Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 38

ไฟฟ้าสถิต

(Electrostatic)
#4
by P’Tum
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
4. พลังงานศักย์ไฟฟ้า และศักย์ไฟฟ้า
4.5 การเคลื่อนที่ของประจุ ไฟฟ้ากับหลักการอนุรักษ์พลังงานกล
กรณี ที่มีแรงภายนอกมากระทา
ความสั มพั นธ์ของพลังงาน
และงานตามกฏอนุรักษ์พลังงาน
∑𝑬𝑨 ± 𝑾𝑨→𝑩 = ∑𝑬𝑩

𝟏 𝟏
𝒎𝒖 ± 𝒒𝑽 = 𝒎𝒗𝟐
𝟐
𝟐 𝟐
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
4. พลังงานศักย์ไฟฟ้า และศักย์ไฟฟ้า
4.6 เส้นสมศักย์ (Equipotential line)

เส้นสมศักย์
คือ เส้นที่เชื่อมต่อจุ ดต่างๆในสนามไฟฟ้า ซึ่งแต่ละจุ ดจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
โดยเส้นสมศักย์จะตั้งฉากกับเส้นแรงไฟฟ้าเสมอ
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
4. พลังงานศักย์ไฟฟ้า และศักย์ไฟฟ้า
4.6 เส้นสมศักย์ (Equipotential line)

ถ้าเคลื่อนประจุ ไฟฟ้าไปบนเส้นสมศักย์เส้นเดียวกัน
จะไม่มีงานเกิดขึน
้ เพราะทุกจุ ดมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน (V = 0)
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.1 แผนคู ่ ่ขนาน 2 แผน่ ห่างกัน 20 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ระหว่างแผนทั
่ ้งสอง
500 โวลต์ จงหา
ก. สนามไฟฟ้าระหว่างแผนคู ่ ่ขนานทั้งสอง
ข. ถ้าอิเล็กตรอนมีมวล 9x10-31 กิโลกรัม และมีประจุ -1.6x10-19 คูลอมบ์ หลุ ดออก
จากแผนลบจะเคลื
่ ่อนที่ไปถึงแผนบวกด
่ ้วยอัตราเร็วเท่าไร
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.2 แผนคู่ ่ขนาน 2 แผน
่ ห่างกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้า 10 โวลต์/เมตร
4

ถ้าอิเล็กตรอนหลุ ดออกจากแผนลบจะเคลื
่ ่อนที่ถึงแผนบวกด
่ ้วยอัตราเร็วเท่าไร
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.3 แผนคุ่ ่ขนาน 2 แผน
่ ห่างกัน 10 เซนติเมตร เมื่อนาตัวนาทรงกลมมวล 2 กรัม ผูก
ด้วยเส้นด้ายเล็กๆ ไปแขวนระหว่างแผนคู
่ ่ขนานปรากฏว่าแนวเส้นด้ายเบนจากแนวดิ่ง
่ ่ขนานนี้ ถ้าประจุ ลบบนทรงดลมเป็ น
เป็ นมุม 45 ๐ จงหาความต่างศักย์ของแผนคู
5x10-6 คูลอมบ์
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.4 แผนคุ
่ ่ขนาน 2 แผน ่ ห่างกัน 2 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ
ในแนวดิ่ง ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนลอยอยู ่นิ่ งๆในระหว่างแผนตั
่ วนานี้ จงหา
ทิศทางสนามไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าของแผนตั ่ วนานี้
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.5 อนุภาคหนึ่ งมีประจุ 5x10-6 คูลอมบ์ เริ่มเคลื่อนที่จากจุ ดหยุ ดนิ่ ง ใน
บริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ 100 โวลต์/เมตร เมื่ออนุภาคนี้ เคลื่อนที่ใน
ทิศทางเดียวกับสนามไฟฟ้าได้ไกลเท่าใดจึงจะมีพลังงานเป็ น 4x10-4 จู ล
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.6 อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 4x107 เมตร/วินาที ขนานกับ
สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ 900 โวลต์/เมตร ในทิศตามสนามไฟฟ้า อิเล็กตรอนจะ
เคลื่อนที่ได้ไกลสุ ดเท่าไร จึงเริ่มเคลื่อนที่ย้อนกลับ
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.7 ถ้า E เป็ นสนามไฟฟ้าสม่าเสมอมีขนาด 4x104 โวลต์/เมตร AB = 10 ซม.
BC = 5 ซม. จงหางานในการเคลื่อนประจุ +10-6 คูลอมบ์ จาก A ไป C
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.8 ถ้า E เป็ นสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ มีขนาด 20 โวลต์/เมตร จงหางานที่ใช้ใน
การเคลื่อนที่ประจุ 2x10-9 คูลอมบ์ จากจุ ด A ไปตามA→B→C จนถึงจุ ด C
ดังรู ป
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
8.9 ทรงกลมโลหะ A และ B มีจุดศูนย์กลางรวมกั ่ น โดย A ซ้อนอยู ่ภายในทรง
กลม B แต่ไม่ได้สั มผัสกัน A มีรัศมีภายใน 2 ซม. และรัศมีภายนอก 4 ซม. ส่วน
B มีรัศมีภายใน 6 ซม. และรัศมีภายนอก 8 ซม. ถ้าให้ประจุ ไฟฟ้า 100 ไมโครคู
ลอมบ์ แก่ทรงกลม A จงหาศักย์ไฟฟ้าที่ผิวนอกของทรงกลมทั้งสอง
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าบางวงจร มีการใช้อุ ปกรณ์สาหรับเก็บประจุ ไฟฟ้าที่เรียกว่า
“ตัวเก็บประจุ (Capacitor หรือ Condenser)”

