httpelsd.ssru.ac.thpawinee_rapluginfile.php95coursesummaryประเภทของทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม2028129.pdf

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 2

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม

เรื่ อง ประเภทของทรัพยากรทางธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม
สิ่ งแวดล้อม (Environment)
สิ่ งแวดล้ อม คือ สิ่ งต่าง ๆ ที่อยูร่ อบตัวมนุษย์ ทั้งสิ่ งที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ ทั้งสิ่ งที่มี
อยูใ่ นธรรมชาติและสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้น
สิ่ งแวดล้อมแบ่งได้ 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตามแหล่งกาเนิด ได้แก่
1. สิ่ งแวดล้ อมธรรมชาติ (natural environment)
2. สิ่ งแวดล้ อมทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ (man-made environment)
สิ่ งแวดล้อม (Environment)
1. สิ่ งแวดล้ อมธรรมชาติ (natural environment)
• สิ่ งแวดล้ อมทางชีวภาพ (biotic environment) ได้แก่ คน สัตว์ พืช จุลินทรี ย ์
ซึ่งมีลกั ษณะเฉพาะตัวของสิ่ งมีชีวติ เพื่อการดารงชีวติ

• สิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ (physical environment) ได้แก่ อากาศ แร่ ธาตุ น้ า


แสงแดด ดิน ลม ฯลฯ ส่ วนมากเอื้อประโยชน์ต่อสิ่ งแวดล้อมที่มีชีวติ เพื่อให้
ดารงชีวติ อยูไ่ ด้
สิ่ งแวดล้อม (Environment)
2. สิ่ งแวดล้ อมทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ (man-made environment)
• สิ่ งแวดล้ อมทางกายภาพ (physical environment) คือสิ่ งแวดล้อมที่เป็ นวัตถุที่
มนุษย์สร้างขึ้น มองเห็นเป็ นรู ปทรงได้ เช่น อาคารเรี ยน โรงแรม เป็ นต้น
• สิ่ งแวดล้ อมนามธรรม หรื อสิ่ งแวดล้ อมทางสั งคม (abstract/social
environment) สิ่ ง แวดล้อ มที่ ม นุ ษ ย์ส ร้ า งขึ้ นแต่ ไ ม่ ใ ช่ ว ัต ถุ มี รู ปร่ าง อาศัย
จินตนาการใช้ความคิด และนามาแสดงออกเป็ นพฤติกรรมของมนุษย์ในสั งคม
นั้น จึงจะเห็นเด่นชัดขึ้น เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา กฎหมาย เป็ นต้น
สิ่ งแวดล้อม (Environment)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources)
ทรั พยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่ งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมีอยู่ตาม
ธรรมชาติ โดยมนุ ษ ย์ส ามารถน ามาใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ไ ม่ ท างใดก็ ท างหนึ่ ง เช่ น
บรรยากาศ ดิน น้ า ป่ าไม้ ทุ่งหญ้า สัตว์ป่า แร่ ธาตุ พลังงาน และกาลังแรงงานมนุษย์
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources)
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
แบ่งตามลักษณะและการนามาใช้ประโยชน์ได้ 4 ประเภท ดังนี้
1. ทรัพยากรธรรมชาติหมุนเวียน (inexhaustible natural resources)
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทนได้ (renewable natural resources)
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้ นไป (exhausting natural resources)
4. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ (recyclable natural resources)
ทรัพยากรธรรมชาติหมุนเวียน (Inexhausting natural resources)
• เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วระบบธรรมชาติสามารถผลิตขึ้นมาใหม่หรื อขึ้นมา
ทดแทนอย่างรวดเร็ ว
• เป็ นสิ่ งที่มีอยูม่ ากเกินความต้องการหากรู ้จกั ใช้อย่างถูกวิธีกจ็ ะไม่มีวนั หมดหรื อไม่
เสื่ อมคุณภาพลง
• เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นก่อนที่จะมีมนุษย์
• มีความจาเป็ นต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์
• ถ้ามีสิ่งหนึ่งสิ่ งใดทาให้ทรัพยากรเหล่านี้มีสภาพเสื่ อมโทรมลงหรื อมีสิ่งเจือปนที่
เป็ นพิษ จะทาให้มนุษย์มีชีวติ อยูไ่ ม่ได้ หรื ออยูไ่ ด้กไ็ ม่ดี
ทรัพยากรธรรมชาติหมุนเวียน (Inexhausting natural resources)
ทรัพยากรธรรมชาติหมุนเวียน ได้แก่ ดิน น้ า อากาศ แสงแดด ฯลฯ
ทรัพยากรธรรมชาติทดแทน (Renewable natural resources)
• ทรัพยากรธรรมชาติที่นาไปใช้แล้ว ธรรมชาติสามารถสร้างทดแทนขึ้นมาเองได้แต่
ต้อ งใช้เ วลานาน หากมี ก ารดู แ ลและน ามาใช้อ ย่า งถู ก วิ ธี ท รั พ ยากรธรรมชาติ
เหล่านั้นก็จะมี ปริ มาณที่ เพียงต่อความต้องการของมนุ ษย์ และนาไปใช้เพื่อการ
ดารงชีวติ ได้อย่างยาวนานโดยไม่เดือดร้อน
• เป็ นทรัพยากรที่ให้ปัจจัย 4 แก่มนุษย์ท้ งั ทางตรงและทางอ้อม
• ถ้าขาดทรัพยากรเหล่านี้ แล้วมนุ ษย์ก็อาจมีชีวิตอยู่ไม่ได้ หรื อถ้าส่ วนหนึ่ งส่ วนใด
ขาดหายไปหรื อไม่สมบูรณ์แล้ว ก็อาจมีผลกระทบต่อการมีชีวิตอยู่ของมนุ ษย์ไม่
ทางตรงก็ทางอ้อม
ทรัพยากรธรรมชาติทดแทน (Renewable natural resources)
• ทรัพยากรธรรมชาติท่ีใช้แล้วทดแทนได้ เช่น พืช ป่ าไม้ ทุง่ หญ้า สัตว์ป่า มนุษย์
และทัศนียภาพที่สวยงาม เป็ นต้น
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ แล้ วหมดไป (Exhausting natural resources)
• เป็ นทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอ่ ย่างจากัด หากนามาใช้ให้หมดไปแล้วก็ไม่สามารถ
สร้ า งขึ้ น มาทดแทนได้ หรื อบางสิ่ ง บางอย่ า งอาจสร้ า งทดแทนได้แ ต่ ต ้อ งใช้
ระยะเวลานาวนานนับเป็ นพัน ๆ ปี หรื อมากกว่านั้น
• เป็ นทรัพยากรที่มนุ ษย์มกั นามาใช้สร้างสิ่ งอานวยความสะดวกสบายให้แก่ตนเอง
เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน ฯลฯ
• ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่ น้ ามันปิ โตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิ น
เป็ นต้น
ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนามาใช้ ใหม่ ได้
(Recyclable natural resources)
• เป็ นทรัพยากรธรรมชาติจาพวกแร่ ธาตุที่นามาใช้แล้วสามารถนาไปแปรรู ปให้กลับ
ไปสู่ สภาพเดิมได้ แล้วจึงนากลับมาใช้ใหม่อีก
• ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ เช่น แร่ โลหะ แร่ อโลหะ ได้แก่
เหล็ก ทองแดง อะลูมิเนียม แก้ว ฯลฯ
ทรัพยากรธรรมชาติ

