Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

(Information of village for Life development)

บ้านห้วยลึก หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยลึก


อาเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ปีงบประมาณ 2561
หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอควนเนียง
จังหวัดสงขลา
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
คานา

หมู่บ้าน สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บ้ า นห้ ว ยลึ ก หมู่ ท่ี 1 ตาบลห้ ว ยลึ ก อาเภอควนเนี ย ง


จั ง หวั ด สงขลา เปนการวิเคราะห์ข้อมูล โดย รวบรวมข้อมูลจาก ข้อมูล จปฐ. ข้อมูลสารสนเทศ และแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ของบ้านห้วยลึก หมู่ที่ 1
ตาบลห้วยลึก อาเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จัดทาขึ้นเปนรูปเล่ม ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน การจัดเวทีประชาคมร่วมกับ ภาคีการพัฒนาองค์ ก ร
ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาหมู่บ้านในอนาคต สรุปเปนหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
เพื่อเปน ข้อมูลเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริมให้หมู่บ้าน/ตาบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ได้นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาและ
บริหารจัดการหมู่บ้าน/ตำบลต่อไป
คณะผู้จัดทาขอขอบคุณ ผู้นำชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้านห้วยลึก และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ช่วยกัน วิเคราะห์ข้อมูล และให้ข้อเสนอแนะที่
เปนประโยชน์ ต่อการจัดทำ หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต จนเสร จสมบูรณ์ โดยหวังเปนอย่างยิ่งว่าหมู่บ้าน
สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ฉบับนี้จะเปนประโยชน์แก่ผู้อ่าน ผู้ท่ีสนใจและ ผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหมู่บ้าน

คณะทางานจัดทาข้อมูลหมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
บ้านห้วยลึก หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยลึก
อาเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
23 พฤษภาคม 2561
สารบัญ

เรื่อง หน้า

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน (สภาพทั่วไป/สภาพสังคม/สภาพเศรษฐกิจสังคม) 1-7


- ประวัติความเป็นมา
- ประชากร
- ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กร อัตลักษณ์
- ผลิตภัณฑ์ชุมชนรายได้/สภาพเศรษฐกิจ
- แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ
- แผนที่
- ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี เทศกาล ภูมิปัญญาท้องถิ่น
- ข้อมูลอื่นฯ
ส่วนที่ 2 แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศ 8-18
การบริหารจัดการ
การดาเนินการ
การจัดทาสารสนเทศภูมิศาสตร์
การมีส่วนร่วม
การดาเนินกิจกรรม/โครงการเชิงบูรณาการ
การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
ส่วนที 3 ภาคผนวก 19-25
- ภาพกิจกรรม
- ข้อมูล จปฐ. กชช.2ค
หมู่บ้านสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
บ้านห้วยลึก หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยลึก
อาเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
1. ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
ห้วยลึก มีความหมายถึงแอ่งนาลึกกว้าง จากการสืบประวัติของชื่อบ้านพบว่า ทาเลของหมู่บ้านเป็น
ที่ลุ่ม นาท่วมขัง มีลาคลองไหลเป็นแนวยาวตลอดหมู่บ้าน เป็นสายนาที่แยกจากคลองรัฐภูมี ผ่านบ้านไส
ท้อน ตาบลควนรู อาเภอรัตภูมิ ผ่านบ้านห้วยลึก และไปออกทะเลสาบสงขลา ที่บ้านท่าหยี ลาคลองสายนี
เป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก เป็นเส้นทางการคมนาคม ค้าขาย โดยเฉพาะ
บริเวณหน้า วัดห้วยลึกจะมีท่าเรือสาเภาจีนใหญ่ เข้ามาค้าขายเป็นประจา (ปัจจุบันตืนเขินหมดแล้ว)
จากสภาพทาเลของหมู่บ้านที่เป็นแอ่งนาลึกทาให้ชาวบ้านเรียกชื่อหมู่บ้านนีว่า บ้านห้วยลึก

2. ทีต่ ั้ง
บ้านห้วยลึก อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอควนเนียง ไปทางทิศเหนือระยะทางประมาณ 6 กิโลเมตร
มีอาณาเขตดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อ ตาบลดอนประดู่ อาเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ทิศใต้ ติดต่อ หมู่ที่ 7 ตาบลควนโส อาเภอควนเนียง
ทิศตะวันตก ติดต่อ ตาบลดอนประดู่ อาเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ทิศตะวันออก ติดต่อ หมู่ที่ 2 ตาบลห้วยลึก อาเภอควนเนียง
-2-

3. ลักษณะภูมิประเทศ
บ้านห้วยลึก หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยลึก มี 2 ฤดู คือ ฤดูฝน และฤดูร้อน
4. ลักษณะทั่วไป
บ้านห้วยลึก มีพืนที่ทังหมดประมาณ 1,500 ไร่ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นพืนที่ยังคง
ความเป็นธรรมชาติ มีความอุดมสมบูรณ์ของพืนดิน และนา ที่ประกอบด้วยเหล่าพืชพันธุ์อาหาร มีคลอง
ชลประทานไหลผ่าน พืนที่เป็นที่ราบลุ่มนาท่วมขัง ราษฎรขาดนากินนาใช้ ในฤดูแล้ง ไม่มีระบบประปาใน
หมู่บ้าน

5. ข้อมูลประชากร
บ้านห้วยลึก จานวนครัวเรือน ทังสิน 65 ครัวเรือน

จานวนประชากร (คน) รวม


ช่วงอายุ ชาย หญิง (คน)
1เดือน- 5 เดือน 0 0 0
6 เดือน ถึง 1 ปี 1 0 1
1 ปี 1 เดือน - 2 ปี 3 5 8
3 ปี -5 ปี 5 1 6
6 ปี -12 ปี 4 4 8
13 ปี - 14 ปี 2 2 4
15 ปี - 18 ปี 6 5 11
19 ปี - 25 ปี 5 0 5
26 ปี - 34 ปี 11 9 20
35 ปี - 49 ปี 19 13 32
50 ปี – 59 ปีเ 9 7 16
60 ปี ขึนไป 16 27 43
รวม 81 73 154
6.สภาพสังคม
ครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มที่ตังขึนในหมู่บ้าน
ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหนเพื่อประโยชน์ของชุมชน
สภาพบ้านเรือนมีความมั่นคงถาวร มีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบถูกสุขลักษณะ
เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติด
-3-