ตัวเก็บประจุ ประกอบด้วยแผนโลหะขนาน
่ 2 แผน่ มีฉนวนคั่นกลาง
เรียกฉนวนนี้ ว่า ไดอิเล็กทริก(Dielectric) เช่น อากาศ กระดาษ เซรามิก
เป็ นต้น ซึ่งไดอิเล็กทริกมีหน้าที่ป้องกันไม่ให้ประจุ ไฟฟ้าถ่ายเทถึงกัน
แต่สามาถส่งผานอ่ านาจทางไฟฟ้าถึงกันได้
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า
คุณสมบัติที่สาคัญของตัวเก็ยประจุ คือ ตัวเก็บประจุ ยอมให้
ไฟฟ้ากระแสสลับไหลผาน ่ แต่ไม่ยอมให้กระแสตรงไหลผาน ่

สั ญลักษณ์แทนตัวเก็บประจุ

หรือ
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า
ปริมาณที่บอกความสามารถในการเก็บประจุ ของตัวเก็บประจุ เรียกว่า
“ความจุ หรือ ความจุ ไฟฟ้า(Capacitance)”

ความจุ ไฟฟ้า คือ ปริมาณประจุ ไฟฟ้าที่ทาให้ตัวนามีค่าศักย์ไฟฟ้า


เพิ่ มขึน
้ หรือลดลง 1 หน่วย
𝑸
สามารถเขียนเป็ นสมการ ดังนี้ 𝑪= หรือ 𝑸 = 𝑪𝑽
𝑽
C = ความจุ ไฟฟ้า มีหน่วย C/V หรือ F(ฟารัด)
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า
5.1 ความจุ ไฟฟ้าของตัวนาทรงกลม
พิ จารณาตัวนาทรงกลมที่มีรัศมี R มีประจุ ไฟฟ้า Q บนผิวตัวนา จะเกิดศักย์ไฟฟ้า
ที่ผิวตัวนาทรงกลม มีค่า
𝑲𝑸
จะได้สมการความจุ ไฟฟ้า
𝑽=
𝑹 บนตัวนาทรงกลม ดังนี้
𝑹
จาก
𝑸
𝑪= 𝑪=
𝑽 𝑲
แทนค่าจะได้ 𝑪 =
𝑸 ความจุ ไฟฟ้าของตัวนาทรงกลม
𝑲𝑸/𝑹 ขึน
้ กับรัศมีของตัวนา
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
9.1 ตัวเก็บประจุ ตัวหนึ่ งมีอักษรเขียนไว้ว่า 0.05 μF , 400 V จะสามารถเก็บ
ประจุ ไว้ได้สู งสุ ดเท่าใด และถ้านาไปใช้งานที่ต้องการเก็บประจุ 15 μC ต้องต่อ
กับความต่างศักย์เท่าใด
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
9.2 ตัวนาทรงกลม A มีรัศมี 4 x 10-2 m มีประจุ 2 x 10-6 C ตัวนารทรง
กลม B มีรัศมี 2 x 10-2 m มีประจุ 0.5 x 10-6 C เมื่อนามาแตะกันแล้วแยก
ออกจากกัน ทรงกลมทั้งสองจะมีศักย์ไฟฟ้าเป็ นเท่าใดและบนแต่ละทรงกลมมี
ประจุ เท่าใด(1.67x10-6 C , 8.33 x 10-7 C , 3.76 x 105 V)
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า