• ทรัพยากรป่ าไม้
• ทรัพยากรสัตว์ป่า
• ทรัพยากรน้ า
• ทรัพยากรดินและที่ดิน
ทรัพยากรป่ าไม้
ป่ าไม้ คือ สังคมของต้นไม้ และสิ่ งมีชีวิตอื่นๆ อันมีความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและกัน
และปกคลุมเนื้ อที่กว้างใหญ่ มีการใช้ประโยชน์จากอากาศ น้ า และวัตถุธาตุต่างๆ ใน
ดิ น เพื่อการเจริ ญ เติ บโต มี ก ารสื บ พัน ธุ์ รวมทั้งให้ผ ลิ ตผล และบริ การที่ จ าเป็ นต่ อ
มนุษย์
ประเภทของป่ าไม้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยูก่ บั การกระจายของฝน ระยะเวลาที่ฝน
ตกรวมทั้งปริ มาณน้ าฝนทาให้ป่าแต่ละแห่ งมีความชุ่มชื้ นต่างกัน สามารถจาแนกได้
เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ป่ าประเภทที่ไม่ผลัดใบ (Evergreen)
2. ป่ าประเภทที่ผลัดใบ (Deciduous)
ทรัพยากรป่ าไม้
ป่ าไม่ ผลัดใบ (Evergreen) ป่ าประเภทนี้มองดูเขียวชอุ่มตลอดปี เนื่องจากต้นไม้แทบ
ทั้งหมดที่ข้ ึนอยูเ่ ป็ นประเภทที่ไม่ผลัดใบ ป่ าชนิดสาคัญซึ่งจัดอยูใ่ นประเภทนี้ ได้แก่
1. ป่ าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest)
2. ป่ าสนเขา (Coniferous Forest)
3. ป่ าชายเลน (Mangrove Forest)
4. ป่ าพรุ หรื อป่ าบึงน้ าจืด (Swamp Forest)
5. ป่ าชายหาด (Beach Forest)
ทรัพยากรป่ าไม้ : ป่ าไม่ ผลัดใบ

