Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

ช่ ว ง วั ย ชี วิ ต

“ วั ยสู งอายุ ”
OUR TEAM ด.ญ.นภัสนันท์ สมศักดิ์
เลขที่ 20
ด.ญ.ปริมใจ จิระสุทัศน์
เลขที่ 23

น.ส.พิมพ์อาภา เอกชัยศิริ ด.ญ.มนัสนันท์ จินา ด.ญ.หยกนภัส สถิต


เลขที่ 24 เลขที่ 26 มโนธรรม เลขที่ 30
“ วั ยสู งอายุ ”
เป็ นช่วงรอยต่อของชีวิต ซึ่ งเปลี่ยนจากวัยกลางคน เข้าสู่
วัยสู งอายุ ทําให้ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆมาก มาย
ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสั งคม การเปลี่ยนแปลงต่างๆเหล่า
นี้ เป็ นไปในลักษณะเสื่ อมถอย มีข้อจํากัดในการทําหน้ าที่ของ
ร่างกายในด้านใดด้านหนึ่ งหรือหลายๆด้าน ทําให้เกิดปั ญหา
ทางด้านจิตใจที่อาจส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพกาย และการดํา
เนิ น ชีวิตประจําวันต่อไปได้

ดังนั้ น การเรียนรู้และทําความเข้าใจ จึงมีความสําคัญในการ


เตรียมความพร้อม ให้สามารถปรับตัวและยอมรับการเปลี่ยน
แปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ ครอบครัวและผู้ดูแลผู้สู งอายุ
ยังจําเป็ น ต้องเข้าใจความเป็ นจริงที่เกิดขึ้นกับผู้สู งอายุ และ 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้าน ร่างกาย
หาแนวทาง ช่วยเหลือด้วยความเข้าใจ เพื่อช่วยให้ผู้สู งอายุมี
2. การเปลี่ยนแปลงทางด้าน จิตใจและอารมณ์
สุ ขภาพจิตที่ดี สามารถดํารงชีวิตในวัยสู งอายุ
ได้อย่างมีความสุ ข 3. การเปลี่ยนแปลงทางด้าน สังคม

4. การเปลี่ยนแปลงทางด้าน สติปั ญญา


การเปลี่ยนแปลงด้าน

“ ร่ า ง ก า ย ”

เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในทางที่เสื่อมลงมากกว่า
การสร้าง ดังนั้ นเมื่อระบบต่างๆในร่างกายทำงานได้ด้อยประสิทธิภาพลง ส่ง
ผลให้ร่างกายเสื่อมถอยลง และนอกจากความชราแล้วการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้
อาจได้อิทธิพลจากปั จจัยอื่นๆ เช่น กรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม ลักษณะการกิน ฯลฯ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของผู้สูงอายุ จะมีความ กระดูกและกล้ามเนื้ อ
แตกต่างกันขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล ยกตัวอย่าง เช่น กระดูกผุกร่อนทำให้หักได้ง่าย
กล้ามเนื้ อลีบลง
อวัยวะภายนอก มีไขมันแทรกในกล้ามเนื้ อ

ผมบาง เปลี่ยนเป็ นสีเทาหรือขาว


หลังโก่ง เคลื่อนไหวร่างกายได้ช้าลง การรับกลิ่นบกพร่อง
ผิวบาง แห้ง เหี่ยวย่น
ทำให้ไม่ได้กลิ่นอาหาร
เล็บมือ เล้บเท้าแห้ง เปราะ ฉีกง่าย
บางคนมีกำเดาไหลเพราะความดันโลหิตสูง
เป็ นแผลได้ง่าย

การมองเห็น ระบบต่างๆเสื่ อมถอยลง


หนั งตาตก ระบบประสาทเซลล์ ระบบทางเดินอาหาร
การตอบสนองต่อแสงช้าลง ระบบหมุนเวียนโลหิต ทำงานได้ลดลง
ปรับตัวต่อความมืดได้ไม่ดี จึงทำให้เกิดโรคได้ง่าย
ความสามารถในการแยกสีลดลง