5.2 พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
ต่อความต่างศักย์ไฟฟ้าเขากั
้ บหลายทั้งสองของตัวเก็บประจุ ดังรู ป
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า
5.2 พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
จากงานในการเลื่อนประจุ ระหว่างจุ ด 2 จุ ดในตัว
เก็บประจุ ที่มีความต่างศักย์ V หาได้จาก
“พื้ นที่ใต้กราฟV–Q”
𝟏
𝑾=
𝟐
𝑸𝑽 คือพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
𝟏 𝟏 𝟐 𝟏 𝑸𝟐 U = พลังงานสะสม
𝑼 = 𝑸𝑽 = 𝑪𝑽 =
𝟐 𝟐 𝟐 𝑪 ในตัวเก็บประจุ [J]
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า ผลของการต่อตัวเก็บประจุ แบบอนุกรม
5.3 การต่อตัวเก็บประจุ 1. ประจุ ในตัวเก็บประจุ แต่ละตัวจะมีค่าเท่ากัน
และมีค่าเท่ากับประจุ รวมทั้งวงจร
มี 2 แบบ 𝑸รวม = 𝑸𝟏 = 𝑸𝟐 = 𝑸𝟑 =. . .
1. การต่อแบบอนุกรม
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม เท่ากับผลรวมของ
ความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ ทุกตัว
𝑽รวม = 𝑽𝟏 + 𝑽𝟐 + 𝑽𝟑 +. . .

3. ความจุ ไฟฟ้ารวม (Cรวม) ของการต่อตัว


เก็บประจุ แบบอนุกรม
𝟏 𝟏 𝟏 𝟏
= + + +⋯
𝑪รวม 𝑪𝟏 𝑪𝟐 𝑪𝟑
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า ผลของการต่อตัวเก็บประจุ แบบขนาน
5.3 การต่อตัวเก็บประจุ 1. ประจุ ไฟฟ้ารวมจะเท่ากับผลรวมของประจุ ใน
ตัวเก็บประจุ แต่ละตัว
มี 2 แบบ 𝑸รวม = 𝑸𝟏 + 𝑸𝟐 + 𝑸𝟑 +. . .
1. การต่อแบบขนาน
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ แต่ละ
ตัวจะเท่ากัน และเท่ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม
𝑽รวม = 𝑽𝟏 = 𝑽𝟐 = 𝑽𝟑 =. . .

3. ความจุ ไฟฟ้ารวม (Cรวม) ของการต่อตัว


เก็บประจุ แบบขนาน
𝑪รวม = 𝑪𝟏 + 𝑪𝟐 + 𝑪𝟑 +. . .
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
5. ตัวเก็บประจุ และความจุ ไฟฟ้า ผลของการต่อตัวเก็บประจุ แบบขนาน
5.3 การต่อตัวเก็บประจุ 1. ประจุ ไฟฟ้ารวม
𝑸รวม = 𝑸𝟏 ± 𝑸𝟐 ±. . .
เพิ่ มเติม การต่อตัวเก็บประจุ ที่มี
ประจุ เขาด้ ้วยกัน 2. ความจุ ไฟฟ้ารวม
𝑪รวม = 𝑪𝟏 + 𝑪𝟐 + 𝑪𝟑 +. . .

