Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

มาตรฐานอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก

รายละเอียดอางเก็บน้าํ และเขือ่ นขนาดเล็ก

8 บทที่ 3 รายละเอียดอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

บทที่ 3
รายละเอียดอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก

3.1 องคประกอบของอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก
อางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก จําแนกองคประกอบได 2 ลักษณะ คือ
1. องคประกอบจําเปน
- ตัวเขื่อน (Dam Embankment) คือโครงสรางที่ใชปดกั้นลําน้ําเพื่อการกักเก็บน้ํา
- อาคารระบายน้ําลน (Spillway) คือโครงสรางฝายบังคับระดับน้ําลนออกจาก
อางเก็บน้ําเมื่อเกินระดับน้ําเก็บกัก เพื่อระบายน้ําหลากที่เกินกวาปริมาตรเก็บกักใหไหลออกได
โดยสะดวกและไมเกิดอันตรายตอตัวเขื่อน
- อาคารสงน้ําลงลําน้ําเดิม (River Outlet) คือโครงสรางการระบายน้ําลงลําน้ําเดิม
เพื่อใหลําน้ําเดิมมีปริมาณน้ําเพียงพอที่จะรักษาสภาพทางธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของลําน้ํา
- อาคารสงน้ําใชงาน (Service Outlet) คือโครงสรางการสงน้ําไปใชงานตาม
วัตถุประสงค เชน ดานการเกษตรกรรม ดานการอุปโภค บริโภค เปนตน
- อางเก็บน้ํา (Reservoir) คือ พื้นที่เหนือเขื่อน ซึ่งเปนพื้นที่ที่ใชเก็บน้ําไวใช
ประโยชน
2. องคประกอบอื่นๆ มีตามความจําเปน
- ตัวเขื่อนปดชองเขาต่ํา (Saddle Dam) คือโครงสรางปดกั้นชองเขาหรือภูมิประเทศ
ที่ระดับต่ํากวาระดับสันเขื่อนหลักเพื่อไมใหน้ํารั่วออกจากอางเก็บน้ํา
- ทางระบายน้ําลนฉุกเฉิน (Emergency Spillway) คือโครงสรางเพื่อชวยระบายน้ํา
ที่หลากมามากจนเกินความสามารถในการระบายน้ําของอาคารระบายน้ําลน
3.2 ชนิดของเขื่อนและอาคารประกอบ
ชนิดของเขื่อน
ตามมาตรฐานนี้จะกําหนดชนิดของเขื่อนขนาดเล็กเฉพาะเขื่อนดิน โดยแบงออกเปน
2 ประเภท คือ
บทที่ 3 รายละเอียดอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก 9
มาตรฐานอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก

1) เขื่อนดินเนื้อเดียว (Homogeneous earth dam) เขื่อนประเภทนี้ประกอบดวยดิน


ที่มีทั้งความเหนียวและมีความแข็งแรงอยูตัว เชน กลุมของดินเหนียวปนทราย (SC) ดินเหนียว
ปนกรวด (GC) ดินเหนียวปานกลาง (CL) เปนตน นํามาบดอัดเปนเนื้อเดียวกัน ยกเวนสวนของหิน
กันคลื่นกัดเซาะดานลาดเหนือน้ํา ทายน้ํา และชั้นระบายน้ําในตัวเขื่อน
2) เขื่อนดินแบงสวน (Earth zoned dam) เขื่อนประเภทนี้จะมีแกนกลางเขื่อนเปน
ดินเหนียวทึบน้ํา (Impervious core) เพื่อปองกันน้ําซึมผานตัวเขื่อน สวนวัสดุดานนอกที่ประกอบเปน
ตัวเขื่อนหุมแกนดินเหนียวทั้งสองขาง เรียกวา สวนเปลือกของเขื่อน (Shell) ประกอบดวยดินเม็ดหยาบ
กวาและมีกําลังสูงกวาหรือดินคละขนาดที่สามารถหาไดในพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อชวยใหเขื่อนเกิดความ
มั่นคงสูงขึ้น โดยมีชั้นระบายในแนวเอียงคั่นระหวางแกนดินเหนียวและดินสวนเปลือกนอก
3.3 ระดับและความสูงที่เกี่ยวกับงานเขื่อน
ความสูงของเขื่อน คือ ความสูงทั้งหมดจากระดับกนรองน้ําลึกที่ตําแหนงแนวแกนเขื่อน
ตัดผานไปจนถึงระดับสันเขื่อน ไมนับรวมขอบทางเทาหรือผนังกันคลื่น
ระดับน้ําในอางเก็บน้ําประกอบดวยระดับตางๆ ดังนี้
1) ระดับน้ําเก็บกักต่ําสุด (ร.น.ต.) คือระดับน้ําต่ําที่สุดในอางที่สามารถสงผานทอสงน้ํา
เพื่อนําไปใชประโยชนได ระดับน้ําที่ต่ํากวานี้เปนน้ําตายสําหรับใชในการเก็บตะกอนกนอาง
2) ระดับน้ําเก็บกักปกติ (ร.น.ก.) คือระดับน้ําเก็บกักเต็มความจุของอาง ซึ่งโดยทั่วไป
อยูที่ระดับสันของทางระบายน้ําลน
3) ระดับน้ําสูงสุด (ร.น.ส.) คือระดับน้ําสูงสุดที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากน้ําหลากในพื้นที่
ลุมน้ํา โดยปริมาณน้ําที่สูงพนระดับสันทางระบายน้ําลนจะ ระบายลงทายน้ําจนเทากับ ร.น.ก.
3.4 น้ําหนักและแรงกระทํา
แรงกระทําตอตัวเขื่อน อาจแยกเปน 2 ประเภท คือ
1. แรงภายในตัวเขื่อนเอง (Internal forces) เชน น้ําหนักของตัวเขื่อน และแรงดันน้ํา
ภายในตัวเขื่อน เปนตน
2. แรงกระทําภายนอกตัวเขื่อน (External forces) เชน แรงดันน้ําดานเหนือเขื่อน
(Head water) แรงดันน้ําดานทายเขื่อน (Tail water) แรงจากน้ําหนักเครื่องจักรและสิ่งกอสรางบน
สันเขื่อน
10 บทที่ 3 รายละเอียดอางเก็บน้ําและเขื่อนขนาดเล็ก

You might also like