Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

รายงานเรื่อง CASEกรณีศึกษาที่ 1

จัดทาโดดย

ั ข� ธีระตานนท� เลขที่ 92
นาย อนุ รก

เสนอ
อาจารย์ ฮัชวานี ดารากัย
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการช่วยเหลือสุขภาพบุคคลที่บ้านและในชุมชน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช
คานา
รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการช่วยเหลือสุขภาพบุคคลที่บ้านและในชุมชน
เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่องราวของการวิเคราะห์ การประเมินBMI สัณญาณชีพ ADL สรุปปัญหา
อาการที่ผิดปกติที่พบจากกรณีศึกษา โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ ตารา หนังสือ วารสาร ห้องสมุด และ
แหล่งความรู้จากเว็บต่างๆ โดยรายงานเล่มนี้ มีเนื้อหาความหมายเกี่ยวกับโรคทางสมองของผู้สูงอายุ ชนิดของ
โรคทางสมองอัลไซเมอร์ อาการและการรักษารวมถึงการช่วยเหลือดูแล
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน หากผิดพลาดประการใดผู้จัดทาขอนอบรับไว้
และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดทา
02/พ.ค./67
สารบัญ
บทที่ หน้า
คาชี้แจง CASEที1่ 1
ประเมินร่างกายขั้นเบื้องต้น 2
สัญญาณชีพ หรือ ชีวสัญญาณ (Vital signs) 3
สัญญาณชีพพื้นฐาน 4
แบบประเมินคัดกรอง ADL 5
ส่วนที่ 1 เปลี่ยนแปลงการกินอาหาร 6
ส่วนที่ 2 มีกิจกรรมทางกายให้มากขึ้น 7
ส่วนที่ 3 มองหาแรงสนับสนุนจากภายนอก 8
1

คาชี้แจง: ให้นักศึกษาจับกลุ่ม 11 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน 10 กลุ่ม และกลุ่มละ 9 คน 1 กลุ่ม จากนั้นให้


สมาชิก ในกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ และตอบคาถามกรณีศึกษา ดังนี้
1. ประเมินร่างกายขั้นเบื้องต้น (BMI V/S ADL พร้อมแปลผล และอาการผิดปกติที่พบจากกรณีศึกษา)
2. สรุปปัญหาที่พบ
3. วางแผนการดูแลผู้ป่วยรายนี้/ การให้คาแนะนาแก่กรณีศึกษา
4. อ้างอิง
Case 1 กลุ่ม 1-3
ชาย อายุ 74 ปี รอบเอว 100 cm. น้าหนัก 92 kg. สูง 165 cm. V/S: BP 128/89 mmHg, PR 80
bpm, RR 20 bpm, BT 36.8 °C สามารถลุกจากเตียงได้ เดินช้าๆ โดยใช้ walker ช่วย มีอาการมือสั่น
รับประทานอาหารได้ แต่ใช้เวลานานในการรับประทานอาหารแต่ละมื้อ ล้างหน้า แปรงฟัน เข้าห้องน้าและ
ขับถ่ายเองได้ มีลูกคอยช่วยอาบน้าและแต่งตัวให้ มีอาการปัสสาวะราด วันละ 1-2 ครั้ง อุจจาระราด สัปดาห์
ละ 1-2 ครั้ง โดยไม่รู้ว่าตนเองอุจจาระ ด้านความจาอยู่ที่บ้ าน แต่จาไม่ได้ว่ารับประทานอาหารและยาหรือยัง
ไม่ทราบวัน เดือน ปี จาได้เฉพาะคนในบ้าน ญาติที่นาน ๆ พบกันจะเรียกชื่อไม่ได้
2

ประเมินร่างกายขั้นเบื้องต้น
(BMI V/S ADL พร้อมแปลผล และอาการผิดปกติที่พบจากกรณีศึกษา)
ดัชนีมวลกาย (Body mass index : BMI) = น้าหนักตัวเป็นกิโลกรัม
ส่วนสูงเป็นเมตร2
= 92 .
(1.65 x 1.65)2
= 33.79 กก./ม.