3. ศักย์ไฟฟ้ารวม
𝑸รวม
𝑽รวม =
𝑪รวม
4. ประจุ บนตัวเก็บประจุ แต่ละตัว
𝑸𝟏 = 𝑪𝟏 𝑽 , 𝑸𝟐 = 𝑪𝟐 𝑽 , 𝑸𝒏 = 𝑪𝒏 𝑽
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.1 ตัวเก็บประจุ C มีประจุ ที่แผนบวกและลบ
่ +q0 และ -q0 ตามลาดับ
หลังสั บสวิทซ์ S ลง จะมีกระแสไฟฟ้าในวงจรดังรู ป จะเกิดความรอนใน
้ R
เท่าใด
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.2 ตัวเก็บประจุ ขนาด 25 μF เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 100 โวลต์ จงหา
ก. ประจุ บนตัวเก็บประจุ ข. พลังงานสะสมในตัวเก็บปรจุ
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.3 ตัวเก็บระจุ 2 ตัว มีความจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด นามาต่อ
กันและนาไปต่อกับความต่างศักย์ 180 โวลต์ จงหาประจุ และพลังงานสะสม
ทั้งหมดในตัวเก็บประจุ เมื่อต่อตัวเก็บประจุ
ก. ต่อแบบอนุกรม ข. ต่อแบบขนาน
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.4 ตัวเก็บประจุ 3 ตัว ต่อกับความต่างศักย์ 120 โวลต์ ดังรู ป จงหา
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ แต่ละตัว
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.5 ตามรู ป ตัวเก็บประจุ C1 และ C2 มีความจุ ไฟฟ้า 10 และ 20 ไมโครฟา
รัด ต่ออนุกรมกัน จุ ด a ต่อลงดินในขณะที่จุด b มีศักย์ไฟฟ้า 15 โวลต์ อยาก
ทราบว่า ประจุ ที่ตัวเก็บประจุ ทั้งสองมีค่ากี่คูลอมบ์
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.6 เมื่อสั บสวิทซ์ลงในวงจรดังรู ป จะมีประจุ ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหล
จากแบตเตอรี่ไปเก็บอยู ่ในตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาดความจุ ของตัว
เก็บประจุ ที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่ไมโครฟารัด
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.7 ตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1 𝜇F , 2 𝜇F และ 3 𝜇F
ตามลาดับ ก่อนนามาต่อกับแบตเตอรีข ่ นาด 2 V ดังวงจร ตัวเก็บประจุ ทั้งสามยังไม่มี
ประจุ อยู ่ภายในเลย เมื่อปิ ดสวิทซ์ S เป็ นเวลานานพอที่จะทาให้อยู ่ในสภาพสมดุล
พลังงานไฟฟ้าที่สะสมอยู ่ในตัวเก็บประจุ C2 จะมีขนาดเท่าใดในหย่วยไมโครจู ล (1.44)
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.8 จากรู ปจงหาความจุ ไฟฟ้ารวมระหว่าง A กับ B
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.9 จากวงจรในรู ป เริ่มแรกตัวเก็บประจุ A มีความต่างศักย์ 2,000 โวลต์ และ B ไม่
มีประจุ เมื่อสั บสวิตซ์ S ลง ความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ A จะลดลงเหลือ 1,600
โวลต์ ถ้าความจุ A เท่ากับ 4.0 x 10-3 ไมโครฟารัด ความจุ ของ B มีค่ากี่ไมโครฟารัด
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.10 ตัวเก็บประจุ ขนาด 50 ไมโครฟารัด อันหนึ่ งมีความต่างศักย์ 16 โวลต์ เมื่อ
นามาต่อขนานกับตัวเก็บประจุ ขนาด 30 ไมโครฟารัด ซึ่งแต่เดิมไม่มีประจุ อยู ่เลย จงหา
ความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ 30 ไมโครฟารัดนี้ (10)
โจทย์ - ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
10.11 จากรู ปวงจรไฟฟ้าประกอบด้วย ตัวเก็บประจุ C1 = 6 ไมโครฟารัด C2 = 3 ไม
โครฟารัด และแบตเตอรี่แรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์ ถ้าสั บสวิทซ์ S1 รอจนประจุ เต็ม C1
แล้วยกสวิทซ์ S1 ขึน
้ จากนั้ นสั บสวิทซ์ S2 รอจนสมดุล ประจุ ไฟฟ้าในตัวเก็บประจุ C2
จะเป็ นเท่าใดในหน่วยไมโครคูลอมบ์ (24)
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
6. การนาความรู ไฟไฟ
้ ้ าสถิตไปใช้ประโยชน์
6.1 เครื่องกาจัดฝุ่นในอากาศ 6.2 เครื่องพ่นสี
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
6. การนาความรู ไฟไฟ
้ ้ าสถิตไปใช้ประโยชน์
6.3 เครื่องถ่ายเอกสาร
ไฟฟ้าสถิต LINE : @tumtewphysics
6. การนาความรู ไฟไฟ
้ ้ าสถิตไปใช้ประโยชน์
6.4 ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ

ไดอะแฟรม

แผ่ นโลหะ
ติดฐานรับ

You might also like