ป่ าดงดิบ ป่ าสนเขา ป่ าชายเลน

ป่ าพรุ ป่ าชายหาด
1. ป่ าดงดิบ (Tropical Evergreen Forest หรื อ Rain Forest)
1.1 ป่ าดิบชื้น (Tropical Rain Forest) มีอยูท่ วั่ ไปในทุกภาคของประเทศ และมากที่สุด
แถบชายฝั่งภาคตะวันออก เช่น ระยอง จันทบุรี และที่ภาคใต้ ลักษณะทัว่ ไปมักเป็ นป่ า
รกทึบ ประกอบด้วยพันธุ์ไม้มากมายหลายร้อยชนิด ต้นไม้ส่วนใหญ่เป็ นวงศ์ยาง ไม้
ตะเคียน กะบาก อบเชย จาปาป่ า
1.2 ป่ าดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) มีอยู่ท่วั ไป
ตามภาคต่าง ๆ ของประเทศ ตามที่ราบเรียบหรือตาม
หุบเขา พันธุไ์ ม้ท่สี าคัญ เช่น ยางแดง มะค่าโมง
1.3 ป่ าดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
• ส่วนใหญ่อยู่บนเทือกเขาสูงทางภาคเหนือ และบางแห่งในภาคกลางและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เช่นที่ อุทยานแห่งชาติทงุ่ แสลงหลวง และอุทยานแห่งชาติ
นา้ หนาว
2. ป่ าสนเขา (Coniferous Forest หรื อ Pine Forest)
• มีกระจายอยูต่ ามภาคเหนือ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง เพชรบูรณ์
และที่ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือที่จงั หวัดเลย ศรี สะเกษ สุ รินทร์ และอุบลราชธานี
• ป่ าสนมักขึ้นในที่ดินไม่อุดมสมบูรณ์ เช่น สันเขาที่ค่อนข้างแห้งแล้ง ประเทศไทยมี
สนเขาเพียง 2 ชนิดเท่านั้น คือ สนสองใบ และสนสามใบ และพวกก่อต่าง ๆ ขึ้น
ปะปนอยู่

สนสามใบ
สนสองใบ
3. ป่ าชายเลน (Mangrove Forest หรื อ Intertidal forest)
• มีองค์ ประกอบของผู้สร้ างอินทรียวัตถุ นอกจากพืชชั้นสู งแล้ว ยังมีแพลงตอนพืชและ
สาหร่ ายอีกหลายชนิดที่มีส่วนการผลิตต่อปี ค่อนข้างสู งด
• มีการกักเก็บคาร์ บอนสู ง ทั้งจากผลผลิตสุ ทธิ เฉลี่ยของป่ าในแต่ละวัน การร่ วงหล่นของซาก
พืช และมวลชีวภาพยืนต้น
• การผุสลายในป่ าชายเลน ผูส้ ลายที่สาคัญในป่ าชายเลน ได้แก่ จุลินทรี ย ์ เชื้อรา ทั้งยังมีผชู ้ ่วย
ย่อยสลายที่ทาให้อินทรี ยวัตถุกลายเป็ นชิ้นเล็กชิ้นน้อยอีกหลายชนิด โดยเฉพาะแมลง ปู หอย
กุง้ เพรี ยง เป็ นต้น
4. ป่ าพรุหรื อป่ าบึงนา้ จืด (Swamp Forest)
• เป็ นระบบที่เป็ นกึ่งป่ าบกและกึ่งระบบของบึงน้ า เป็ นพื้นที่ลุ่มที่มีการทับถมของ
ซากพืชและอินทรี ยวัตถุที่ไม่สลายตัว และมีน้ าท่วมขังหรื อชื้นแฉะตลอดปี
• สภาพดินที่เป็ นกรดจัดและมีน้ าท่วมอย่างต่อเนื่อง

ป่ าพรุ ท่าปอม จังหวัดกระบี่


5. ป่ าชายหาด (Beach Forest)
• เป็ นป่ าที่มีอยูต่ ามชายฝั่งทะเลที่เป็ นดินกรวด ทรายและโขดหิ น
• พันธุ์ไม้จะต่างจากที่ที่น้ าท่วมถึง
– ถ้ าชายฝั่งเป็ นดินทราย มีสนทะเล และพันธุ์ไม้เลื้อยอื่น ๆ อีกบางชนิด
– ถ้ าชายฝั่งเป็ นกรวดหรื อหิน พันธุ์ไม้ที่ข้ ึนส่ วนใหญ่เป็ นพวกหูกวาง