คุณ ค่า BMI ความหมาย


ผอมเกินไป - น้าหนักน้อยกว่าปกติ ซึ่งก็ไม่ค่อยดีนัก หากคุณมีน้าหนักน้อยเกินไปอาจ
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้รับพลังงานไม่เพียงพอ ส่งผลให้ร่างกาย
อ่อนเพลียง่าย หรือเป็นโรคขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารให้เพียงพอครบ 5
หมู่ในสัดส่วนที่พอเหมาะและการออกกาลังกายเพื่อเสริมสร้างกล้ามเนื้อ สามารถช่วย
น้อยกว่า 18.5 เพิ่มค่า BMI ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
น้าหนักปกติ น้าหนักเหมาะสม - เป็นน้าหนักที่เหมาะสมสาหรับคนไทยคือค่า BMI
ระหว่าง 18.5-25 จัดอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ห่างไกลโรคที่เกิดจากความอ้วน และมีความเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคต่างๆน้อยที่สุด ควรพยายามรักษาระดับค่า BMI ให้อยู่ในระดับนี้ให้
18.5 - 25.0 นานที่สุด และควรตรวจสุขภาพทุกปี
เริ่มอ้วน - เป็นน้าหนักที่เริ่มอ้วนในระดับหนึ่ง ถึงแม้จะไม่ถึงเกณฑ์ที่ถือว่าอ้วนมาก
แต่ก็เริ่มมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่มากับความอ้วนได้เช่นกัน ทั้งโรคเบาหวาน
มากกว่า 25.0 - และความดันโลหิตสูง ควรปรับพฤติกรรมการทานอาหาร เริ่มออกกาลังกาย และ
30.0 ตรวจสุขภาพ
อ้วน - เป็นน้าหนักที่ค่อนข้างอันตราย เสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายแรงที่แฝงมากับความ
มากกว่า 30.0 - อ้วน หากค่า BMI อยู่ในระดับนี้ จะต้องปรับพฤติกรรมการทานอาหาร ต้องออกกาลัง
35.0 กาย ควรไปตรวจสุขภาพและปรึกษาแพทย์
อ้วนมากผิดปกติ - เป็นน้าหนักที่อันตรายมากแล้ว มีความเสี่ยงสูงมากต่อการเกิดโรค
ร้ายแรงที่แฝงมากับความอ้วน ทั้งโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ควรไปตรวจ
มากกว่า 35.0 สุขภาพและปรึกษาแพทย์ทันทีเพื่อหาวิธีแก้ไข

แปลผลว่า
33.79 กก./ม.อ้วน เป็นน้าหนักที่ค่อนข้างอันตราย เสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายแรงที่แฝงมากับความอ้วน
หากค่า BMI อยู่ในระดับนี้ จะต้องปรับพฤติกรรมการทานอาหาร ต้องออกกาลังกาย ควรไปตรวจสุขภาพ
และปรึกษาแพทย์
3

สัญญาณชีพ หรือ ชีวสัญญาณ (Vital signs)


เป็นอาการที่แสดงสัญญาณถึงการมีชีวิตของมนุษย์ เป็นกระบวนการที่ดาเนินไปเพื่อให้ร่างกายมีชีวิต
อยู่เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงความปกติของชีวิต
สัญญาณชีพหลัก มี 4 อย่าง ได้แก่
1. อุณหภูมิร่างกาย (Body Temperature ย่อว่า T)
2. ความดันโลหิต (Blood pressure ย่อว่า BP)
3. อัตราการหายใจ (Respiratory rate ย่อว่า RR หรือ R)
4. ชีพจร (อัตราการเต้นของหัวใจ หรือ Pulse หรือ Pulse rate ย่อว่า P)

ในบางสถานการณ์อาจมีค่าอื่นๆ ที่นามาประเมินร่วมกับสัญญาณชีพ แล้วเรียกว่าเป็น "สัญญาณชีพที่