7.ศักยภาพของหมู่บ้าน
ด้านเศรษฐกิจการประกอบอาชีพ
ชาวบ้านห้วยลึก หมู่ที่ 1 ส่วนใหญ่มีอาชีพทานา ทาสวน รับจ้าง ค้าขาย ปลูกผักสวนครัวและ
เลียงสัตว์ซึ่งเป็นวิถีชีวิตแบบดังเดิม มีความรู้ความเข้าใจในการประกอบอาชีพจากบรรพบุรุษสืบทอดมาจนถึง
ลูกหลาน อาศัยทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ดารงชีวิต คนวัยแรงงาน ส่วนใหญ่มีงานทา คนว่างงานมีน้อย
รายได้เฉลี่ย 45,106 บาท/คน/ปี
8. ข้อมูล (ผู้นาชุมชน อาสาสมัคร)
ผู้ใหญ่บ้าน/ประธานกองทุนหมู่บ้าน นายอาทิตย์ เสนีย์
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นายกฤตคุณ เปรมเมธากิจ
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางสาวรัตติกานต์ คงศรี
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นายสามารถ อักษรเนียม
ประธาน กรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน นางสหโสฬส เสนีย์
คณะกรรมการหมู่บ้าน
1.นายอาทิตย์ เสนีย์ ประธานกรรมการ
2.นายพิชัย พรหมสุวรรณ์ กรรมการ
3.นายสามารถ อักษรเนียม กรรมการ
4.นางสาวรัตติกานต์ คงศรี กรรมการ
5.นายผดุง ณ ชาตรี กรรมการ
6.นายเพียร รัตนพันธ์ กรรมการ
7.นายนันทพร ศิริรัตน์ กรรมการ
8.นางสาวรัชกร เจียงเตม กรรมการ
9.นางสาวชวนชม แซ่อ๋าง กรรมการ
10.นางจรรยา อุทัยโย กรรมการ
11.นายจานวน เพงจารัส กรรมการ
12.นายกฤตคุณ เปรมเมธา กรรมการ
ทรัพยากรธรรมชาติ
แหล่งนา บ้านห้วยลึก มีคลองชลประทานและคลองธรรมชาติ สาหรับใช้ในการเกษตร ราษฎรจะ
มีระบบประปาหมู่บ้านเพื่อการอุปโภค บริโภค
ดิน สภาพดินและคุณภาพเหมาะสาหรับการเกษตรการทานา พืชผัก และไม้ผล
การคมนาคม (การเดินทางไปยังหมู่บ้าน)
บ้านห้วยลึก ตังอยู่ทางทิศเหนือ ของที่ว่าการอาเภอควนเนียง ระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร
การคมนาคมระหว่างหมู่บ้านกับอาเภอมีถนนลาดยาง จานวน 2 เส้นทาง มีรถโดยสารประจาทางหมู่บ้าน
ถึงอาเภอ และยังมีรถตู้โดยสาร/รถสองแถว จากอาเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ไปยังอาเภอหาดใหญ่วิ่งผ่าน
หมู่บ้านนีด้วย
-4-

9. ศิลปวัฒนธรรม/ขนบธรรมเนียม
ประเพณีวัฒนธรรม ของชาวบ้านห้วยลึก เหมือนกับประเพณีของพี่น้องชาวใต้ทั่วไป ได้แก่
ทาบุญเดือน 5 ประเพณีบังสุกุลบัว นิยมทาเมื่อวันที่ทาบุญใหญ่ๆ เช่น เดือนสิบ วันสงกรานต์
ญาติๆ ลูกหลานจะทาบุญให้กับญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว
วันสงกรานต์ รดน้าผู้สูงอายุ ประเพณีวันว่าง ถือเป็นวันขึนปีใหม่ของคนไทย จะทากันในวันที่ 14-
15 ค่า และแรม 1 ค่า เดือน 5 เป็นวันสงกรานต์ และห้ามกระทาการใดๆ ในช่วงวันนันด้วย เพราะถือกันว่า
ว่างเทวดา เทวดาไม่รักษาชีวิต ทาให้มีอันตรายได้ง่าย และต้องทาความสะอาดบ้านเรือน สถานที่อยู่ อาศัย ไป
วัดทาบุญ รดนาตา ยาย หรือไปเยี่ยมญาติที่อยู่ห่างไกล

ประเพณีสารทเดือน 10 เป็นความเชื่อของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดภาคใต้โดยเฉพาะ ที่เชื่อว่า


บรรพบุรุษ อันได้แก่ ปู่ย่า ตายาย และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทาความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต
ต้องทนทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศส่วนกุศลให้แต่ละปีมายังชีพ ดังนันในวันแรม ๑ ค่า
เดือนสิบ คนบาปทังหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์เพื่อมาขอส่วนบุญจากลูกหลาน
ญาติพี่น้อง และจะกลับไปนรกในวันแรม ๑๕ ค่า เดือนสิบ ลูกหลานและผู้ยังมีชีวิตอยู่จึงนาอาหารไปทาบุญที่
วัด เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที แบ่งลักษณะงานเทศกาลนี
ออกเป็น 3 วันคือ วันแรม 13 ค่า เดือน 10 เป็นวันแรกหรือวันเริ่มเตรียมจัดหาซือสิ่งของเครื่องใช้ที่พระสงฆ์
จาเป็น ต้องใช้ รวมทังอาหาร จัดใส่ภาชนะ เช่น กระจาด ตะกร้า ชะลอม และอาหารแห้งอย่างหนึ่งที่จะขาด
เสียมิได้ หรือเป็นหัวใจของสารับ เพราะเป็นขนมประเพณี มีขนมที่ทาสืบมาแต่โบราณ ได้แก่
1.ขนมลา แป้งทอดโรยเป็นเส้นเลกๆ
2.ขนมพอง เป็นข้าวเหนียวทอดเมดพอง ส่วนมากทาเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
3.ขนมดีซา หรือเรียกขนมเจาะหู เป็นขนมปั้นรูปกลมแบน ทาเป็นรูตรงกลาง
4.ข้าวต้มสามเหลี่ยม
-5-