สนทะเล ต้นหูกวาง
ทรัพยากรป่ าไม้ : ป่ าผลัดใบ
ป่ าผลั ด ใบ (Declduous) ในฤดู ฝ น ป่ าประเภทนี้ จะ
มองดูเขียวชอุ่ม พอถึงฤดูแล้ง ต้นไม้ส่วนใหญ่จะพากัน
ผลัดใบทาให้ป่ามองดูโปร่ งขึ้น และมักจะเกิดไฟป่ าเผา ป่ าเบญจพรรณ
ไหม้ใ บไม้แ ละต้น ไม้เ ล็ก ๆ ป่ าชนิ ด ส าคัญ ซึ่ งอยู่ใ น
ประเภทนี้ ได้แก่
1. ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest)
2. ป่ าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest)
ป่ าเต็งรัง
3. ป่ าหญ้า (Savannas Forest)

ป่ าหญ้ า
1. ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest)
• ป่ าชนิดนี้มีอยูท่ วั่ ไปในภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
• ลักษณะของป่ าเบญจพรรณ โดยทัว่ ไปเป็ นป่ าโปร่ งประกอบด้วยต้นไม้ขนาดกลาง
เป็ นส่ วนมาก พื้นที่ป่าไม่รกทึบมีไม้ไผ่ชนิดต่าง ๆ ขึ้นอยูม่ าก ในฤดูแล้งต้นไม้
ทั้งหมดจะพากันผลัดใบและมีไฟป่ าไหม้อยูท่ ้ งั ปี
• มีพนั ธุ์ไม้ข้ ึนคละกันมากชนิด เช่น ไม้สกั แดง ประดู่ มะค่าโมง ชิงชัน ตะแบก
2. ป่ าเต็งรัง (Declduous Dipterocarp Forest)
• ป่ าชนิดนี้มีอยูม่ ากทางภาคเหนือ ภาคกลาง และพบมากในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ
• ป่ าชนิดนี้มีอยูท่ วั่ ไปทั้งที่ราบและที่เขาสู ง ดินมักเป็ นทรายและลูกรัง ซึ่งจะมีสีค่อนข้าง
แดง ในบางแห่งจึงเรี ยกว่าป่ าแดง ส่ วนในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือที่มีป่าขึ้นตามเนิน
ที่เรี ยกว่าโคก จึงเรี ยกว่าป่ าโคก
• ลักษณะป่ าชนิดนี้เป็ นป่ าโปร่ งมีตน้ ไม้ขนาดเล็กและขนาดกลางขึ้นอยูก่ ระจัดกระจาย
พื้นป่ าไม่รกทึบ มีหญ้าชนิดต่าง ๆ และไม้ไผ่ข้ ึนอยูโ่ ดยทัว่ ไป พันธุ์ไม้ในป่ านี้ได้แก่
เต็ง รัง พะยอม มะขามป้อม
3. ป่ าหญ้ า (Savannas Forest)
• เกิดจากการทาลายป่ าไม้ชนิดอื่น ๆ ดินมีความเสื่ อมโทรม มีฤทธิ์เป็ นกรด ต้นไม้ไม่
สามารถเจริ ญเติบโตได้ จึงมีหญ้าต่าง ๆ เข้าไปแทนที่ แพร่ กระจายทัว่ ประเทศใน
บริ เวณที่ป่าถูกทาลาย
• พบได้ทุกภาคในประเทศ
• เกิดไฟป่ าเป็ นประจาทุกปี
• หญ้าที่ข้ ึนส่ วนใหญ่เป็ นหญ้าคา แฝกหอม เป็ นต้น อาจมีตน้ ไม้ข้ ึนบ้าง เช่น
กระโดน กระถินป่ า ประดู่ ซึ่งเป็ นพวกทนทานไฟป่ าได้ดีมาก

