Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 62

ไฟฟ้าสถิต

เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่
เท่ากัน ปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด, การผลักกัน และเกิดประกายไฟ โดย
การเกิดประจุไฟฟ้านั้นจะเกิดจากการสูญเสียหรือ การได้รับอิเล็กตรอน
อิเล็กโตรสโคป (Electroscope) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ตรวจสอบประจุไฟฟ้า
โดยอาศัยหลักการการเหนี่ยวนา
1. อิเล็กโตรสโคปแบบลูกพิท ประกอบด้วยลูกกลมเล็กซึ่งมีน้าหนักเบามาก
ตัวลูกกลมแขวนด้วยเชือกด้าย หรือไหมเส้นเล็กๆ จากปลายเสาที่ตั้งบนแท่น
ฉนวนไฟฟ้า
2. อิเล็กโตรสโคปแบบแผ่นทองคาเปลว ประกอบด้วยแผ่นทองคาเปลว
หรือแผ่นอะลูมิเนียมบางๆสองแผ่น ประกบกันทีป ่ ลายแท่งโลหะซึ่งปลายบน
ของแท่งโลหะนี้เชื่อมติดกับจานโลหะด้านบน เมื่อมีประจุไฟฟ้าเข้าใกล้จานโลหะ
แผ่นทองคาเปลวทั้งสองจะกางออกจากกัน
แบบฝึกหัด
1. นาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นบวกเข้าใกล้วัตถุตัวนาทรงกลมที่ห้อยจากฉนวน
ทั้งสองตามรูป เมื่อแยกวัตถุทั้งสองออก เมื่อแยกวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็น
บวกออกแล้ว ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุไฟฟ้าชนิดใดตามลาดับ

1. ประจุบวกและประจุบวก 3. ประจุลบและประจุลบ
2. ประจุบวกและประจุลบ 4. ประจุลบและประจุบวก
2. โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็นกลางทางไฟฟ้าตั้ง อยู่บนฉนวน ถ้านา
ประจุบวกที่เท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองพร้อมๆกัน และมีระยะห่างจาก
ปลายเท่าๆกัน การกระจายของประจุบนส่วน A , B และ C ของ
ทรงกระบอกเป็นอย่างไร
1. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นกลาง
2. A และ C เป็นกลาง แต่ B เป็นลบ
3. A และ C เป็นบวก แต่ B เป็นลบ
4. A และ C เป็นลบ แต่ B เป็นบวก
3. เมื่อนาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าไปเหนี่ยวนาเพื่อให้อเิ ล็กโตรสโคปมีประจุไฟฟ้า
เป็นลบ แล้วนาวัตถุ A ที่มีประจุเข้ามาใกล้ดังรูป ปรากฏว่าแผ่นโลหะของ
เล็กโตรสโคปกางออกมากขึ้น ชนิดของประจุที่จุด 1,2,3 และ 4 จะเป็น
ชนิดใดตามลาดับ

1. ลบ กลาง ลบ บวก
2. ลบ บวก บวก บวก
3. ลบ กลาง กลาง บวก
4. ลบ บวก ลบ ลบ
4. นาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบเข้ามาใกล้จานโลหะ หลังจากนั้นใช้สายไฟที่
ปลายข้างหนึ่งต่อโยงกับตัวนาที่ฝังใต้ดินชื้นๆแล้วนาปลายอีกข้างหนึ่งมา
แตะจานโลหะ ดังแสดงในรูป ข้อใดถูกต้อง
กฎของคูลอมบ์ (Coulomb’s Law)
“ประจุไฟฟ้าใดๆ เมื่อวางไว้ใกล้กันจะเกิดแรงกระทาซึ่งกันและกัน โดยขนาดแรงจะมี
ค่าแปรผันตรงกับผลคูณของขนาดของประจุไฟฟ้าทั้งสอง และแปรผกผันกาลังสองกับ
ระยะห่างระหว่างประจุ”