วันแรม 14 ค่า เดือน 10 เรียก “วันยกหมรับ” และถือเป็นวัน “ตังเปรต” ด้วย คือ ยกภาชนะสารับ
ต่างๆ ที่บรรจุสิ่งของทาบุญทุกอย่างไว้แล้วนาไปทาบุญถวายพระ ที่วัด จากนันนาสิ่งของที่ทาบุญออกไปทา
พิธี “ตังเปรต” การตังเปรตคือ การเอาอาหารทุกชนิด รวมทังดอกไม้ธูปเทียนเศษสตางค์ใส่กระทงไปวางบน
แผ่นกระดาน ทาพิธี กรวดนาแผ่ส่วนกุศลอุทิศไปถึงญาติที่ตาย อาหารที่นามา ตังเปรต นี หลังจากทาพิธีอุทิศ
ส่วนกุศลเสรจ จะมีการแย่งชิงสิ่งของอาหารที่ ตังเปรต นี เรียกว่า ชิงเปรต

ประเพณีชักพระ เป็นประเพณีท้องถิ่นในภาคใต้ เป็นประเพณีที่เกี่ยวข้องกับความศรัทธาในพระ


พุทธศาสนา และวิถีชีวิตชาวใต้ที่มีความผูกพันกับนา ประเพณีชักพระหรือ ลากพระจัดขึนในช่วงออกพรรษา
โดยเฉพาะในวันแรม 1 ค่า เดือน 11 ด้วยความเชื่อว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสดจกลับจากสวรรค์ชันดาวดึงส์ลง
มายังโลกมนุษย์ จึงมีการจัดงาน เพื่อแสดงความยินดี ประชาชนจึงอัญเชิญพระพุทธองค์ขึนประทับ บนบุษบก
ที่จัดเตรียมไว้ แล้วแห่แหนไปยังที่ประทับ พืนที่ใกล้แหล่งนาจะจัดขบวนเรือพระทางเรือ แต่ในพืนที่ที่ห่างไกล
แม่นา กจะจัดพิธีทางบก

ประเพณีลอยกระทง ในอดีตจะนาหยวกกล้วยมาทาเป็นเรือหรือแพบรรจุอาหารต่าง ๆ แล้วลอยไป


ตามลานา การลอยกระทงทางภาคใต้ไม่ได้กาหนดเป็นวันเทศกาลที่แน่นอน แต่จะลอยเมื่อมีโรคภัยไข้เจบ เป็น
การสะเดาะเคราะห์ การตกแต่งเรือหรือแพลอยเคราะห์จะใช้การแทงหยวกเป็นลวดลายสวยงาม ประดับด้วย
ธงทิว ในแพบรรจุดอกไม้ ธูปเทียน เงิน และเสบียงต่าง ๆ ตามความเชื่อของชาวบ้านในท้องถิ่น ปัจจุบันจะใช้
กระทงแบบภาคกลางที่นิยมประดิษฐ์จากใบตอง
-6-

ภูมิปัญญาท้องถิน่
ภูมิปัญญาท้องถิ่น บ้านห้วยลึก มีสภาพพืนที่เหมาะสมสาหรับการประกอบอาชีพการเกษตรคือ
การทานา เป็นหมู่บ้านที่ก่อตังขึนมาช้านานของตาบล มีภูมิปัญญาที่ใช้การดารงชีวิตอยู่มากมาย ได้แก่
การทาอาหาร/ขนมพืนบ้าน การใช้สมุนไพรรักษาโรค ด้านช่าง แพทย์แผนไทยสมุนไพร/หมอพืนบ้าน ดังนี
การทาขนมกะละแม นางสารวย เจียงเตม
ทาข้าวหลาม นางสารวย เจียงเตม
จักสาน นางผิน เจียงเตม
ช่างเฟอร์นิเจอร์ นายวุฒินันท์ พูนขวัญ
นวดแผนไทย นายเหก ขัติยสุนทร/ นางผิน เจียงเตม

สถานที่บริการ ได้แก่
1.วัดท่าข้าม เป็นวัดเก่าแก่ ตังอยู่ที่ บ้านห้วยลึก หมู่ที่ ๑ ตาบลห้วยลึก อาเภอควนเนียง
จังหวัดสงขลา ที่ดินของวัดมีจานวน ๗ ไร่ ๒ งาน ๘๐ ตาราง
- ทิศเหนือ ห่างจากวัดห้วยลึก (จ.พัทลุง) ประมาณ ๐.๕ กิโลเมตร
- ทิศใต้ ห่างจากวัดโพธิธรรมาราม ประมาณ ๓ กิโลเมตร
- ทิศตะวันออก ห่างจากวัดปากจ่า ประมาณ ๗ กิโลเมตร
- ทิศตะวันตก ห่างจากวัดหัวเตย (จ.พัทลุง) ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร
มีประชาชนให้การสนับสนุนทานุบารุงวัดประมาณ ๑,๕๐๐ คน วัดท่าข้าม ตังอยู่ในชุมชนใหญ่
มีประชาชนที่นับถือศาสนาพุทธและนับถือศาสนาอิสลาม ร่วมมือร่วมใจกันช่วยบารุงศาสนาให้
เจริญรุ่งเรือง โดยสภาพทั่วไปของวัดเป็นที่ราบลุ่ม อาณาเขตด้านทิศเหนือและด้านทิศตะวันตกติดต่อกับ
จังหวัดพัทลุง

2. โรงเรียนบ้านห้วยลึก เป็นสถานศึกษาของรัฐที่ให้บริการลูกหลานชาวบ้านห้วยลึก ในหมู่ที่