หญ้าคา กระโดน กระถินป่ า


ทรัพยากรป่ าไม้
ประโยชน์ ของป่ าไม้ ที่สาคัญ ได้แก่
1. ไม้ เป็ นผลิตผลจากป่ า และนิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลาย ตั้งแต่โบราณกาล เนื่องจากมี
คุณสมบัติเฉพาะตัว ซึ่งบางครั้ง ใช้สิ่งอื่นทดแทนไม่ได้
2. เชื้อเพลิง ได้แก่ ฟื นและถ่าน ใช้ในการหุงต้ม และใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
3. วัตถุเคมี ที่ได้จากไม้ ได้แก่ เซลลูโลส และลิกนิน เซลลูโลส ใช้ในการทากระดาษ
ไหมเทียม วัตถุระเบิด น้ าตาล แอลกอฮอล์ และยีสต์ ส่ วนลิกนินใช้ในการทาวานิลา
น้ าหอม เครื่ องสาอาง ยาถนอมอาหารไม่ให้บูดเน่า และยารักษาโรคผิวหนัง
4. อาหาร มนุษย์ได้อาหารหลายอย่าง จากป่ า เช่น ดอก ผล ใบ เมล็ด หน่อไม้ เห็ด มัน
ต่าง ๆ และอาหารที่ได้จากสัตว์ป่า
5. ยารักษาโรค ที่ได้จากป่ าที่สาคัญมี สมุนไพร
6. ชัน นา้ มัน และยางไม้
7. อาหารสั ตว์ มนุษย์ใช้ป่าไม้เป็ นที่เลี้ยงสัตว์ และหาอาหาร สาหรับเลี้ยงสัตว์ เพราะใน
ป่ ามีหญ้า ใบไม้ เปลือกไม้ผล และเมล็ดที่สตั ว์ชอบกินอยูห่ ลายชนิด
ทรัพยากรป่ าไม้
ประโยชน์ ทางอ้ อมของป่ าไม้ ได้แก่
1. ช่ วยให้ ฝนตกเพิม่ ขึน้ และทาให้มีความชุ่มชื้นในอากาศสม่าเสมอ เนื่องจากอากาศ
เหนือท้องที่ที่ป่าไม้ข้ ึนอยูย่ อ่ มมีความชุ่มชื้น และเย็นกว่าในที่ที่ไม่มีตน้ ไม้
2. บรรเทาความรุนแรงของลมมรสุ ม ในที่ที่มีป่าไม้เป็ นฉากกาบัง หรื อมีการปลูก
ต้นไม้ไว้เป็ นแนวป้องกันลม จะช่วยลดความเร็ วของลมลงอย่างรวดเร็ ว
3. ป้องกันการพังทลายของดิน ในเวลาที่มีฝนตกลงมา เรื อนยอดของป่ าไม้ จะสกัดกั้น
ความรุ นแรงของฝน มิให้ตกกระทบผิวดินโดยตรง
4. บรรเทาอุทกภัย ป่ าไม้ช่วยบรรเทาความรุ นแรงของอุทกภัยให้เบาบางลงได้ และ
เกิดขึ้นเป็ นระยะเวลาเพียงสั้นๆ ซึ่งไม่ยนื ยาวเหมือนการไม่มีป่าไม้อยูเ่ ลย
5. ทาให้ นา้ ไหลอย่ างสม่าเสมอตลอดปี เมื่อฝนตกลงมา น้ าฝนถูกกิ่งไม้ใบไม้ตามพื้นป่ า
และดินอันร่ วนซุยดูดซับน้ าไว้ และค่อยๆ ซึมลง ดินสะสมไว้เป็ นน้ าใต้ดิน แล้วค่อยๆ
ปล่อยออกสู่ ลาห้วย ลาธาร
ทรัพยากรป่ าไม้
ประโยชน์ ทางอ้ อมของป่ าไม้ ได้แก่
6. เป็ นทีอ่ ยู่อาศัยของสั ตว์ ป่า และช่วยรักษาความสมดุลของธรรมชาติไว้ดว้ ย ซึ่งหาก
ไม่มีป่าไม้ สัตว์ป่าต่างๆ ดังกล่าวก็จะสู ญพันธุ์ไป เพราะจะไม่มีแหล่งที่อยูอ่ าศัย และ
แหล่งหากิน
7. เป็ นที่พกั ผ่ อนหย่ อนใจ เพื่อให้ประชาชนสามารถไปพักผ่อนในที่ที่มีความสงบ
ร่ มเย็น อากาศบริ สุทธิ์ และมีทิวทัศน์ธรรมชาติอนั สวยงาม ตามป่ าเขาลาเนาไพร เช่น
จัดทาเป็ นอุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน และสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจในป่ า
ทรัพยากรป่ าไม้
การจัดการทรัพยากรป่ าไม้