5" หรือ "สัญญาณชีพที่ 6" ได้ ค่าอื่นๆ เหล่านี้ เช่น ระดับความเจ็บปวด ระดับน้าตาลในเลือด ความอิ่มตัว
ออกซิเจน เป็ น ต้น ค่าสั ญญาณชีพพื้น ฐานเหล่ านี้ แตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล ขึ้นกับ อายุ เพศ สภาพ
ร่างกาย สภาพแวดล้ อม ห้วงเวลาขณะที่ตรวจ การตรวจวัดค่าเหล่ านี้ ในเบื้องต้น ก็คือการตรวจสอบว่า
ร่างกายมีความผิดปกติไปหรือไม่ นั่นเอง ในภาวะปกติสัญญาณชีพอาจเปลี่ยนแปลงได้บ้าง แต่หากเมื่อใดพบ
ความผิดปกติมากขึ้น นั่นหมายถึงร่างกายอาจมีปัญหาสุขภาพได้ ลักษณะเบื้องต้นที่สัญญาณชีพสื่อออกมาว่า
ร่างกายผิดปกติ เช่น ระดับออกซิเจนไม่เพียงพอ ระดับต่า ร่างกายเสียน้ามาก ร่างกายมีอุณหภูมิสูงหรือต่า
เกิน การติดเชื้อโรค อัตราการเต้นหัวใจเร็วหรือช้าผิดปกติ เป็นต้น

สัญญาณชีพพื้นฐาน

1. อุณหภูมิร่างกาย (Body Temperature ย่อว่า T)


อุณหภูมิร่างกายเป็นตัววัดความสมดุลการสร้างความร้อนกับการสูญเสียความร้อน ของร่างกาย
มี 2 ชนิดคือ อุณหภูมิในร่างกาย วัดได้จากทางปาก หรือ ทวารหนัก และ อุณภูมิผิว วัดทางรักแร้หรือ
หน้าผากอุณหภูมิร่างกายมนุษย์ ปกติและคงที่อยู่ที่ 36-37 องศาเซลเซียส อาจแตกต่างกันได้ ตามสภาพ
ร่างกาย วัย เพศ ระดับฮอรโมน การออกกาลังการ อาหารที่กินสภาวะไม่ปกติ ถ้าอุณหภูมิสูงเกิน 37.5 คือ
การมีไข้ (Fever, Hyperthermia) เป็นไข้ต่า หากสูงระดับ 39.5-40 เรียกไข้สูง เกิน 40.5 เรียกว่าไข้สูงมาก
อันตรายมาก ในเด็กอาจชัก ในผู้ใหญ่ อาจเพ้อ หลอนได้ หากสูงถึง 43-45 องศา อาจเสียชีวิตได้ใน 2-3
ชั่วโมง อุณหภูมิต่า กว่า 34-35 องศาฯ ถือว่าผิดปกติ การไหลเวียนเลือดจะช้าลงหรือหยุดทางาน เป็นภาวะ
อันตรายเช่นกัน

2. ความดันโดลหิต (Blood pressure ย่อว่า BP)


ความดันโลหิต คือแรงดันที่หัวใจต้องทางานในการสูบฉีดโลหิต หน่วยเป็นมิลลิเมตรปรอท (มม.ปรอท
หรือ mm.Hg)ค่าความดันมี 2 ค่า คือ 1) จังหวะที่หัวใจบีบตัว และ 2) จังหวะที่หัวใจคลายตัว ค่าความดัน
ขณะหัวใจบีบตัวจะสูงกว่าขณะคลายตัว ค่าความดันโลหิตปกติ อยู่ที่ 120/80 มิลลิเมตรปรอท แต่ระดับที่
แสดงว่าสุขภาพดี คือ 110/70
4

3. อัตราการหายใจ (Respiratory rate ย่อว่า RR หรือ R)


คือกระบวนการแลกเปลี่ยน ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ร่างกายหายใจนาออกซิเจนเข้าและ
ขับคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป การหายใจมี 2 แบบคือ หายใจภายนอก คือระบบแลกเปลี่ยนอากาศระหว่าง
ปอดกับอากาศภายนอก และ หายใจภายใน คือการแลกเปลี่ยนออก ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
ภายในระหว่างเซลล์ต่างๆในร่างกายกับเส้นเลือด
อัตราการหายใจ ปกติในผู้ใหญ่ อยู่ที่ 20-26 ครั้ง/นาที เด็กวัยรุ่น16–25 ครั้งต่อนาที เด็กแรกเกิด 30-50 ครั้ง/
นาที ผู้ใหญ่ขณะออกกาลังกาย 35–45 ครั้งต่อนาที
4. ชีพจร (อัตราการเต้นของหัวใจ หรือ Pulse หรือ Pulse rate ย่อว่า P)
คืออัตราการเต้นของหัวใจ วัดจากการหดและขยายตัวของผนังเส้นเลือด ที่เกิดจากการบีบตัวของ
หัวใจ จังหวะการเต้นของเส้นเลือดก็คือจังหวะการเต้นของหัวใจ การตรวจชีพจร ทั่วไปจะคลาที่ตาแหน่งเส้น
เลือดแดง บริเวณข้อมือด้านนอก จะพบง่ายที่สุด ตาแหน่งอื่นๆ ก็คลาได้เช่นกัน อาทิ ที่คาง ขมับ ขาหนีบ
อัตราปกติคือ 70-80 ครั้ง/นาที ในผู้ใหญ่ 90-130 ครั้ง/นาที ในเด็ก
ผู้ใหญ่หากเกิน 100 ครั้ง/นาที หรือ ต่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ถือว่าผิดปกติ
ชีพจรจะเพิ่มขึ้น 7-10 ครั้ง/นาที เมื่ออุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น 0.56 องศา