1,2 เปิดสอนตังแต่อนุบาลถึง ป.6
-7-

3. ศาลากลางบ้าน/ห้องสมุด/ศูนย์การเรียนรู้ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ศาลา เอนกประสงค์หมู่บ้าน ใช้เป็นที่


ดาเนินการของกลุ่มองค์กรต่างฯ เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โครงการ กข.คจ. สัจจะวันละบาท และ
กิจกรรมอื่นฯ ของหมู่บ้าน
กลุ่ม/องค์กร/แหล่งทุนในชุมชน
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต สมาชิก 115 คน เงินสัจจะสะสม บาท
กลุ่มสัจจะวันละบาท สมาชิก 225 คน ทุน 6,000 บาท/ปี
กองทุนหมู่บ้าน 1 ล้านบาท
กองทุนแม่ของแผ่นดิน
โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน 280,000 บาท
กลุ่มเลียงวัว สมาชิก 20 คน เงิน 200,000 บาท
.ผลิตภัณฑ์ในชุมชนและท้องถิ่น
ขนมงา สินค้าของชุมชน เป็นขนมทีอ่ ุดมไปด้วยโปรตีน ที่มีกรดอะมิโนที่จาเป็นต่อ พร้อมกันนันยังมี
สารบารุงประสาทด้วย และวิตามินอีเป็นตัวแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยต้านมะเรง

ขนมดู ขนมพืนบ้าน ชนิดหนึ่งทาจากแป้งข้าวเหนียว เป็นการแปรรูปวัตถุดิบในรูปแบบการถนอม


อาหาร สามารถเกบไว้รับประทานได้ประมาณ 1 สัปดาห์ หรือมากกว่านัน รสชาติขนมดูจะหอมหวาน มัน มีสี
นาตาลปนดา ขนมดูเป็นที่นิยมกันมากเป็นของที่ระลึกที่มีชื่อเสียงของบ้านห้วยลึก
ส่วนที่ 2 แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านสารสนเทศ
..........................................................
การวิเคราะห์ SWOT ANALYSIS

จุดแข็ง (Strengths : S) จุดอ่อน (Weaknesses : W)

1.พื้นที่เหมาะสาหรับทาการเกษตรเช่น ทานาได้ปีละ
2 ครั้ง 1.ขาดการอบรมให้ความรู ้ดา้ นอาชีพเสริ ม
2.มีคลองชลประทานไหลผ่าน 2.พื้นที่มีน้ าท่วมขังเป็ นเวลานาน
3.พื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสาหรับทาการเกษตร 3.ขาดความสามัคคี
4.ราษฎรมีการอนุ รักษ์ประเพณี วฒั นธรรมท้องถิ่น 4.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมีนอ้ ย
5.ราษฎรดารงชีวถิ ีชีวติ อยูอ่ ย่างพอเพียง
6.มีความเป็ นอยูแ่ บบระบบเครื อญาติ
7.มีภูมิปัญญาชาวบ้าน
8.มีการรวมกลุ่มองค์การหลายกลุ่ม
9.มีเงินทุนในการนามาประกอบอาชีพ
10.มีผนู ้ าที่เข้มแข็ง
12.มีการช่วยเหลือเวลามีงานต่างๆในหมู่บา้ น
13.มีสถานศึกษาและวัดอยูใ่ นหมู่บา้ น

1. โอกาส (Opportunities : O) 4. อุปสรรคหรือข้อจากัด (Threats: T)

- ความเสียสละของประชาชนมีน้อย (โดยเฉพาะใน
ระดับผู้นา)
-พืนที่ติดต่อกับจังหวัดพัทลุง - ขาดการวางแผนและการประสานแผนในระยะยาว -
ไม่ค่อยมีการประชุมภายในหมู่บ้าน (ในระดับแกนนา)
-9-

ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อกาหนดอัตลักษณ์ชุมชน และกาหนดตาแหน่งหมู่บ้าน(Positioning)


เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่เป็นที่ลุ่ม ของบ้านห้วยลึก ในอดีตชาวบ้านห้วยลึกประกอบอาชีพทานา
ปัจจุบันอาชีพทานาผลผลิตไม่ค่อยได้ผล ประกอบกับค่าใช้จ่ายในการลงทุนสู ง ในอนาคตของบ้านห้วยลึก
หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยลึก อาเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ควรมีอัตลักษณ์ของหมู่บ้านด้านการเกษตรกรรม
แบบผสมผสานเชิ ง คุ ณ ภาพ เช่ น การท าสวนปาล์ ม การท าไร่ น าสวนผสม ต่ อ จากนั นจึ ง พั ฒ นาไปสู่
เกษตรกรรมแบบเกษตรอินทรีย์ปลอดสารพิ ษ (ข้าวปลอดสาร) การกาหนดตาแหน่งการพัฒนาการแปรรูป
ผลผลิตทางการเกษตร ทังในระดับครัวเรือนและระดับชุมชนโดยที่สินค้าเกษตรที่จะแปรรูปต้องเป็นผลผลิตที่
ปลอดสารพิษ นอกจากนันควรที่จะพัฒนาในเรื่องการพัฒนาตลาดกลางสินค้าเกษตรเพื่อเพิ่มอานาจการต่อรอง
ระหว่างเกษตรกรกับพ่อค้าคนกลาง
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์การกาหนดการพัฒนาอาชีพของชุมชน (Market Positioning)
ความอุดมสมบูรณ์ของชุมชน
บ้านห้วยลึก ตังอยู่ในพืนที่ลุ่ม แต่สภาพพืนที่ยังสูงกว่าหมู่บ้านอื่นในตาบลห้วยลึก มีสภาพพืนที่
เหมาะสมสาหรับประกอบอาชีพทาการเกษตร มีคลองชลประทานและคลองธรรมชาติ 2 สาย
สภาพภูมิอากาศ
ฤดูฝน จะตกชุก เริ่มตังแต่เดือนพฤษภาคม – กันยายน
ฤดูร้อน อากาศร้อน แต่กลางคืนเยนสบายดี ตังแต่เดือน มีนาคม – เมษายน
บ้านห้วยลึก มีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ ลุ่ม สภาพภูมิอากาศ เป็นภูมิอากาศแบบมรสุม
เมืองร้อน จึงทาให้มีฝนตกตลอดปี พืนที่ลุ่มส่วนใหญ่ชาวบ้านใช้ทาการเกษตรทานา ปลูกปาล์มนามัน
การทานาไม่ค่อยได้ผลผลิต ประกอบกับต้นทุนการผลิตสูงไม่คุ้มทุน ปัจจุบันชาวบ้านห้วยลึก ได้สนใจหันมา
ปลูกปาล์มนามันกันมากขึน เพราะถือว่า มีราคาดีและตลาดต้องการ
ความรู้ ทักษะการอาชีพ
ชาวบ้านส่วนใหญ่มีความรู้ ความเข้าใจในการประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น สวนยางพารา สวน
ปาล์ มน ามัน การเลี ยงสั ตว์ จากประสบการณ์ที่ถูกถ่ายทอดจากคนรุ่นก่อน และประสบการณ์ในการ
ประกอบอาชีพของตัวเอง ผนวกกับความรู้ทางวิชาการ ที่ได้รับการส่งเสริมจากทางราชการ
ชาวบ้านห้วยลึก ประกอบอาชีพหลากหลาย โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่จะหันไปเป็นลูกจ้างโรงงาน เนื่องจาก
มีรายได้ที่แน่นอน บางครัวเรือนกเสริมรายได้ด้วยการ ปลูก ยางพารา ปาล์มนามัน เป็นการเพิ่มรายได้และ
ลดรายจ่ายให้กับครัวเรือน แต่ยังขาดการพัฒนา ผลผลิตยังไม่ค่อยจะดีเนื่องจากสภาพดิน
-10-