จากการที่ พ้ืนที่ ป่าไม้ลดลงอย่างมาก ซึ่ งส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมนานัปการ
และผลิตผลป่ าไม้ลดลง ในขณะที่ความต้องการใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้น จึงจาเป็ นต้อง
อาศัยหลักวิชาการในการฟื้ นฟูทรั พยากรป่ าไม้อย่างจริ งจัง โดยแยกเป็ น 2 ประเภท
หลัก ๆ ได้แก่
1. พืน้ ทีป่ ่ าอนุรักษ์
2. พืน้ ที่ป่าเศรษฐกิจ
ทรัพยากรป่ าไม้
พืน้ ทีป่ ่ าอนุรักษ์ ประกอบด้วย
• พื้นที่ป่าต้นน้ าลาธาร หรื อพื้นที่ลุ่มน้ าชั้นที่ 1
• อุทยานแห่งชาติ
• เขตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่า
การจั ด การควรมุ่ ง เน้ น ที่ จ ะรั ก ษาไว้ ส าหรั บ เป็ นป่ าป้ อ งกั น ภั ย หรื อเป็ นป่ า
อเนกประสงค์ให้มากที่สุด เนื่ องจากเป็ นป่ าสาธารณประโยชน์ โดยในการบริ หารการ
จัดการจะต้องให้ความสาคัญระดับสู งต่อการป้องกันรักษาป่ าที่ยงั มีสภาพสมบูรณ์
ทรัพยากรป่ าไม้
พืน้ ทีป่ ่ าอนุรักษ์ บริ เวณที่มีสภาพเสื่อมโทรม โดยเฉพาะบริ เวณที่เป็ น แหล่งต้นน้ าลา
ธาร ควรรี บเร่ งแก้ไขปรับปรุ งให้มีสภาพดียงิ่ ขึ้น ดังนี้
1. กาหนดขอบเขตที่ยอมให้ เป็ นแหล่ งทามาหากินของชาวเขา
2. ควบคุม ป้ องกัน และปลูกสร้างป่ าในบริเวณป่ าทีถ่ ูกบุกรุ กทาลาย
3. ป้ องกันมิให้เกิดไฟไหม้ป่า
4. ให้การศึกษา อบรม และเผยแพร่ความรู้
ทรัพยากรป่ าไม้
พื้นที่ป่าเศรษฐกิจ ต้องให้ความสาคัญกับการป้ องกันรั กษาป่ า ทั้งป่ าธรรมชาติ และ
สวนป่ า รวมทั้ งหาวิ ธี เพิ่ ม ผลิ ต ผลของป่ าไม้ ใ นเนื้ อที่ ป่ าที่ เ หลื อ อยู่ น้ ี ดั ง นี้
1 . ใ ห้ รั ฐ ทุ่ ม เ ท ก า ร ด า เ นิ น ง า น ป ลู ก ส ร้ า ง ส ว น ป่ า ใ ห้ เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น
2. ปลูกสร้ างสวนป่ า เพื่อเพิม่ ผลิตผลป่ าไม้
ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
ประเภทของสั ตว์ ป่า แบ่งสัตว์ป่าออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. สั ตว์ ป่าสงวน เป็ นสัตว์ป่าที่หายากและปัจจุบนั มีจานวนน้อยมากบางชนิดสู ญ
พันธุ์ไปแล้วมีอยู่ 15 ชนิด คือ นกเจ้าฟ้าหญิงสิ รินธร แรด กระซู่ กูปรี หรื อโคไพร ควาย
ป่ า ละองหรื อละมัง่ สมันหรื อ เนื้อสมัน เลียงผา นกแต้วแล้วท้องดา นกกระเรี ยน แมว
ลายหิ นอ่อน สมเสร็ จ เก้งหม้อ และพะยูนหรื อหมูน้ า
2. สั ตว์ ป่าคุ้มครอง เป็ นสัตว์ท้ งั ที่ปกติไม่นิยมใช้เป็ นอาหารและใช้เป็ นอาหารทั้งที่
ไม่ใช่ล่าเพื่อการกีฬาและล่าเพื่อการกีฬา ตามที่กฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนด
ไว้ มากกว่า 200 ชนิด เช่น ค่าง ชะนี อีเห็น ไก่ฟ้า เหยีย่ ว ช้างป่ า แร้ง กระทิง กวาง หมี
ควาย อีเก้ง นกเป็ ดน้ า เป็ นต้น
ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
สั ตว์ ป่าสงวน