แปลผลว่า BP 128/89 mmHg. PR 80 bpm. RR 20 bpm. BT 36.8 °C ปกติ


5

แบบประเมินคัดกรอง ADL

แปลผลว่า

ประเมินได้ 8 คะแนน จัดอยู่ในกลุ่มติดบ้าน ภาวะพึ่งพาปานกลาง

สรุปปัญหาของผู้ป่วยที่พบ
ผู้ป่วยมีปัญหาด้านเคลื่อนไหว ต้องใช้ Walker มีอาการมือสั่น ย หา
ทางด้านระบบประสาท จาไม่ได้ว่ารับประทานอาหารและยาหรือยัง ไม่ทราบวัน เดือน ปี จาได้เฉพาะคนใน
บ้าน ญาติที่นาน ๆ พบกันจะเรียกชื่อไม่ได้ ผู้ป่วยมีปัญหาด้านระบบขับถ่าย
6

แนะนาว่า
ส่วนที่ 1 เปลี่ยนแปลงการกินอาหาร
1.กินอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
ถ้าคุณต้องการลดค่าดัชนีมวลกาย ให้เปลี่ยนอาหารที่กินดู อาหารแย่ๆ เป็นสาเหตุของการมีดัชนีมวล
กายสูงได้ มองหาอาหารที่สมดุลและดีต่อสุขภาพมากขึ้น
 เพิ่มผักกับผลไม้ที่ดีต่อสุขภาพเข้าไปในอาหารที่จะกิน อย่างน้อยควรมีผักผลไม้ห้าส่วนต่อวันเพื่อให้ดี
ต่อสุขภาพ ให้แน่ใจว่ามีผักใบสีเขียวอยู่ในอาหาร เช่น ผักโขม ผักกาดหอม คะน้า และอื่นๆ
 อาหารที่กินควรมีคาร์โบไฮเดรตประกอบอยู่ด้วย อย่างไรก็ดี แป้งและคาร์บที่ผ่านการแปรรู ปจะทาให้
น้าหนักตัวเพิ่ม ให้กินขนมปังโฮลวีท ข้าวกล้อง และอาหารโฮลเกรนอื่นๆ ถ้าคุณจะกินมันฝรั่ง ให้เลือก
มันหวานซึ่งมีสารอาหารมากกว่า กินมันฝรั่งทั้งเปลือกเพื่อเพิ่มไฟเบอร์
 นอกเหนือจากโปรตีนในรูปแบบของเนื้อวัว ควรดื่มนมและผลิตภัณฑ์จากนมแบบพร่องมันเนยแค่
พอประมาณ ปริมาณแคลอรี่ควรมาจากเนื้อสัตว์และคาร์โบไฮเดรตที่ดีต่อสุขภาพ เลือกกินเนื้อไขมัน
ต่าอย่างเนื้อไก่หรือปลา มากกว่าเนื้อที่หนักกว่าและไขมันเยอะกว่าอย่างเนื้อวัวหรือหมู
2.ลดน้าตาล
น้าตาลเป็นตัวการสาคัญในการทาให้ดัชนีมวลกายสูง คนทั่วไปบริโภคน้าตาลสูงกว่าคาแนะนา คุณไม่ควร
กินน้าตาลมากเกิน 12 ช้อนชาต่อวัน
 เพิ่มความระมัดระวังเวลากินอาหารเช้า ซีเรียลจานวนมากผสมน้าตาลสูง ถ้าชอบกินซีเรียลจริงให้
ตรวจดูฉลากว่าในหนึ่งหน่วยบริโภคมีน้าตาลผสมอยู่แค่ไหน ลองคิดกินโอ๊ตมีลหรือโยเกิร์ตธรรมดาที่
เติมผลไม้ลงไปแทน
 ระวังอาหารที่ผสมน้าตาล อาหารหลายชนิด เช่น ซุปกระป๋องและพาสต้าจะผสมน้าตาลสูง ให้อ่าน
ฉลากอาหารทุกครั้งตอนซื้อ เลือกอาหารที่มีน้าตาลน้อยหรือปลอดน้าตาล
 หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มผสมน้าตาล ลองเปลี่ยนจากน้าอัดลมธรรมดามาเป็นแบบไดเอท อย่าเติมน้าตาลลง