การวิเคราะห์ปัญหาของชุมชนและแนวทางแก้ไข
แนวทางแก้ไข
ปัญหา สาเหตุ ใช้กรอบปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็น
หลัก
1.ปัญหาด้านเศรษฐกิจ
1.1พืชผลการเกษตรราคาตกต่า - ผลผลิตออกพร้อมกัน - ให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันขายผลผลิต
1.3 ว่างงาน - ไม่มีที่ดินทากิน และให้มีตลาดกลาง
1.2 ต้นทุนการผลิต - มีราคาสูง -ประหยัดและอดออม
- ส่งเสริมให้หมู่บ้านเป็นเศรษฐกิจ
พอเพียง
2.ปัญหาด้านสังคม
2.1 ขาดการประสานหรือบูรณา -ไม่ประสานงานกัน/ยืดตัวบุคคล -สร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่
การร่วมกัน -มีความหลากหลายของกลุ่ม -สร้างจิตสานึก/แยกกลุ่มให้ชัดเจน
2.2 ความคิดเหนไม่ตรงกัน อาชีพ/ประเพณีวัฒนธรรมต่างกัน -ให้ความรู้ทากิจกรรมร่วมกัน
2.3 ขาดความรู้ด้านการเกษตร -เกษตรกรไม่มีความรู้ในการ -ส่งเสริมให้มีการอบรมการพัฒนาอาชีพ
พัฒนาอาชีพ

3.ปัญหาด้านโครงสร้างพืนฐาน -ครัวเรือนเพิ่มมากขึน -ขยายเขตไฟฟ้าให้ทั่วถึง


3.1 เขตไฟฟ้ายังไม่ทั่วถึง -ไม่มีระบบการจัดการที่ดี -สร้างฝายชะลอนาและวางระบบการ
3.2 ขาดแคลนนาในการทา
การเกษตรในฤดูแล้ง -พืนที่ถนนคับแคบและสัญจรไม่ -ปรับปรุงขยายถนนและก่อสร้างถนนให้
3.3 การคมนาคมไม่สะดวกและ สะดวก ครอบคลุม
ไม่ครอบคลุม

4.ปัญหาด้านสาธารณสุข -เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ - ส่งเสริมให้ อสม. จัดกิจกรรมในการ


ผู้ป่วยโรคเรือรัง ถูกสุขลักษณะ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ,อบรมเพิ่ม
ศักยภาพ อสม.
-ส่งเสริมการออกกาลังกาย

5.ปัญหาด้านการศึกษา ศาสนา -รายได้ของผู้ปกครองไม่เพียงพอ -ส่งเสริมอาชีพเสริมเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับ


วัฒนธรรม ขาดทุนการศึกษา กับรายจ่าย ผู้ปกครอง /จัดให้มีทุนการศึกษา กับเดก
ที่ครอบครัวมีรายได้น้อย

7.ปัญหาด้านยาเสพติด -ว่างงาน -อบรมให้ความรู้แก่เยาวชน


-ไม่เรียนหนังสือต่อในระดับสูง -ส่งเสริมครอบครัวอบอุ่น
-11-

การกาหนดอัตลักษณ์ชุมชน (Identity) การกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision)