นกแต้วแล้วท้องดา แมวลายหิ นอ่อน นกเจ้าฟ้าหญิงสิ รินธร


สั ตว์ ป่าคุ้มครอง

ไก่ฟ้าหลังเทา อีเห็น ช้างป่ า


ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
บทลงโทษ ทั้งสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุม้ ครอง และซากของสัตว์ป่าสงวนหรื อซาก
ของสัตว์ป่าคุม้ ครอง ห้ามมิให้ผใู ้ ดทาการล่ามีไว้ในครอบครอง ค้าขายและนาเข้าหรื อ
ส่ งออก หากผูใ้ ดฝ่ าฝื นต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 4 ปี หรื อปรับไม่เกิน 40,000 บาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ
นอกจากนี้ ยงั มี สัตว์ป่าอีก 1 ประเภท ที่ ไม่ได้จดั อยู่ในสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่า
คุม้ ครอง
3. สั ตว์ ป่าที่ไม่ สงวนและคุ้มครอง เป็ นสัตว์ป่าที่สามารถทาการล่าได้ตลอดเวลา แต่
ต้องไม่ล่าในเขตหวงห้าม เช่น อุทยานแห่ งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่า
สัตว์ สัตว์ป่าที่ไม่สงวนและคุม้ ครอง ได้แก่ หนู ค้างคาว ตะกวด แย้ งูเห่ า นกกระจาบ
และหมูป่า
ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
ปัญหาทรัพยากรสั ตว์ ป่า ในปัจจุบนั สัตว์ป่ามีจานวนลดน้อยลงมาก ชนิ ดที่สมัยก่อนมีอยู่
ชุกชุมก็ไม่ค่อยได้พบเห็นอีกบางชนิดก็ถึงกับสู ญพันธุ์ไปเลย ปัญหานี้สาเหตุมาจาก
1. ถูกทาลายโดยการล่ าโดยตรง
2. การสู ญพันธุ์หรื อลดน้ อยลงไปตามธรรมชาติของสั ตว์ ป่าเอง

สมัน, เนื้อสมัน, กวางเขาสุ่ ม


(Cervus schomburki)
แรดขาวเหนือ (northern white rhino) ตัวผู้ ตัวสุ ดท้ ายของโลก
ตายลงเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2561
ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
3. การนาสั ตว์ ป่าต่ างถิ่น (Exotic aminal) เข้าไปในระบบนิเวศสัตว์ป่าประจาถิ่น ทา
ให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิ เวศ ความสมดุลของสัตว์ป่าประจาถิ่นจนอาจเกิดการ
สู ญพันธุ์

สั ตว์ ต่างถิ่น หรื อสั ตว์ เอเลีย่ น

ปลาชัคเกอร์(Sucker Catfish)

หอยเชอรี่ (Golden Apple Snail)


ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
4. การทาลายถิ่นที่อยู่อาศั ยของสั ตว์ ป่า ซึ่ งก็ได้แก่การที่
ป่ าไม้ถูกทาลายด้วยวิธีการต่าง ๆ
5. การสู ญเสี ยเนื่ องจากสารพิษตกค้ าง เมื่อเกษตรกรใช้
สารเคมีในการเพาะปลูก เช่น ยาปราบศัตรู พืชจะทาให้
เกิ ดการสะสมพิษในร่ างกายทาให้บางชนิ ดถึงกับสู ญ
พันธุ์ได้
ทรัพยากรสั ตว์ ป่า
การอนุรักษ์ สัตว์ ป่า
1. กาหนดกฎหมายและวิธีการปฏิบัติอย่ างเคร่ งครัด
2. การรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสั มพันธ์
3. การไม่ ล่าสั ตว์ ป่า
4. การป้ องกันไฟป่ า
5. การปลูกฝั งการให้ความรัก และเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธี
6. การเพาะพันธุเ์ พิม่ สัตว์ป่าทีก่ าลังจะสูญพันธุห์ รือมีจานวนน้อยลง
ทรัพยากรนา้
โลกของเราประกอบขึ้ น ด้ว ยพื้ น ดิ น และพื้ น น้ า โดยส่ ว นที่ เ ป็ นฝื นน้ า นั้น มี อ ยู่
ประมาณ 3 ส่ วน (75%) และเป็ นพื้นดิน 1 ส่ วน (25%)

