประดิษฐ์ที่สวยงาม และมีราคาแพง
ง. มีความปลอดภัย และใช้ต้นทุนสูง
37. ข้อใดคือความสำคัญของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ก. ช่วยให้นักเรียนได้รู้งบประมาณ
ข. ช่วยให้นักเรียนได้มีแหล่งความรู้ที่จะค้นคว้า
ค. ช่วยให้นักเรียนได้แนวความคิดที่จะกำหนดขอบข่ายของเรื่องที่จะ
ศึกษาค้นคว้าให้ เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
ง. ช่วยให้นักเรียนได้เอกสารประกอบการทำรายงาน

38. การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงานที่ถูกต้องคือข้อใด
ก. การเขียนรายงานควรใช้ภาษาที่อ่านเข้าใจง่าย ชัดเจน สั้น ๆ และตรง
ไปตรงมาครอบคลุมหัวข้อต่าง ๆ
ข. การเขียนรายงานควรดึงดูดความสนใจ ใช้สีที่สดใส และครอบคลุม
หัวข้อต่าง ๆ
ค. การเขียนรายงานควรใช้ตาราง และรูปภาพประกอบ
ง. การเขียนรายงานควรรายงานอย่างตรงไปตรงมา
39.ที่มาและความสำคัญอยู่ที่บทใดของรายงาน
ก. บทที่ 1
ข. บทที่ 2
ค. บทที่ 4
ง. บทที่ 5
40. เอกสารและโครงงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เขียนไว้ในบทใด
ก. บทที่ 1
ข. บทที่ 2
ค. บทที่ 4
ง. บทที่ 5

You might also like