โครงสร้างแผน02

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 30

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2.

รหัสวิชา ท 11101 ราย วิชาภาษาไทย


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
เรื่อง คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ

ระดับชั้นประถมศึกษาที่ 1
เวลา 5 ชั่วโมง

1. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระที่ 1 การอ่าน

มาตรฐานการเรียนรู้ ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความ


คิดเพื่อนำไปใช้

ตัดสินใจแก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.1/1 อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจองและข้อความสั้น ๆ

ตัวชี้วัด ท 1.1 ป.1/2 บอกความหมายของคำและข้อความที่อ่าน

สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐานการเรียนรู้ ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียง
ความ ย่อความ และ

เขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นคว้าอย่างมี

ประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด ท 2.1 ป.1/1 การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

ตัวชี้วัด ท 2.1 ป.1/2 การเขียนเกี่ยวกับเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์

สาระที่ 3 หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู้ ท 3.1 สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และ


พูดแสวงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมี
วิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด ท 3.1 ป.1/1 การฟั งและปฏิบัติตามคำแนะนำคำสั่งง่ายๆ

สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย

มาตรฐานการเรียนรู้ ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย


การเปลี่ยนแปลง
ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปั ญญาของภาษา และรักษาภาษาไทยไว้
เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วัด ท 4.1 ป.1/1 บอกและเขียนพยัญชนะ สระ และตัวเลขไทย

ตัวชี้วัด ท 4.1 ป.1/2 การสะกดคำ การแจกลูก และการอ่านเป็ นคำ

ตัวชี้วัด ท 4.1 ป.1/3 การแต่งประโยค

ตัวชี้วัด ท 4.1 ป.1/4 คำคล้องจอง

2. สาระการเรียนรู้แกนกลาง

2.1 เนื้อหาคำควบกล้ำแท้ คำควบกล้ำไม่แท้

2.2 หลักการจำแนกคำควบกล้ำแท้

2.3 หลักการจำแนกคำควบกล้ำไม่แท้

2.4 คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ
3.จุดประสงค์การเรียนรู้

3.1 บอกความหมายและลักษณะของคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำได้ถูกต้อง (K)

3.2 เขียนและอ่านออกเสียงคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำได้อย่างถูกต้อง (P)

3.3 ตระหนักเห็นถึงความสำคัญของภาษาไทย มีมารยาททางการอ่านและ


เขียนสามารถนำ

ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (A)

4. สาระสำคัญ

คำควบกล้ำ หรืออักษรควบ ถือเป็ นส่วนประกอบที่สำคัญในภาษาไทย


เพราะช่วยเพิ่มเสียงและเพิ่มความหมายของคำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้มี
ความหลากหลายมากยิ่งขึ้นคนไทยทุกคนควรจะรักษาระเบียบความงดงาม
ของภาษาซึ่งแสดงถึงวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ประจำชาติไว้

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

5.1 ความสามารถในด้านการสื่อสาร

- การใช้คำควบกล้ำได้อย่างถูกต้อง

- การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ

5.2 ความสามารถในด้านการคิด
- การคิดสร้างสรรค์

- การจำแนกลักษณะของคำควบกล้ำ (ควบแท้ / ควบไม่แท้ )

5.3. ความสามารถด้านในการแก้ปั ญหา

- การแสวงหาความรู้

- การประยุกต์ใช้ความรู้

5.4. ความสามารถในด้านการใช้ชีวิต

- การยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่าง

- กระบวนการปฏิบัติการทำงานเป็ นกลุ่ม

5.5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

- การใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้

6. คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์

6.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 ซื่อสัตย์สุจริต 6.3 มีวินัย

6.4 ใฝ่ เรียนรู้ 6.5 อยู่อย่างพอเพียง 6.6 มุ่งมั่นในการ


ทำงาน

6.7 รักความเป็ นไทย 6.8 มีจิตสาธารณะ


7. กระบวนการจัดการเรียนรู้

โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น (5 STEPs) ประกอบด้วย 5 ขั้น


ตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 ขั้นตั้งค าถาม

1.1 ครูกล่าวทักทายนักเรียนและพูดคุยกับนักเรียนถึง เรื่อง พยัญชนะไทย

1.2 ครู “ตั้งคำถาม” เกี่ยวกับคำควบกล้ำ ให้นักเรียนร่วมกันตอบคำถามเพื่อ


ตรวจสอบ

ความรู้เดิมของนักเรียนว่านักเรียนรู้จักพยัญชนะไทยอะไรบ้าง

1.4 ครูเปิ ดคลิปวิดีโอ “สื่อสอนออนไลน์ - คำควบกล้ำ ร” จาก YouTube

สื่อสอนออนไลน์ - คำควบกล้ำ ร - Bing video ให้นักเรียนฟั ง 1 รอบ แล้วให้นักเรียน

พูดตามครูจนกว่าจะคล่อง

1.5 ครูให้นักเรียนร่วมกันแต่งประโยคเกี่ยวกับคำควบกล้ำมานำเสนอหน้า
ชั้นเรียนพร้อมแสดงผลงาน

