หน่วยที่ 9 บทอาขยาน 2

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 9

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ตามแนวทางของ Backward Design

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง บทอาขยาน


รหัส-ชื่อรายวิชา ท ๑๔๑   กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑, ๒ เวลาเรียน ๔ ชั่วโมง
ผู้สอน ............................................................. โรงเรียน
.................................................

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด
ท ๕.๑ ป. ๔/๔ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ

สาระสำคัญ
การท่องจำบทอาขยานนอกจากจะช่วยฝึกความจำแล้ว ยังเป็นการปลูกฝังความคิด และคำสอนดี ๆ
ให้ฝังแน่นอยู่ในตัวเราด้วย

ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding)


นักเรียนสามารถสรุปได้ว่า การท่องจำบทอาขยานนอกจากจะช่วยฝึกความจำแล้ว ยังเป็น
การปลูกฝังความคิด และคำสอนดี ๆ ให้ฝังแน่นอยู่ในตัวเราด้วย

สาระการเรียนรู้

๑. บทอาขยานจากเรื่อง พระอภัยมณี ตอน สุดสาครเข้าเมืองการะเวก


๒. บทอาขยาน : สยามานุสสติ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๏ ทักษะการอ่าน
๏ ทักษะการเขียน
๏ ทักษะการฟัง การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
๏ การวิเคราะห์
๏ การสังเคราะห์
๏ การจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ
๏ การประยุกต์/การปรับปรุง
๏ การสรุปความรู้
๏ การประเมินค่า
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย
ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)

กิจกรรมการท่องจำบทอาขยาน

การประเมินผล
การประเมินผลตัวชี้วัด
เรื่อง การท่องจำบทอาขยาน
ระดับคะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
เกณฑ์การประเมิน
การท่องจำ ท่องจำ ท่องจำ ท่องจำ ท่องจำ
บทอาขยาน บทอาขยานได้ถูก บทอาขยานได้ถูก บทอาขยานได้ถูก บทอาขยานได้ถูก
ต้องทุกคำ ต้องทุกคำ ต้องทุกคำ ต้องทุกคำ
ไม่มีติดขัด ไม่มีติดขัด ตกหล่น ไม่มีติดขัด ตกหล่น แต่มีติดขัดบ้าง
ตกหล่น ออก- ออกเสียงคำถูกต้อง ออกเสียงคำถูก ออกเสียงคำ
เสียงคำถูกต้อง ชัดเจนทุกคำ ต้องชัดเจน บางคำยังไม่ชัดเจน
ชัดเจนทุกคำ เว้น เว้นจังหวะ ทุกคำ เว้นจังหวะ เว้นจังหวะ
จังหวะวรรคตอน วรรคตอนถูกต้อง วรรคตอนถูกต้อง วรรคตอนถูกต้อง
ถูกต้องทุกวรรค ทุกวรรค เป็นส่วนใหญ่ เป็นบางวรรค
ใช้ระดับเสียง ใช้ระดับเสียง ใช้ระดับเสียง ระดับเสียงราบ
แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ตาม แสดงอารมณ์ตาม เรียบ
ตามบทประพันธ์ บทประพันธ์ได้ดี บทประพันธ์ ไม่แสดงอารมณ์
ได้ดีมาก ได้พอใช้

การประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)


๑.๒.๑ เข้าร่วม ส่ง เป็นตัวอย่างที่ดี เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม ไม่เข้าร่วม
เสริม ในการเข้าร่วม ที่สร้างความ ที่สร้างความ กิจกรรมที่สร้าง
สนับสนุน กิจกรรมที่สร้าง สามัคคีปรองดอง สามัคคีปรองดอง ความสามัคคี
กิจกรรมที่ ความสามัคคี และเป็น และเป็น
สร้างความ ปรองดอง และ ประโยชน์ต่อ ประโยชน์ต่อ
สามัคคี เป็นประโยชน์ต่อ โรงเรียนและ โรงเรียน
ปรองดอง โรงเรียนและ ชุมชน
ที่เป็น ชุมชน
ประโยชน์
ต่อโรงเรียน
ชุมชนและ
สังคม
๑.๒.๒ หวงแหน
ปกป้ อง
ยกย่อง
ความเป็น
ชาติไทย

ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)


๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ตั้งใจเรียน ตั้งใจเรียน ตั้งใจเรียน ไม่ตั้งใจเรียน
๔.๑.๒ เอาใจใส่ เอาใจใส่และมี เอาใจใส่และ เอาใจใส่และ
และมีความ ความเพียร- มีความเพียร- มีความเพียร-
เพียร- พยายามในการ พยายาม พยายาม
พยายามใน เรียนรู้ ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้
การเรียนรู้ เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
๔.๑.๓ สนใจ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ การเรียนรู้ต่าง ๆ
เข้าร่วม เป็นประจำ บ่อยครั้ง บางครั้ง
กิจกรรมการ
เรียนรู้ต่าง ๆ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑. ครูติดบัตรคำ คำว่า อาขยาน แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะ
ของบทอาขยาน
๒. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง บทอาขยาน
๓. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มหาบทอาขยานจากวรรณคดี แล้ววิเคราะห์ลักษณะสำคัญ
๔. ให้นักเรียนสรุปลักษณะสำคัญและคุณค่าของบทอาขยาน เป็นแผนภาพความคิด
๕. ให้นักเรียนศึกษาวิธีการท่องจำบทอาขยาน และการแบ่งจังหวะของบทอาขยาน
๖. ให้นักเรียนท่องบทอาขยาน จากเรื่องพระอภัยมณี ตอน สุดสาครเข้าเมืองการะเวก
เป็นทำนองเสนาะโดยครูตรวจสอบและให้คำแนะนำเพิ่มเติม
๗. ให้นักเรียนจับคู่คำศัพท์กับความหมายจากบัตรคำ
๘. ให้นักเรียนสรุปข้อคิดจากบทอาขยานนี้เป็นแผนภาพความคิด
๙. ให้นักเรียนท่องบทอาขยาน “สยามานุสสติ” เป็นทำนองเสนาะ โดยครูตรวจสอบและ
ให้คำแนะนำเพิ่มเติม
๑๐. ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะนิสัยของคนไทยจากบทอาขยาน สยามานุสสติ
๑๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปข้อคิดที่ได้รับจากบทอาขยานเพื่อนำไปใช้ในชีวิตจริง

๑๒. ให้นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้


๏ การท่องจำบทอาขยานนอกจากจะช่วยฝึกความจำแล้ว ยังเป็นการปลูกฝังความคิดและ
คำสอนดี ๆ ให้ฝังแน่นอยู่ในตัวเราด้วย

สื่อการเรียนรู้
๑. แผนภูมิบทอาขยาน
๒. บัตรคำ
๓. บัตรข้อความ
แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) ได้__________คะแนน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
ชื่อ ____________ นามสกุล ______________ เลขที่ _____ ชั้น _____
ให้นักเรียนเติมคำประพันธ์ในช่องว่างให้ถูกต้อง

๑. __________________ แดนไทย
๒. __________________ ขาดดิ้น
๓. __________________ ยอมสละ สิ้นแล
๔. __________________ ชื่อก้องเกียรติงาม

บัดเดี๋ยวดังหงั่งเหง่งวังเวงแว่ว สะดุ้งแล้วเหลียวแลชะแง้หา
เห็นโยคีขี่รุ้งพุ่งออกมา ประคองพาขึ้นไปจนบนบรรพต
แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ ๕. ________________________
๖. __________________________ ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน้ำใจคน
๗. __________________________ บิดามารดารักมักเป็นผล
ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน ๘. ________________________
แม้นใครรักรักมั่งชังชังตอบ ให้รอบคอบคิดอ่านนะ
หลานหนา
รู้สิ่งใดไม่สู้รู้วิชา ๙. ________________________
จงคิดตามไปเอาไม้เท้าเถิด ๑๐. _______________________
พอเสร็จคำสำแดงแจ้งคดี รูปโยคีหายวับไปกับตา
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) ได้__________คะแนน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
ชื่อ ____________ นามสกุล ______________ เลขที่ _____ ชั้น _____
ให้นักเรียนเติมคำประพันธ์ในช่องว่างให้ถูกต้อง