การได้ยิน
เกิดภาวะหูตึง การได้ยินลดลง

การพูด+การบดเคี้ยว
ไม่ค่อยมีพลังในการเปล่งเสียง
การบดเคี้ยว ลำบากขึ้น เพราะเหงือกร่น
“อาการซึมเศร้า หงุดหงิด ขี้ระแวง
วิตกกังวล โกรธง่าย ขี้น้อยใจ เอาแต่ใจ”
การเปลี่ยนแปลงทางด้าน
เกิดขึ้นจาก ความเสื่อมของสมองและระดับฮอร์โมน

“ จิตใจและอารมณ์ ” ในร่างกายไม่สมดุลเหมือนเดิม

เกิดขึ้นจาก การเผชิญกับความสูญเสียและการพลัด
พรากของคู่ชีวิต ญาติสนิทหรือเพื่อนฝูง เกิดความ
เหงา ขาดที่พึ่งทางใจ

เกิดขึ้นจาก รู้ึสึกคุณค่าของตนเองลดลงเนื่ องจากต้อง


พึ่งพาบุตรหลานเรื่องค่าใช้จ่าย ค่ารักษาพยาบาล
รู้สึกว่าตนเองเป็ นภาระของผู้อื่น

เกิดจากการเปลี่ยนแปลงบทบาททางสังคม เช่น การ


เกษียณอายุ การสูญเสียบทบาทในการเป็ นหัวหน้า
ครอบครัว อาจเกิดความรู้สึกว่าคุณค่า ในตนเอง
ลดลง
คำว่า “สังคม” ในวัยผู้สูงอายุส่วนมาก คือ สังคม
ครอบครัว หรือ เพื่อนในช่วงวัยเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงทางด้าน การติดต่อกันลดลง เนื่ องจาก ปั ญหาสุขภาพ การ
ตายจากกัน หรืออยู่กับครอบครัว เป็ นต้น
“ สั งคม ” มีกิจกรรมหลังเกษียณ เช่น การเลี้ยงดูบุตรหลาน
การเข้าวัด การเข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุ เป็ นต้น

จาก Erikson’s Theory of Psychosocial


Development ของ Erik Erikson ซึ่งแบ่งเป็ น 8
ระยะ ผู้สูงอายุอยู่ในสองช่วง ได้แก่

ช่วงที่ 7 Generativity vs Stagnation : ช่วง 40-


65 ปี ชอบดูแลเอาใจใส่ผู้อื่น โดยเฉพาะคนรุ่น
หลังผ่านการสั่งสอนหรือการกระทำ ถ้าทำได้จะ
รู้สึกประสบความสำเร็จ แต่ถ้าไม่ได้จะหมกหมุ่น
ยึดแต่ความคิดของตัวเอง

ช่วงที่ 8 Integrity vs Despair : ช่วง 65++ ปี


ชอบคิดทบทวนชีวิตที่ผ่านมา ถ้าประสบความ
สำเร็จก็จะเกิดความมั่นคงและยอมรับความตาย
โดยปราศจากความกลัว แต่ถ้าผิดหวัง ก็จะเกิด
ความสิ้นหวัง หรือรู้สึกผิด ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรค
ซึมเศร้าตามมาในภายหลัง
การเปลี่ยนแปลงด้าน

“สติปั ญญาของผู้สูงอายุ”
เนื่ องจากเซลล์สมองจะน้ อยลง ขาดประสิทธิภาพ
เนื่ องจากเลือดไหลเวียนสมองน้ อยลงและภาวะขาดอาหาร
และวิตามินบางชนิ ด ผู้สูงอายุจะมีความจำเสื่ อม หลงลืม
นอนไม่หลับ ภาวะสมองเสื่ อมอาจนำไปสู่ปั ญหาอื่น ๆ เช่น
การพลัดหลง, อุบัติเหตุ, การขาดอาหาร, การติดเชื้อ ฯลฯ
รวมถึงอาจชอบคิดเรื่องเดิมๆ ซ้ำซาก ลังเล หวาดระแวง
หมกมุ่น เรื่องของตัวเองทั้งเรื่องในอดีต ปั จจุบัน อนาคต
สนใจเฉพาะเรื่องตนเองมากกว่าเรื่องผู้อื่น และส่วนใหญ่
จะกังวลว่าลูกหลานจะทอดทิ้ง
“ ขอบคุณค่ ะ ”
T H A N K Y O U

You might also like