และการกาหนดตาแหน่งการพัฒนาอาชีพของชุมชน (Market Positioning)
การกาหนดอัตลักษณ์ชุมชน (Identity)
บ้านห้วยลึก มีทรัพยากรและพืนที่เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม และตลอดจนการเลียง
สัตว์ การส่งเสริมให้เป็นหมู่บ้านเกษตรกรรมแบบยั่งยืนนัน จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาให้หมู่บ้าน ที่มีความ
เหมาะสมกับสภาพพืนที่ทมี่ ีความอุดมสมบูรณ์ในเรื่องของทรัพยากรและความต้องการของชุมชน
วิสัยทัศน์หมู่บ้าน (Vision)
วิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน เน้นการพัฒนาเป็นสาคัญ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างที่กระทาลงไปจะ บรรลุ
วัตถุประสงค์ และมีความมั่นคงต่อเนื่อง
การกาหนดตาแหน่งการพัฒนาอาชีพของชุมชน(Market Positioning)
ด้านเศรษฐกิจชุมชน
ควรมีการรวบรวมกลุ่มของราษฎรที่ประกอบอาชีพในหมู่บ้านเป็นกลุ่มอาชีพต่างๆ เพื่อสร้างอานาจ
การต่อรองด้านผลผลิตที่เกษตรกรผลิตได้และควรมีการประกันราคาพืชผลให้กับเกษตรกร นอกจากนันอาชีพที่
ส่งเสริมกับราษฎรความเป็นอาชีพที่ชุมชนต้องการสร้างจิตสานึกในการน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ใช้ในการดารงชีวิต
ด้านโครงสร้างพืนฐาน
เนื่องจากบ้านห้วยลึก มีสภาพเหมาะสมสาหรับประกอบอาชีพด้านการเกษตร ระบบสาธารณณูปโภค
แหล่งนา ถนนหนทาง ไฟฟ้า ประปา มีความสมบูรณ์ โดยเฉพาะถนน ส่วนใหญ่จะเป็นถนนคอนกรีตใน
หมู่บ้าน ถนนลูกรังมีไม่กี่สาย เป็นถนนซอย จึงไม่เป็นปัญหากับการใช้ชีวิตของชาวบ้าน
ด้านสุขภาพอนามัย
บ้านห้วยลึก มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านหัวปาบ ไว้สาหรับบริการราษฎรในหมู่บ้าน
หากเจบป่วยมากกจะเดินทางเข้าอาเภอ ไปโรงพยาบาลประจาอาเภอ กเป็นไปโดยสะดวกรวดเรวไม่ลาบาก
คนในชุมชนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการใช้ยาเบืองต้น เนื่องมาจากมี อาสาสมัครสาธารณสุขคอยให้
คาแนะนา แต่ยังคงมีกลุ่มผู้สูงอายุภายในหมู่บ้านยังขาดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการใช้ยา การบริโภค
อาหารที่ให้ประโยชน์แก่ร่างกาย
ด้านความเข้มแขงของชุมชน
เนื่องจากบ้านห้วยลึก ยังไม่ค่อยมีการรวมกลุ่มจึงทาให้ขาดการเรียนรู้ โดยชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
เป็นในลักษณะต่างคนต่างเรียนรู้ ขาดความเชื่อมโยงในมิติของความสัมพันธ์ขององค์ความรู้ที่ชุมชนมีอยู่
-12-

การดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ด้านการบริหารจัดการ
1. สถานที่ดาเนินการ/อุปกรณ์เทคโนโลยี
ศูนย์สารสนเทศบ้านห้วยลึก ตังอยู่ที่ ศาลาเอนกประสงค์บ้านห้วยลึก มีสารสนเทศที่ให้บริการดังนี
- หอกระจายข่าว
- แผนที่เดินดิน
- ข้อมูลหมู่บ้าน/ข้อมูลการพัฒนาหมู่บ้าน
- องค์ความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้าน
- ข้อมูล กชช.2ค
- ข้อมูล จปฐ.
- ข้อมูลอื่นฯ
2. คณะกรรมการขับเคลื่อนหมู่บ้านสารสนเทศ ระดับหมู่บ้าน มีรายชื่อดังต่อไปนี
1.นายอาทิตย์ เสนีย์ ประธานกรรมการ
2.นายพิชัย พรหมสุวรรณ์ กรรมการ
3.นายสามารถ อักษรเนียม กรรมการ
4.นางสาวรัตติกานต์ คงศรี กรรมการ
5.นายผดุง ณ ชาตรี กรรมการ
6.นายเพียร รัตนพันธ์ กรรมการ
7.นายนันทพร ศิริรัตน์ กรรมการ
8.นางสาวรัชกร เจียงเตม กรรมการ
9.นางสาวชวนชม แซ่อ๋าง กรรมการ
10.นางจรรยา อุทัยโย กรรมการ
11.นายจานวน เพงจารัส กรรมการ
12.นายกฤตคุณ เปรมเมธา กรรมการ
13.นางสหโสฬส เสนีย์ กรรมการ
โดยมีเจ้าหน้าดูแลศูนย์ฯ คือ
นางสาวรัชกร เจียงเตม
คณะกรรมการแบ่งหน้าที่ในการบริหารจัดการสารสนเทศชุมชนในแต่ละด้านดังนี
ด้านอาชีพ รับผิดชอบโดย นายพิชัย พรหมสุวรรณ์
ด้านการจัดการทุนชุมชน รับผิดชอบโดย นายเพียร รัตนพันธ์
ด้านการจัดการความเสี่ยงชุมชน รับผิดชอบโดย นายกฤตคุณ เปรมเมธา
ด้านการแก้ปัญหาความยากจน รับผิดชอบโดย นายสามารถ อักษรเนียม
ด้านการบริหารจัดการชุมชน รับผิดชอบโดย นายอาทิตย์ เสนีย์
-13-

ด้านกิจกรรมและการดาเนินงาน
การประเมินศักยภาพการพัฒนาหมู่บ้าน
1. ผลการจัดเกบข้อมูลความจาเป็นพืนฐาน (จปฐ.) ประจาปี 2561 จานวน 65 ครัวเรือน
(2) สรุปผลการจัดเกบข้อมูลความจาเป็นพืนฐาน (จปฐ.) ปี 2561 จานวน 5 หมวด 31 ตัวชีวัด
สรุปได้ดังนี
- ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 จานวน 23 ตัวชีวัด ได้แก่ ตัวชีวัดที่ 1,-5 7,- 21,22,23,27-29,
ไม่ ผ่านเกณฑ์ จานวน 7 ตัวชีวัด เรียงลาดับจากมากไปน้อย แสดงตัวชีวัดที่ตกเกณฑ์มากที่สุดไป
ถึงตกเกณฑ์น้อยที่สุด สรุปได้ดังนี
25. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ 154 คน 27 คน 17.53
21. คนอายุ 60 ปขึนไป มีอาชีพและรายได 43 คน 7 คน 16.28
24. คนในครัวเรือนไมดื่มสุรา 154 คน 21 คน 13.64
26. คนอายุ 6 ปขึนไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอยางนอยสัปดาหละ 1 ครัง 139 คน 3 คน 2.16
31. ครอบครัวมีความอบอุน 65 คร. 1 คร. 1.54
30. ครัวเรือนมีสวนรวมทากิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชนของชุมชน หรือทองถิ่น 65 คร. 1 คร. 1.54
6. คนอายุ 35 ปขึนไป ไดรับการตรวจสุขภาพประจาป 91 คน 1 คน 1.10
2. ผลการจัดเก็บข้อมูลพืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ประจาปี 2561
(1) บ้านห้ วยลึก ได้ จัดเกบข้อมูลพืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) ปี 2560 ผ่ านเกณฑ์
ตัวชีวัดเชิงปริมาณที่กาหนดไว้คือร้อยละ 100
(2) สภาพปัญหาจาแนกตามตัวชีวัด ปี 2560 แยกเป็นรายตัวชีวัด จานวน 7 ด้าน 33
ตัวชีวัด สรุป มีปัญหามากระดับ 1 ได้ดังนี
1. ด้านการติดตอสื่อสาร
2. ด้านการไดรับการศึกษา
3. ด้านการมีสวนรวมของชุมชน
4.ด้านความปลอดภัยจากภัยพิบัติ
-14-