KQ1Q2
F =F= 2
R
K = ค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9×109 N.m2/C2
ถ้าประจุทั้งสองเป็นประจุชนิดเดียวกัน จะเกิด “แรงผลัก”
ถ้าประจุทั้งสองเป็นประจุต่างชนิดกัน จะเกิด “แรงดูด”
ตัวอย่างการหาทิศทางของแรงที่กระทากับประจุ q

-Q2

+Q1 F2
+q
F3
F1 +Q3
F4

-Q4
แบบฝึกหัด
1. จุดประจุที่มีขนาด A คูลอมบ์ และ 1×10-5 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 3 เมตร
จะมีแรงกระทาต่อกัน 1 นิวตัน ประจุ A มีขนาดกี่คูลอมบ์
1. 1×10-6 คูลอมบ์
2. 1×10-5 คูลอมบ์
3. 1×10-4 คูลอมบ์
4. 1×10-3 คูลอมบ์
2. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็น 27 นิวตัน จงหาขนาดของ
แรงผลักระหว่างประจุคู่นี้ ถ้าระยะห่างของประจุเป็น 3 เท่าของเดิม
1. 9 นิวตัน
2. 6 นิวตัน
3. 3 นิวตัน
4. 1 นิวตัน
3. ก้อนทองแดง 2 ก้อน วางห่างกัน 3 เมตร แต่ละก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระ
อยู่ 5x1014 ตัว จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหน่วยนิวตัน
1. 1.4 3. 2.4
2. 4.4 4. 6.4
4. ประจุไฟฟ้าขนาด 2 µC จานวน 3 ประจุวางเรียงกันบนเส้นตรง แต่ละ
ประจุวางห่างกันช่วงละ 30 cm จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระทา
ต่อประจุกึ่งกลาง เมื่อ
ก. จุดประจุทั้งสามเป็นบวก
ข. จุดประจุที่ปลายทั้งสองเป็นบวก แต่จุดประจุตรงกึ่งกลางเป็นลบ
ค. จุดประจุที่ปลายด้านขวาเป็นลบ แต่จดประจุที่เหลือทั้งสองเป็นบวก
A B C
+2µC +2µC +2µC

A B C
+2µC -2µC +2µC

A B C
+2µC +2µC -2µC
5. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยู่ห่างกัน 20 เซนติเมตร
ถ้านาประจุทดสอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไว้ที่จุดกึ่งกลางระหว่าง
ประจุทั้งสองขนาด และมีทิศทางของแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบคือ

0.2 m
1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เข้าหาประจุลบ
2. 1.8 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
3. 7.2 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุลบ
4. 7.2 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
6. ประจุไฟฟ้า +2 C , -1 C , -2 C และ +1 C วางอยู่ที่จุด A,B,C และD
ตามลาดับ โดยที่มีขนาดของแรงที่กระทาระหว่างประจุดังรูป จง
เรียงลาดับขนาดของแรงที่กระทาระหว่างประจุจากน้อยไปมาก
1. F1 , F2 , F3 และ F4
2. F4 , F1 , F3 และ F2
3. F2 , F3 , F1 และ F4
4. F2 , F3 , F4 และ F1
7.

a
A C
8. วางจุดประจุ +2 µC 2 ประจุห่างกันเป็นระยะ 4 cm จงหาแรงไฟฟ้า
ลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ +1 µC เมื่อนาประจุ +1 µC มาวางห่างจากประจุทั้ง
สอง 4 cm เท่ากัน

+1µC

4 cm 4 cm

+2µC 4 cm +2µC
9. ทรงกลม A มวล 0.1 kg มีประจุ -4 µC ทรงกลม B มวล 3 kg มีประจุ
+6 µC แขวนทรงกลม A ด้วยด้ายไหม ให้ห้อยอยู่เหนือทรงกลม B ซึ่งวาง
บนฉนวน โดยจุดศูนย์กลางห่างกัน 10 cm ดังรูป
จงหา ก. แรงตึงในด้ายไหม
ข. แรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทากับทรงกลม B

-4µC

+6µC

You might also like