ขั้นที่ 2 ขั้นแสวงหาสารสนเทศ

2.1 ครูอธิบายและอ่านออกเสียงคำควบกล้ำให้นักเรียนฟั งและดูตาม


โปสเตอร์ภาพ

การจำแนกคำควบกล้ำ
2.2 ครูอ่านออกเสียงคำควบกล้ำแล้วให้นักเรียนทุกคนร่วมกันตอบว่าเป็ นคำ
ควบกล้ำชนิดใด

2.3 ครูแบ่งนักเรียนเป็ นกลุ่มๆละ 4 คน ซึ่งในแต่ละกลุ่มจะมีนักเรียนที่มี


ความสามารถ

แตกต่างกัน คือ เก่ง 1 คน ปานกลาง 1 คน อ่อน 1 คน และค่อนข้างอ่อน 1


คน

2.4 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มฝึ กปฏิบัติอ่านและสังเกตลักษณะของพยัญชนะ


ในคำควบกล้ำ หน้าชั้นเรียนเป็ นกลุ่ม

2.5 ครูแจก แบบฝึ กหัดที่ 1.1 เรื่อง การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ (งานกลุ่ม)


และอธิบายคำชี้แจงให้
นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันปฏิบัติ

2.6 ครูอ่านรูปแบบที่ถูกต้องที่ 1.1 เรื่อง การอ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ไทย


(งานกลุ่ม) พร้อมอธิบายและ

ยกตัวอย่างเพิ่มเติม

ขั้นตอนที่ 3 การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้

3.1 ครูแจก แบบฝึ กหัดที่ 1.2 เรื่อง คำควบกล้ำแท้ ให้นักเรียนแต่ละคนฝึ ก

ปฏิบัติการการจำแนกคำควบกล้ำลงในใบงานที่แจกให้

3.2 ครูสรุปเนื้อหาเกี่ยวกับคำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ว่ามีใจความสำคัญ


อย่างไรและจะนำมาปรับใช้ใน

ชีวิตประจำวันได้อย่างไร

ขั้นตอนที่ 4 การเรียนรู้เพื่อการสื่อสาร

4.1 ครูแจก ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ ให้นักเรียนทุก


กลุ่ม

4.2 ครูให้นักเรียนทุกกลุ่มศึกษา ใบกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง คำที่มีพยัญชนะ


ควบกล้ำ (10 นาที)
4.3 ครูแจกกระดาษชาร์ตให้นักเรียนกลุ่มๆละ 1 แผ่น สีไม้ 1 กล่อง ให้กับ
นักเรียนแต่ละ

กลุ่ม โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างองค์ประกอบในการจำแนกคำควบกล้ำ
และ บอกคำควบกล้ำนั้นมีความสำคัญ

อย่างไร ทำลงในกระดาษชาร์ต ตกแต่งให้สวยงาม

4.6 ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชั้นจนครบทุกกลุ่ม

4.5 ครูเปิ ดโอกาสให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนและถามคำถามที่สงสัย

4.7 ครูสรุปประเด็นสำคัญเพิ่มเติมเพื่อให้ผู้เรียนได้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น

ขั้นตอนที่ 5 การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม

5.1 ครูเปิ ดคลิปวิดีโอ สื่อสอนออนไลน์ - คำควบกล้ำ ร ให้นักเรียนฟั งอีกครั้ง และให้


นักเรียน

สามารถจดจำและมีหลักการที่ชัดเจนในการสังเกตได้เป็ นอย่างดี
5.2 ครูสุ่มนักเรียนออกมาให้บอกคุณค่าและความสำคัญของคำที่มีพยัญชนะ
ควบกล้ำ

5.3 ครูให้นักเรียนทำ แบบฝึ กหัดที่ 1.3 เรื่อง การจำแนกตัวพยัญชนะที่ควบ


กล้ำ โดยให้นักเรียนเขียน

จำแนกคำตอบ ลงใน แบบฝึ กหัดที่ 1.3 เรื่อง คำควบกล้ำ

5.5 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ทั้งหมดและแนวคิดในการดำเนิน
ชีวิตรวมทั้งการ

นำความรู้ไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและสังคมต่อไปในอนาคต

8. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้
• วิดีโอสื่อสอนออนไลน์ - คำควบ • YouTube
กล้ำ • Google
• โปสเตอร์คำควบกล้ำ • ครูผู้สอน
• กระดาษชาร์ต
• สีไม้
9. การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การ วิธีการวัดและ เครื่องมือ เกณฑ์การวัด