ไปในกาแฟตอนเช้า น้าผลไม้ที่มักถูกมองว่าดีต่อสุขภาพก็มักจะมีน้าตาลสูงและคุณค่าทางสารอาหาร
ต่ากว่าแค่กินผลไม้
3.ระวังคาร์โดบไฮเดรตว่างเปล่า
คาร์บว่างเปล่าแย่ไม่แพ้น้าตาลในเรื่องการทาให้อ้วน อาหารที่มีส่วนผสมของแป้งขาวหรือขัดสีมีคุณค่าทาง
สารอาหารน้อยและทาให้หิวบ่อย อาหารแปรรูปมักจะมีคาร์บว่างเปล่าสูงและยังมีระดับเกลือกับน้าตาลใน
ระดับที่ไม่ดีต่อสุขภาพ เลือกอาหารโฮลเกรนหรือโฮลวีทแทนอาหารแปรรูปหรือผ่านการขัดสี
4.เลี่ยงการไดเอทแบบทางลัดหรือคุยโดม้ว่าลดได้ทันตา
การไดเอทแบบนี้มักให้สัญญาว่าจะลดน้าหนักลงได้ในเวลาอันรวดเร็ว พึงจาไว้ว่าการไดเอทแบบคุยโม้นี้
อาจทาได้ในระยะสั้นแต่ไม่ได้ผลในระยะยาวเท่าการไดเอทแบบถูกต้องและการเปลี่ยนวิถีชีวิต เอาเข้าจริงได
เอทคุยโม้พวกนี้บางตัวยังส่งผลเสียในระยะยาวยิ่งกว่าด้วยซ้า เพราะกฎเกณฑ์การไดเอทนั้นยากจะทาตามได้
เป็นเวลายาวต่อเนื่อง ควรมุ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจะดีกว่า จาไว้ว่าอัตราการลดน้าหนักที่ดีต่อ
สุขภาพนั้นอยู่ที่สัปดาห์ละครึ่งถึงหนึ่งกิโลกรัมไดเอทไหนที่สัญญาว่าจะลดได้มากกว่านี้อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพ
หรือไม่ก็คุยโม้โกหกไปอย่างนั้น
7

ส่วนที่ 2 มีกิจกรรมทางกายให้มากขึ้น
1.ออกกาลังกาย.
ถ้าคุณต้องการเปลี่ยนแปลงค่าดัชนีมวลกาย คุณจาต้องเพิ่มการออกกาลังกายเข้าไปในกิจวัตร
ประจาวัน ลองเริ่มการออกกาลังกายให้เป็นกิจวัตรโดยตั้งเป้าเพื่อลดดัชนีมวลกายลง
 ถ้าคุณมีน้าหนักตัวเกินเกณฑ์หรืออ้วน แนะนาให้ออกกาลังกายในระดับปานกลางรวม 150 นาทีต่อ
สัปดาห์ (นั่นคือออกกาลังกาย 30-นาทีสัปดาห์ละห้าครั้ง) มันอาจอยู่ในรูปแบบของการเดิน จ๊อกกิ้ง
เบาๆ หรือเต้นแอโรบิกเบาๆ ถ้าคุณไม่แน่ใจว่าจะเริ่มยังไงดี ลองเข้ายิมและทดลองเล่นอุปกรณ์
หลายๆ แบบดู[9]
 ถ้าเวลา 150 นาทีนั้นดูหนักหนาเกินไป แต่เริ่มขยับตัวเป็นเวลาสั้นๆ 10–15 นาทีเพื่อเตรียมร่างกาย
ไปให้ถูกทาง การขยับร่างกายเพิ่มขึ้นถือเป็นการเริ่มต้นที่ดียิ่งกว่าการอยู่เฉยๆ ถ้าคุณรู้สึกหวั่นกลัว
บรรยากาศในยิม ก็ให้ใช้วิดีโอการออกกาลังกายมาเปิดในบ้านเองก็ได้
 หากต้องการจะลดน้าหนักได้มากและเร็วขึ้น ตั้งเป้าไว้ที่เวลารวม 300 นาทีต่อสัปดาห์ จาไว้ว่าเมื่อคุณ
เริ่มคุ้นกับการออกกาลังกายที่หนักขึ้นและทาได้นานขึ้นแล้ว คุณอาจเพิ่มปริมาณเวลารวมที่จะออก
กาลังกายในแต่ละสัปดาห์ขึ้นได้[10]