บัดเดี๋ยวดังหงั่งเหง่งวังเวงแว่ว สะดุ้งแล้วเหลียวแลชะแง้หา
เห็นโยคีขี่รุ้งพุ่งออกมา ประคองพาขึ้นไปจนบนบรรพต
แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ ๑. ________________________
๒. __________________________ ก็ไม่คดเหมือนหนึ่งในน้ำใจคน
๓. __________________________ บิดามารดารักมักเป็นผล
ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน ๔. ________________________
แม้นใครรักรักมั่งชังชังตอบ ให้รอบคอบคิดอ่านนะ
หลานหนา
รู้สิ่งใดไม่สู้รู้วิชา ๕. ________________________
จงคิดตามไปเอาไม้เท้าเถิด ๖. ________________________
พอเสร็จคำสำแดงแจ้งคดี รูปโยคีหายวับไปกับตา

๗. __________________ แดนไทย
๘. __________________ ขาดดิ้น
๙. __________________ ยอมสละ สิ้นแล
๑๐. __________________ ชื่อก้องเกียรติงาม
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test)
๑. ใครรานใครรุกด้าว ๖. ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด
๒. ไทยรบจนสุดใจ ๗. มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน
๓. เสียเนื้อเลือดหลั่งไหล ๘. เกิดเป็นคนคิดเห็นจึงเจรจา
๔. เสียชีพไป่ เสียสิ้น ๙. รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี
๕. มันแสนสุดลึกล้ำเหลือกำหนดนักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร
๑๐. จะประเสริฐสมรักเป็นศักดิ์ศรี
หลัง
จากที่เรียนหน่วยการเรียนรู้นี้
แล้ว
นักเรียนยังไม่เข้าใจเรื่องใดอีกบ้าง .......................................
ที่เกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้นี้ ....................................... นักเรียนได้รับความรู้เรื่องใดบ้าง
ซึ่งต้องการให้ครูอธิบายเพิ่มเติม ....................................... จากหน่วยการเรียนรู้นี้
..........................................
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) . .......................................
.......................................... ....................................... .......................................
๑. มันแสนสุดลึกล้ำเหลือกำหนด....................
.......................................... ๖. จะประเสริฐสมรักเป็นศักดิ์ศรี
๒. ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ๗. ใครรานใครรุกด้าว .......................................
.......................................... .......................................
๓. มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน
.................... ๘. ไทยรบจนสุดใจ .....................
๔. เกิดเป็นคนคิดเห็นจึงเจรจา ๙. เสียเนื้อเลือดหลั่งไหล .......................................
๕. รู้รักษาตัวรอดเป็นยอดดี ๑๐. เสียชีพไป่ เสียสิ้น ....................
หน่วยการเรียนรู้
ที่ ..............................
.................................
........................

นักเรียนจะสามารถนำความรู้ นักเรียนได้ทำกิจกรรมอะไรบ้าง
ความเข้าใจจากหน่วยการเรียนรู้นี้ ในหน่วยการเรียนรู้นี้
ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน .......................................
ได้อย่างไรบ้าง .......................................
.......................................... ผลงานที่นักเรียนชอบและต้องการ .......................................
.......................................... .......................................
คัดเลือกเป็นผลงานดีเด่นจาก .......................................
.......................................... หน่วยการเรียนรู้นี้คือผลงานใดบ้าง
.......................................... .......................................
..........................................
เพราะอะไร .
......................................... แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สำหรับผู้เรียน
.......................................... .......................................
.......................................... ...................
..........................................
ชื่อ-นามสกุล...................................... เลขที่ ............................................ ชั้น ..................................
..........................................
วันที่ ................................................ เดือน ........................................................... พ.ศ. ...................
....................

๑. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้เป็นหลักฐานและข้อมูลเพื่อปรับปรุง และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๒. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้ประกอบการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อเป็นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้
คำชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้

หมายเหตุ ให้ครูสำเนาแบบบันทึกนี้เพื่อให้นักเรียนบันทึกทุกหน่วยการเรียนรู้

1. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้เป็นหลักฐานและข้อมูลเพื่อปรับปรุง และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
2. ครูสามารถนำแบบบันทึกนี้ไปใช้ประกอบการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อเป็นผลงานประกอบการเลื่อนวิทยฐานะได้

You might also like