Download as ppsx, pdf, or txt
Download as ppsx, pdf, or txt
You are on page 1of 12

ลักษณะของคำไทยแท้

๑. คำไทยแท้มีพยางค์เดียว
คำไทยแท้มักคำพยางค์มีพยางค์เดียว และมีความหมาย
สมบูรณ์ในตัวเอง เมื่อฟังแล้วสามารถเข้าใจได้ทันที เช่น พ่อ ,
วัว , ม้า , ไฟ , ไห , ครก ฯลฯ แต่หากคำไทยแท้มี ๒ พยางค์
อาจจะมีสาเหตุมาจาก
ลักษณะของคำไทยแท้

๑. คำไทยแท้มีพยางค์เดียว
สาเหตุ
๑ ) การกร่อนเสียง คือ การที่คำเดิมเป็นคำ ๒ พยางค์
เรียงกันเมื่อพูดเร็ว ๆ ทำให้พยางค์แรกกร่อนเสียงลง เช่น
หมาก เป็น มะ
ตัว เป็น ตะ
ลักษณะของคำไทยแท้

๑. คำไทยแท้มีพยางค์เดียว
สาเหตุ
๒ ) การแทรกเสียง คือ การเติมพยางค์ลงไประหว่าง
คำ ๒ พยางค์ ทำให้เกิดเป็นคำหลายพยางค์ เช่น
ลูกตา เป็น ลูกกะตา
นกจิบ เป็น นกกระจิบ
ลักษณะของคำไทยแท้

๑. คำไทยแท้มีพยางค์เดียว
สาเหตุ
๓ ) การเติมพยางค์หน้า คือ การเติมพยางค์ลงไปหน้าคำ
พยางค์เดียว หรือสองพยางค์แล้วทำให้เกิดเป็นคำหลาย
พยางค์ เช่น
ท้วง เป็น ประท้วง
จุ๋มจิ๋ม เป็น กระจุ๋มกระจิ๋ม
ลักษณะของคำไทยแท้

๒. คำไทยแท้มักมีตัวสะกดตรงตามมาตรา
กล่าวคือ อักษรที่นำมาเขียนเป็นตัวสะกดจะตรง
ตามกับมาตราตัวสะกด เช่น
แม่กม สะกด ม
แม่เกอว สะกด ว
แม่เกย สะกด ย
ลักษณะของคำไทยแท้

๓. คำไทยแท้จะไม่พบพยัญชนะบางตัว
กล่าวคือ จะไม่ปรากฏการใช้พยัญชนะต่อไปนี้ คือ
ฆ , ฌ , ญ , ฎ , ฏ , ฐ , ฑ , ฒ , ณ , ธ , ศ , ษ , ฬ ยกเว้นคำ
บางคำ
เช่น ฆ่า , เฆี่ยน , ระฆัง , ศอก , ศึก , ธ , เธอ , ณ , ฯพณฯ ,
ใหญ่ ,
หญ้า ฯลฯ
ลักษณะของคำไทยแท้

๔. คำไทยแท้มักจะมีเสียงวรรณยุกต์กำกับ
เพื่อให้เกิดเสียงต่างกัน ทำให้คำมีความหมาย
มากขึ้นด้วย ซึ่งทำให้มีคำใช้มากขึ้น เช่น
ขาว > ชื่อสีชนิดหนึ่ง
ข่าว > คำบอกเล่า เรื่องราว
ข้าว > อาหารประเภทหนึ่ง
ลักษณะของคำไทยแท้

๕. คำไทยแท้จะมีลักษณนามใช้
ลักษณนามเป็นนามที่บอกลักษณะของนามที่
อยู่ข้างหน้า ซึ่งในภาษาไทยจะใช้คำเหล่านี้แตกต่างจากภาษา
อื่นชัดเจน เช่น
รูป ใช้กับ ภิกษุ , สามเณร
กอง ใช้กับ ทหาร , อิฐ , ทราย , ผ้าป่ า
จับ ใช้กับ ขนมจีน
ลักษณะของคำไทยแท้

๖. คำไทยแท้จะไม่นิยมใช้ตัวการันต์
ลักษณะของตัวการันต์ มักเป็นคำที่ยืมมาจาก
ภาษาต่างประเทศ เพราะในภาษาไทยจะไม่นิยมใช้
ตัวการันต์ เช่น โล่ , เสา , อิน , จัน , วัน , กา , ขาด
ฯลฯ
ลักษณะของคำไทยแท้

๗. การใช้เสียง /ไอ/
คำที่ออกเสียง /ไอ/ ใช้รูปไม้ม้วน ( ใ ) มีใช้ในคำไทย
เพียง ๒๐ คำเท่านั้น นอกนั้นใช้ประสมด้วย “ ไม้มลาย ”
ทั้งสิ้น แต่จะไม่ใช้รูป “ อัย ” หรือ “ ไอย ” เลย เนื่องจากทั้งสอง
รูปแบบ ได้รับอิทธิพลจากภาษาบาลี และ ภาษาสันสกฤต
จำได้ไหมเอ่ย
บันทึกเพิ่มเติมนะครับ
คราวหน้าจะเริ่ม
เรียนภาษาอื่นแล้ว

You might also like