๒.๑.การแปลงข้อมูล (Data) เป็นสารสนเทศเพื่อการพัฒนา (Information)


การค้นหาศักยภาพหมู่บ้าน ได้นาข้อมูลหมู่บ้าน(Data) มาแปลงเป็นสารสนเทศเพื่อการพัฒนา
หมู่บ้าน(Information) โดยการวิเคราะห์ข้อมูลในโปรแกรม CIA Program พบว่า หมู่บ้านมีคุณภาพชีวิต โดย
มีสภาพปัญหาแต่ละด้าน ดังนี

การวิเคราะห์คุณภาพชีวิต การจัดระดับสภาพปัญหาของหมู่บ้าน หมู่บ้านมีระดับความรุนแรงของปัญหา


ดังนี

ประเด็นปัญหา
ระดับปัญหา อันดับความรุนแรงของปัญหา
๑.ปัญหาความยากจน 1.56 ปัญหารุนแรงอันดับที่ ๑
๒.การบริหารจัดการชุมชน 1.57 ปัญหารุนแรงอันดับที่ ๒
๓.การจัดการทุนของชุมชน 1.๖4 ปัญหารุนแรงอันดับที่ ๓
๔.ปัญหาการจัดการความเสี่ยงชุมชน 1.88 ปัญหารุนแรงอันดับที่ ๔
๕.การพัฒนาด้านอาชีพ ๒.13 ปัญหารุนแรงอันดับที่ ๕
-15-

๒.๒. การจัดทาแผนที่สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
จากสภาพปัญหาของหมู่บ้าน ได้จัดทาแผนที่สารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับ
หมู่บ้าน โดยใช้ ไอคอนวางในแผนที่ดังนี

การขับเคลื่อนกระบวนการทางาน 5 กระบวนการ ประกอบด้วย


(1) สร้างความเข้าใจร่วมกัน
(๒) กาหนดความต้องการร่วมกัน
(๓) ร่วมกันจัดทาสารสนเทศ
(๔) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
(๕) เผยแพร่และบารุงรักษา
1. การสร้างความเข้าใจร่วมกัน
สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอควนเนียง ดาเนินการจัดเวทีสร้างความเข้าใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาบ้ านห้ วยลึ ก เป็ นหมู่ บ้ านสารสนเทศต้ นแบบเพื่อการพัฒนาคุ ณภาพชีวิต ระดับ อาเภอ เพื่อให้ ชุ มชน
ตระหนั กถึ งประโยชน์ ของการใช้ สารสนเทศชุ มชนเป็ นเครื่ องมื อช่ วยก าหนดทิ ศทางการแก้ ปั ญหาและการ
แผนพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยผ่านกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบการจัดการสารสนเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต
-16-

2. กาหนดความต้องการร่วมกัน
ส านั กงานพั ฒนาชุ มชนอ าเภอควนเนี ยง ดาเนิ นการ จัดเวที แลกเปลี่ ยนเรียนรู้ ร่ วมกั น ด้วยการ
วิเคราะห์ข้อมูลหมู่บ้าน กาหนดวิสัยทัศน์ของหมู่บ้าน วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศของคนในหมู่บ้าน
และออกแบบระบบสารสนเทศของหมู่บ้าน
โดยเริ่มต้นด้วยการนาข้อมูลที่จาเป็นของชุมชนมาวิเคราะห์ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่จัดเกบเป็นประจาและ
ข้อมูลบ่งชีสภาพปัญหาของชุมชน เช่น ข้อมูลความจาเป็นพืนฐาน (จปฐ.) ข้อมูลพืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค)
และข้อมูลอื่นๆ ที่มีในชุมชน โดยนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ในโปรแกรม Community Information Radar
Analysis (เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชน) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ตามเกณฑ์
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตทัง 5 ด้าน ได้แก่
๑) สารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอาชีพ
2) สารสนเทศเพื่อการจัดการทุนของชุมชน
3) สารสนเทศเพื่อการจัดการความเสี่ยงของชุมชน (ภูมิคุ้มกัน)
4) สารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาความยากจน
5) สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการชุมชน
จากการดาเนินการจัดเวทีประเมินสถานการณ์พัฒนาหมู่บ้าน ซึ่งชุมชนได้ร่วมกันแลกเปลี่ยน
เรียนรู้จากข้อมูลชุมชน ที่มีอยู่ เช่น จปฐ. กชช.2ค. และข้อมูลการจัดเกบโดยชุมชน เพื่อนาไปสู่กระบวนการ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลชุมชน นาไปสู่กระบวนการวางแผนชุมชน และกาหนดตาแหน่งการพัฒนาหมู่บ้าน
3. ร่วมกันจัดทาสารสนเทศ
จากการดาเนินการจัดเวทีกาหนดความต้องการร่วมกันของชุมชน และผลจาการผลการวิเคราะห์
ข้อมูล ทาง สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอควนเนียง ได้ดาเนินการร่วมกับหมู่บ้านห้วยลึก ดาเนินการ ดังนี
- รวบรวมข้อมูลสาคัญภายในหมู่บ้าน โดยเฉพาะข้อมูลด้านประเพณี วัฒนธรรม สถานที่ท่องเที่ยว
และภูมิปัญญาในชุมชน เพื่อเป็นการเกบรักษา เผยแพร่ องค์ความรู้ประเพณีวัฒนธรรมในชุมชนให้คงอยู่ และ
สามารถให้ผู้ที่สนใจมาศึกษาเพื่อนาความรู้ไปพัฒนาปรับใช้ หรือสร้างอาชีพให้ตนเองและครอบครัวได้
- จัดทาแผนที่เดินดิน แสดงสถานที่สาคัญของหมู่บ้าน
- จัดทาแผนที่บ้านห้วยลึก บน google map
4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
จากการกาหนดวิสัยทัศน์ที่ได้จากการจัดเวทีประชาคม ที่ต้องการเป็น “หมู่บ้าน พัฒนาแบบยั่งยืน
ด้วยสภาพพืนที่ ที่เหมาะกับการเกษตรและวิถีชีวิตแบบพอเพียง จึงมีหน่วยงานภายนอกหลายหน่วยงานเข้ามา
ให้การสนับสนุนการดาเนินงาน เช่น สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอควนเนียง ให้ความรู้ด้านปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานเกษตรอาเภอควนเนียง ให้ความรู้ในด้านอาชีพ กศน.อาเภอควนเนียง
เรื่องของการศึกษาของเยาวชนนอกระบบโรงเรียน สาธารณสุขอาเภอความรู้ด้านสุขภาพ องค์การบริหารส่วน
ตาบลห้วยลึก สนับสนุนงบประมาณ และหน่วยงานอื่นฯ