2,เคลื่อนไหวตลอดทั้งวัน.
การออกกาลังกายเป็นประจาเป็นสิ่งที่ดี แต่อย่าคิดว่าการได้ไปยิมหนึ่ง ชั่วโมงสัปดาห์ละสองสามหน
จะทาให้คุณสามารถนั่งอืดในชีวิตประจาวันได้ แค่ขยับร่างกายให้ได้ตลอดทั้งวันจะเผาผลาญแคลอรี่
และลดดัชนีมวลกายลงได้ แค่เปลี่ยนแปลงอะไรเล็กๆ น้อยๆ อย่างจอดรถให้ไกลจากร้านขึ้นอีกหน่อย
เดินไปทางานหรือไปซื้อของชาถ้าทาได้ ทางานบ้านที่ต้องใช้แรง ทางานอดิเรกอย่างทาสวนหรือ
ออกไปปั่นจักรยานซึ่งจาเป็นต้องขยับร่างกาย[11]

3.มองหาคาแนะนาจากมืออาชีพ.
ถ้าคุณจะเปลี่ยนจากการอยู่นิ่งมาขยับร่างกาย จาเป็นที่คุณจะต้อง ไม่ฝืนตนเอง การเปลี่ยนมา
ออกกาลังกายเป็นประจาเร็วเกินไปนั้นสามารถทาให้เกิดปัญหาทางร่างกายได้ คุยกับครูฝึกหรือหมอก่อนเริ่ม
ออกกาลังกายครั้งใหม่ มืออาชีพทางการแพทย์หรือฟิตเนสสามารถช่วยประเมินระดับความฟิตในขณะนั้นของ
คุณและหาแนวการออกกาลังที่เหมาะกับคุณได้

ส่วนที่ 3 มองหาแรงสนับสนุนจากภายนอก

1.ถามหมอถึงยาลดน้าหนัก.
ถ้าคุณมีดัชนีมวลกายสูงเกิน 30 หรือมีโรคประจาตัวอย่างเบาหวาน หมอ อาจต้องการให้คุณใช้ยาลด
น้าหนัก การใช้ยานั้นร่วมกับการคุมอาหารที่ดีต่อสุขภาพและการออกกาลังกายเป็นประจา สามารถช่วยให้
น้าหนักลดลงได้มากขึ้น
 หมอจะตรวจสุขภาพในเวลาของคุณกับประวัติการรักษาก่อนจ่ายยา ให้แน่ใจว่าได้ถามหมอถึง
คาแนะนาการกินยาที่ต้องให้หมอจ่าย ต้องนึกถึงผลข้างเคียงที่เป็นไปได้จากยาที่คุณจะใช้
8

 ในระหว่างใช้ยาลดน้าหนัก คุณจะถูกตรวจวัดโดยผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์อย่างใกล้ชิด จะต้องถูก