เรียนรู้ การประเมินผล ที่ใช้วัดและ และประเมินผล
ประเมินผล

• ด้านความรู้ • ตรวจแบบ • แบบฝึ กหัดที่ ร้อยละ 60


(K) ฝึ กหัดที่ 1.1 1.ปริศนา ผ่านเกณฑ์
• ตรวจแบบ คำที่มีพยัญชนะ
ฝึ กหัดที่ 1.2 ควบกล้ำ • แบบ
• ตรวจแบบ ฝึ กหัดที่ 1.2 คำ
ฝึ กหัดที่ 1.3 ควบกล้ำแท้
ลายมือแสนสนุก
• แบบฝึ กหัดที่
1.3
คำควบกล้ำ
• ด้านทักษะ/ • ฝึ กปฏิบัติการ • แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
กระบวนการ คัดลายมือ การเขียน 2 ผ่านเกณฑ์
(P) แสนสนุกและ จำแนกคำควบ
• ฝึ กปฏิบัติการ กล้ำ
ท่องจำ • แบบประเมิน
พยัญชนะไทย การท่องจำ
• ปฏิบัติกิจกรรม คำที่มีพยัญชนะ
ที่ 1.1 ควบกล้ำ
เรื่อง คำที่มี • แบบสังเกต
พยัญชนะควบ พฤติกรรมการ
กล้ำ ทำงานกลุ่ม
• ด้าน • การสังเกต • แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
คุณลักษณะอัน คุณลักษณะอัน คุณลักษณะ 2 ผ่านเกณฑ์
พึง พึงประสงค์ อันพึงประสงค์
ประสงค์ (A)

10. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
10.1 ผลที่เกิดขึ้นจากกาเรียน
รู้..................................................................................................

10.2 ปั ญหาและ
อุปสรรค.........................................................................................................

10.3 แนวทางแก้ไขและข้อเสนอ
แนะ.......................................................................................

ลงชื่อ..................................................ผู้เขียน
แผนการจัดการเรียนรู้

(...................................................)

................../.................../............

ลงชื่อ...................................................ผู้ตรวจ

(....................................................)

................../.................../............

ลงชื่อ....................................................ผู้อนุมัติ

(....................................................)

................../.................../............
แบบฝึ กหัดที่ 1.1

เรื่อง คำที่มี
เฉลยแบบฝึ กหัดที่
1.1
ตรากตรำ คลาย ทราบ ทรง

แกล้ง ครอบครัว ทรัพย์ พุทรา

พราง พริก เศร้า ต้นไทร


กราบ พลอย เสริม สร้าง

แบบฝึ กหัดที่
1.2
แบบฝึ กหัดที่ 1.3

เรื่อง การจำแนกตัว
ใบกิจกรรมที่ 1.1

เรื่อง คำที่มีพยัญชนะควบ
แบบประเมินความเข้าใจคำควบกล้ำ
ลำ ชื่ รายการประเมิน ร
ด้ อ เข้าใจเนื้อหา สามารถตอบ แยกประเภท มีความมั่นใจ สามารถบอก ใบงาน รายละเอียด ว
บ - คำถามได้ ได้ถูกต้อง ในคำตอบ ความต่างได้ เรียบร้อย ของงาน ม
ที่ ส
กุ

1 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 2
0
2 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

3 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

4 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

5 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

เกณฑ์การให้คะแนน

ดี หมายถึง พฤติกรรมการท่องจำครบถ้วนถูกต้องแยกประเภท
เสียงได้มีความ

มั่นใจและออกเสียงได้ต่อเนื่อง ให้ 4 คะแนน

ปานกลาง หมายถึง พฤติกรรมการท่องจำครบถ้วนแยกประเภทเสียงได้แต่


ขาดความ

มั่นใจให้ 3 คะแนน
พอใช้ หมายถึง พฤติกรรมการท่องจำไม่ครบถ้วนและแยก
ประเภทเสียงได้

ให้ 2 คะแนน

ปรับปรุง หมายถึง พฤติกรรมการท่องจำไม่ครบถ้วนและแยก


ประเภทเสียงได้เล็กน้อย ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคะแนน
16 - 20 ดี
11 – 15 ปานกลาง
6 – 10 พอใช้
1–5 ปรับปรุง

ลงชื่อ..................................................ผู้สังเกต

(......................................................................)