-17-

5. เผยแพร่และบารุงรักษา
มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี
1. ช่องทางการสื่อสารผ่าน Application Line
2. เวบไซต์ อบต.ห้วยลึก
3. บอร์ดและป้ายประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ และกิจกรรมของหมู่บ้าน
4. การประชุมในระดับหมู่บ้าน ตาบล อาเภอ
5. หอกระจายข่าว
6. การจัดแสดงผลงานของหมู่บ้านในงานต่างๆ
7. https://www.youtube.com/watch
วัด 8. Facbook วัดท่าข้าม อาเภอควนเนียง

ด้านการมีส่วนร่วม
ในการดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต นอกจากจะความร่วมมือกัน
ภายในหมู่บ้านแล้วยังมีหน่วยงานภาคีที่ให้การสนับสนุนการดาเนินงานอีกหลายหน่วยงาน ดังนี
1. สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอควนเนียง
2. สานักงานเกษตรอาเภอควนเนียง
3. สานักงานปกครองอาเภอควนเนียง
4. สาธารณสุขอาเภอควนเนียง/ รพ.สต.บ้านหัวปาบ สนับสนุนข้อมูลด้านสุขภาพ
5. กศน.อาเภอควนเนียง/กศน.ต.ห้วยลึก สนับสนุนข้อมูลด้านการศึกษา
6. อบต.ห้วยลึก สนับสนุนงบประมาณด้านต่างฯ
7. คณะกรรมการหมู่บ้านสนับสนุนข้อมูลชุมชน
๑. ศูนย
ด้านการให้บริการและการนาสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
การให้บริการ
1. มีการสืบค้นและจดบันทึกภูมิปัญญาในหมู่บ้าน โดยเกบรวบรวมเป็นขุมความรู้ไว้เป็นเอกสาร/ข้อมูล
2. ระบบอินเตอร์เนต ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลและความเคลื่อนไหวของหมู่บ้านห้วยลึก ได้จาก
เวบไซด์หมู่บ้าน เวบไซต์ อบต.ห้วยลึก . https://www.youtube.com/watch Facbook วัดท่าข้าม
อาเภอควนเนียง วัด
3. เอกสารต่างๆ ของหมู่บ้าน
-18-

การนาสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
การจัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศของหมู่บ้าน และได้เผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ ส่งผลให้ครัวเรือน
และคนในชุมชนได้รับประโยชน์ ดังนี
1. ประชาชนในหมู่บ้านสามารถเข้าถึงสารสนเทศต่างๆ ของหมู่บ้านได้สะดวก รวดเรว หลายช่องทาง
2. ชุมชนทราบปัญหาของชุมชน และไปใช้ในการวางแผนชุมชน แผนพัฒนาหมู่บ้านเพื่อแก้ปัญหา
และตอบสนองความต้องการของคนในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึน
3. หน่วยงานทังภาครัฐ และภาคเอกชน สามารถนาข้อมูลไปใช้ในการพัฒนาส่งเสริมและสนับสนุน
งบประมาณให้แก่หมู่บ้าน
4. คนในชุมชนรู้คุณค่าประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของตนเองและร่วมอนุรักษ์สืบทอดสู่คนรุ่น
หลัง เพื่อให้อัตลักษณ์เหล่านียังคงอยู่และมีการต่อยอดให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ได้ในอนาคต
5. การจัดทาข้อมูลสารสนเทศหมู่บ้านผ่านเวบไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อที่ผลกระทบมาก
ทาให้หมู่บ้านเป็นที่รับรู้และรู้จักของบุคคลภายนอกได้เป็นอย่างดี
6. เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร และบอกเล่าความเป็นไปของหมู่บ้านให้ญาติพี่น้องที่ไปทางาน
ต่างจังหวัดหรือต่างประเทศได้ทราบความเป็นไปของบ้านเกิด
แผนที่จะดาเนินการต่อไป
1. พัฒนาหมู่บ้านให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงแบบยั่งยืน
2. พัฒนาผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้าน เช่น พัฒนาชุมชนให้เป็นสินค้า OTOP และพัฒนาสินค้าเกษตรให้มี
มาตรฐานรับรอง
3. พัฒนาสื่อสารสนเทศของหมู่บ้านให้สามารถเข้าถึงบุคคลภายนอกอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
.....................................................................................
ส่วนที่ 3 ภาคผนวก
.
.
กิจกรรม way of life

เวทีไทยนิยม ยั่งยืน

You might also like