ตรวจเลือดและนัดพบหมออยู่เป็นประจา ยาลดน้าหนักใช่ว่าจะได้ผลกับทุกคนและอาจไม่ได้ผลกับคุณ
ความเสี่ยงอีกอย่างก็คือ เมื่อหยุดใช้ยาแล้วบางทีน้าหนักก็กลับมาเพิ่มตามเดิม
 ในกรณีรุนแรง การผ่าตัดเพื่อลดน้าหนักอาจเป็นทางเลือก การผ่าตัดจะลดปริมาณอาหารที่คุณ
สามารถกินเข้าไปได้ มีทางเลือกมากมายสาหรับการผ่าตัดเพื่อลดน้าหนักและมักจะแนะนาสาหรับกับ
ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับน้าหนักตัวและมีดัชนีมวลกายสูงเกิน 35 ถามหมอดูว่าการผ่าตัดลด
น้าหนักนี้เหมาะกับคุณหรือไม่

2.มองหาการให้คาปรึกษา.
หลายคนมีปัญหาเรื่องการกินเนื่องจากอารมณ์หรือพฤติกรรม ผู้เชี่ยวชาญ ทางสุขภาพจิตที่ได้รับการ
ฝึกฝนมาสามารถช่วยระบุปัญหาเหล่านี้และสอนคุณตรวจสอบอาหารที่กินกับวิธีรับมือการโหยหาอาหารได้
 เมื่อเป็นเรื่องของการลดน้าหนัก โปรแกรมบาบัดแบบเข้มข้น 12 ถึง 24 ครั้งมักจะได้ผลที่สุด ถาม
หมอให้ช่วยแนะนานักสุขภาพจิตที่มีประสบการณ์ในเรื่องลดน้าหนักหรือการบาบัดความผิดปกติ
ทางการกินอาหาร
 ถ้าคุณอึดอัดกับการบาบัดแบบเข้มข้น การบาบัดทั่วไปที่เน้นครอบคลุมประเด็นสุขภาพจิตก็ยังอาจ
ช่วยได้

3.มองหากลุ่มให้แรงสนับสนุน.
กลุ่มสนับสนุนจะทาให้คุณได้ติดต่อกับคนอื่นๆ ที่กาลังต่อสู้กับปัญหาด้านน้าหนักตัวเหมือนกัน ลอง
ตรวจหาจากโรงพยาบาล โรงยิม และโปรแกรมการลดน้าหนักในบริเวณแถวบ้านเพื่อหากลุ่มสนับสนุน คุณยัง
อาจหาตามอินเทอร์เน็ตถ้าหากไม่สามารถหาจากแถวบ้านได้
9

บรรณานุกรม

เมตตา โพธิ์ กลิ่น, et al. ความ สัมพันธ์ ระหว่าง อายุ เพศ ค่า ดัชนี มวล กาย และ ค่า เวลา ปฏิกิริยา การ
ตอบ สนอง ต่อ แสง และ เสียง ของ อาสา สมัคร คน ไทย ปกติ. มหาวิทยาลัย หัวเฉียว เฉลิมพระเกียรติ,
2015.

ธเนศ เวโรจน์ พร. "แผน ธุรกิจ อุปกรณ์ วัด ค่า สัญญาณ ชีพ ผ่าน อุปกรณ์ Tattoo ตรา" VitalTatt"=
BUSINESS PLAN ON VITAL SIGN WIRELESS DEVICE BRAND “VITALTATT”." (2018).

ภั ก ศจี ภร ณ์ ขันทอง, เอ กรินทร์ วทัญญู เลิศ สกุล, and ว จิ รา ภร ณ์ ประชุม รักษ์. "การ ประเมิน ผล
และ การ ถ่ายทอด เทคโนโลยี การ คัด กรอง ภาวะ สมอง เสื่อม ผ่าน แอ ป พลิ เค ชัน Dementia U-Care
ใน ชุมชน บ้าน หัว ดอน อาเภอ เขื่องใน จังหวัด อุบลราชธานี." วารสาร ศูนย์ อนามัย ที่ 9: วารสาร ส่งเสริม
สุขภาพ และ อนามัย สิ่งแวดล้อม 17.2 (2023): 576-589.

กมล วรรณ พง ษ์ กุล. "ปัจจัย ที่ มี ผล ต่อ แนวโน้ม และ ข้อ แนะนา การ บริโภค อาหาร คลี น เพื่อ สุขภาพ
ใน ทศวรรษ 2020." วารสาร วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏ ศรีสะเกษ 2.2 (2022):
AA1-AA9.

Kongpetch, Chadaporn. "การ ออกกาลัง กาย ใน ผู้ สูงอายุ." Thai Journal of Nursing 68.4 (2019):
64-71.

You might also like