แหล่ งนา้ บนโลก ได้แก่


ทรัพยากรนา้
แหล่งน้ าที่พบได้ 3 ลักษณะ ดังนี้
1. มหาสมุทร (Ocean) แหล่งน้ าขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คิดเป็ น 97.2 % ของน้ าทั้งหมด
2. แหล่ งนา้ ผิวดิน (Surface Water) ได้แก่ น้ าในบรรยากาศที่กลัน่ ตัวเป็ นหยดน้ าและตก
ลงสู่ ผวิ โลก ไหลลงมาขังตามแอ่งที่ต่า เช่น หนอง บึง แม่น้ า ทะเล ทะเลสาบ เป็ นต้น
3. แหล่ งนา้ ใต้ ดนิ (Ground Water) เป็ นน้ าที่ไหลซึมผ่านชั้นดิน และหิ น ลงไปสะสมตัว
อยูต่ ามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินและหิ น น้ าชนิดนี้มีประโยชน์มาก และเป็ นตัวการ
สาคัญในการควบคุมการแพร่ กระจาย
ทรัพยากรนา้
ปัญหาของทรัพยากรนา้ ปัญหาสาคัญ ๆ ที่เกิดขึ้น คือ
1. ปัญหาการมีนา้ น้ อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็ นผลเนื่องจากการตัดไม้ทาลาย
ป่ า ทาให้ปริ มาณน้ าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสี ยหายต่อพืชเพาะปลูกและการ
เลี้ยงสัตว์
2. ปัญหาการมีนา้ มากเกินไป เป็ นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้เกิดน้ าท่วม
ไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสี ยหายแก่ชีวติ และทรัพย์สิน
3. ปัญหานา้ เสี ย เป็ นปัญหาใหม่ในปั จจุบนั สาเหตุที่ทาให้เกิดน้ าเสี ย ได้แก่
• น้ าทิ้งจากบ้านเรื อน ขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกลู ที่ถูกทิ้งสู่ แม่น้ าลาคลอง
• น้ าเสี ยจากโรงงานอุตสาหกรรม
• น้ าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่ แม่น้ าลาคลอง
ทรัพยากรนา้
การอนุรักษ์ ทรัพยากรนา้ ควรดาเนินการดังนี้
1. ออกกฎหมายเกีย่ วกับการใช้ นา้
2. การจัดการทรัพยากรลุ่มนา้ ทั้งระบบ
3. วางแผนพัฒนาแหล่งนา้
4. หาวิธีปรับปรุ งนา้ ทิง้ จากโรงงานอุตสาหกรรม
5. เร่งดาเนินการเรื่องการบาบัดนา้ ทิง้ และควบคุมแหล่งกาเนิดของนา้ ทิง้
ทรัพยากรดินและที่ดนิ
ดิ น คื อ วัต ถุ ต ามธรรมชาติ ซ่ ึ งเกิ ด ขึ้ นบนพื้ น ผิ ว โลก เป็ นวัต ถุ ที่ ค้ า จุ น การ
เจริ ญเติบโต และการทรงตัวของต้นไม้ ดินประกอบด้วยแร่ ธาตุ และอินทรี ยวัตถุต่าง ๆ
และมีลกั ษณะชั้นแตกต่างกัน แต่ละชั้นที่อยูต่ ่อเนื่ องกัน จะมีความสัมพันธ์ซ่ ึ งกันและ
กัน ตามขบวนการกาเนิดดิน
ปัญหาของทรัพยากรดิน
• ปัญหาดินเค็ม-ดินเปรี้ ยว
• ปัญหาการชะล้าง-พังทลายของดิน
ทรัพยากรดินและที่ดนิ
การอนุรักษ์ ดนิ หมายถึง การใช้ประโยชน์จากดินอย่างชาญฉลาด ซึ่งจาเป็ น
จะต้องคานึงถึง เรื่ องดังต่อไปนี้
1. ลดการกัดเซาะ หรื อป้องกันการพังทลายของดิน
2. รักษาปริ มาณธาตุอาหารในดินให้คงความอุดมสมบูรณ์อยูเ่ สมอ
3. รักษาระดับอินทรี ยวัตถุ และคุณสมบัติของดินในทุกๆ ด้าน เพราะการ
ปรับปรุ งให้กลับคืนมาจากการสู ญเสี ยไปนั้น จะต้องใช้เวลาอันยาวนาน และเสี ย
ค่าใช้จ่ายสู งกว่าการป้องกัน โดยวิธีการอนุรักษ์เป็ นอันมาก
วิธีการพิเศษในการอนุรักษ์ ดนิ ตามหลักการอนุรักษ์ ได้แก่
1. การปลูกพืชคลุมดิน
2. การปลูกพืชหมุนเวียน
3. การคลุมดิน
4. การปลูกพืชตามแนวระดับ
5. การปลูกพืชสลับเป็ นแถบ
6. การทาขั้นบันได
การจัดการทรัพยากรที่ดิน
การจัดการทรัพยากรที่ดินให้เหมาะสม เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ยงั่ ยืนต่อไป ได้แก่
1. วางแผนการใช้ ที่ดนิ ให้ เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดนิ สภาพทางเศรษฐกิจ สั งคม และสภาวะ
แวดล้อม เพื่อควบคุม และแก้ไขปั ญหาการใช้ที่ดินให้เป็ นไปอย่างประหยัด โดยให้เกิดประโยชน์ต่อ
หน่วยพื้นที่สูงสุด และสามารถรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินให้ตลอดไป
2. ศึกษาการใช้ ประโยชน์ ที่ดนิ เพื่อกิจกรรมต่ างๆ และจัดทาแผนที่แสดงขอบเขตการใช้ ที่ดนิ ประเภท
ต่ างๆ
3. ดาเนินการอนุรักษ์ ดนิ และนา้

You might also like