......................./.........................../...................
แบบการเขียนคำควบกล้ำ
ลำ ชื่ รายการประเมิน ร
ด้ อ เขียนถูกต้อง คัดตัวเต็ม สะอาด ความ ความ เหมาะสมใน รายละเอียด ว
บ - บรรจง เรียบร้อย สวยงาม สมบูรณ์ เนื้อหา ของงาน ม
ที่ ส
กุ

1 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 2
0
2 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

3 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234


4 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

5 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

เกณฑ์การให้คะแนน

ดี หมายถึง พฤติกรรมการเขียนถูกต้องตามรูปแบบตัวบรรจง
เต็มบรรทัด สะอาดเรียบร้อยสวยงามและมีความุ่งมั่นในการ
เขียน ให้ 4 คะแนน

ปานกลาง หมายถึง พฤติกรรมการเขียนถูกต้องตามรูปแบบตัวบรรจง


เต็มบรรทัดสะอาดเรียบร้อยแต่ไม่สวยงามและมีความตั้งใจให้ 3
คะแนน

พอใช้ หมายถึง พฤติกรรมการเขียนถูกต้องตามรูแปบบตัวบรรจง


เต็มบรรทัดบกพร่องเรื่องสะอาดเรียบร้อยสวยงามแต่ตั้งใจให้ 2
คะแนน

ปรับปรุง หมายถึง พฤติกรรมการท่องเขียนถูกต้องตัวบรรจงเต็ม


บรรทัดบ่งพร่องความสะอาดเรียบร้อยและไม่สนใจให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคะแนน
16 - 20 ดี
11 – 15 ปานกลาง
6 – 10 พอใช้
1–5 ปรับปรุง

ลงชื่อ..................................................ผู้สังเกต

(......................................................................)

......................./.........................../...................
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มที่...........
ลำ ชื่ รายการประเมิน ร
ด้ อ การวางแผน ความร่วมมือ ความสนใจ การรับฟัง ความตั้งใจ มีส่วนร่วมใน ตรวจสอบ ว
บ - ความคิดเห็น ในการทำงาน การอธิบาย ความ ม
ที่ ส เรียบร้อย
กุ ของงาน

1 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 2
0
2 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

3 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

4 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

5 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

เกณฑ์การให้คะแนน

ดี หมายถึง มีการวางแผนแบ่งหน้าที่ มีความร่วมมือ รับฟั งความ


คิดเห็นของสมาชิกใน
กลุ่ม มีความตั้งใจในการทำงานกลุ่ม และมีส่วนร่วมในการ
อภิปรายให้ 4 คะแนน

ปานกลาง หมายถึง มีการวางแผนแบ่งหน้าที่ มีความร่วมมือ รับฟั งความ


คิดเห็นของสมาชิกใน

กลุ่ม มีความตั้งใจในการทำงานกลุ่ม และแต่มีส่วนร่วมในการ


อภิปรายเล็กน้อยให้ 3 คะแนน

พอใช้ หมายถึง มีการวางแผนแบ่งหน้าที่ มีความร่วมมือ แต่ไม่รับ


ฟั งความคิดเห็นของสมาชิกใน

กลุ่ม มีความตั้งใจในการทำงานกลุ่ม มีส่วนร่วมในการอภิปราย


เล็กน้อยให้ 2 คะแนน

ปรับปรุง หมายถึง ไม่มีการวางแผนแบ่งหน้าที่ มีความร่วมมือ แต่


ไม่รับฟั งความคิดเห็นของสมาชิกใน

กลุ่ม ไม่มีความตั้งใจในการท างานกลุ่ม ไม่มีส่วนร่วมในการอภิปรายเล็ก


น้อยให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคะแนน
16 - 20 ดี
11 – 15 ปานกลาง
6 – 10 พอใช้
1–5 ปรับปรุง
ลงชื่อ..................................................ผู้สังเกต

(......................................................................)

......................./.........................../...................

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอก
เวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่าง

ที่ตรง กับระดับคะแนน

ชื่อโรงเรียน
: .................................................................รายวิชา........................................
.....ระดับชั้น....................
ล ช รายการประเมิน ร
ำ ื่ รักชาติ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอ มุ่งมั่นใน รักความ มีจิต ว
ด อ ศาสน์ สุจริต เพียง การทำงาน เป็ นไทย สาธารณะ ม
้ - กษัตริย์
บ ส
ท ก
ี่ ุ

1 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 2
0
2 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

3 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

4 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234

5 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234


เกณฑ์การให้คะแนน
ดี = 4 การแสดงพฤติกรรมในการปฏิบัติบ่อยครั้งและสม่ำเสมอ

ปานกลาง = 3 การแสดงพฤติกรรมในการปฏิบัติบางครั้งแต่สม่ำเสมอ

พอใช้ = 2 การแสดงพฤติกรรมในการปฏิบัติบางครั้งไม่สม่ำเสมอ

ปรับปรุง = 1 การแสดงพฤติกรรมในการปฏิบัติเพียงครั้งเดียว

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคะแนน
28 - 32 ดี
19 – 27 ปานกลาง
10 – 18 พอใช้
1–9 ปรับปรุง

ลงชื่อ..................................................ผู้สังเกต

(......................................................................)

......................./.........................../...................

You might also like