Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

Physics By Kru Jittakorn 1 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย
เราได้ ศกึ ษาการเคลือ่ นที่ของวัตถุในแนวเส้ นตรง การเคลือ่ นที่ในแนวโค้ ง ( โพรเจกไทล์
และวงกลม )มาแล้ ว ในหัวข้ อนี ้จะศึกษาการเคลือ่ นที่แบบสัน่ และแบบแกว่ง เช่น การสัน่ ของสายกีตาร์
การสัน่ ของสปริ ง การแกว่งของลูกตุ้ม การแกว่งของชิ่งช้ า วัตถุเหล่านี ้จะเคลือ่ นที่กลับไปกลับมาซ ้าทาง
เดิมหลายครัง้ โดยขณะเคลือ่ นที่ออกไปถึงตาแหน่งหนึง่ ก็จะหยุดชัว่ ขณะ แล้ วก็จะเคลือ่ นที่กลับไปสูอ่ ีก
ทางหนึง่ และเมื่อถึงอีกตาแหน่งหนึง่ ก็จะหยุดชัว่ ขณะแล้ วเคลือ่ นที่กลับไปอีกทางหนึง่ และเป็ นอย่างนี ้
หลายครัง้ จนในที่สดุ ก็จะหยุดเพราะมีแรงต้ านการเคลือ่ นที่ตลอดเวลา ดังรูป 1. โดยเรี ยกการเคลือ่ นที่แบบ
นี ้ว่า การเคลือ่ นที่แบบสัน่ ( oscillatory motion )

การสัน่ ของสายกีตาร์
การสัน่ ของสปริ ง การแกว่งของลูกตุ้ม

รูป 1. การเคลือ่ นที่แบบสัน่

การเคลือ่ นที่ใดๆ ซึง่ เคลือ่ นที่กลับไปกลับมาซ ้าทางเดิม โดยผ่านตาแหน่งสมดุลและคาบของการ


เคลือ่ นที่คงตัว เรี ยกว่า การเคลื่อนแบบพีริออดิก ( periodic motion ) หรือ เรียกว่ า การเคลื่อนที่
แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย ซึง่ เป็ นการเคลือ่ นที่แบบพีริออดิกอย่างหนึง่ ที่มีคา่ ความถี่คงที่แน่นอนค่าเดียว
เรี ยกย่อๆว่า SHM ( Simple Harmonic Motion )
ปริมาณต่ างๆ ที่สาคัญของการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย ( SHM ) คือ
1. แอมพลิจูด ( Amplitude , A ) คือ ขนาดของการกระจัดของวัตถุที่วดั จากตาแหน่งสมดุลถึง
จุดปลายทังสองข้
้ าง ซึง่ มีคา่ มากที่สดุ และมีคา่ คงที่เสมอ
2. คาบ ( period , T ) คือ ช่วงเวลาที่วตั ถุเคลือ่ นที่ครบหนึง่ รอบ มีหน่วยเป็ นวินาทีตอ่ รอบ
หรื อ วินาที
3. ความถี่ ( frequency , f ) คือ จานวนรอบที่วตั ถุเคลือ่ นที่ได้ ในหนึง่ หน่วยเวลา มีหน่วยเป็ น
รอบต่อวินาที หรื อ เฮิรตซ์ ( Hz )
การกระจัดทาง X ในรูปฟั งก์ชนั ของเวลา t ของ SHM โดยทัว่ ไปเขียนเป็ นสมการได้ เป็ น
x = xm cos ( t +  ) ……………… ( 1 )
ซึง่ xm ,  และ  เป็ นค่าคงตัว
Xm เป็ น การกระจัดสูงสุด คือ แอมพลิจูด
 เป็ นความถี่เชิงมุม หรือ อัตราเร็วเชิงมุม คือ มุมที่กวาดไปได้ ในหนึง่ หน่วยเวลา
 เป็ น เฟส ( phase ,  ) คือ ค่าตาแหน่งเริ่ มต้ นของการเคลือ่ นที่ซ ้าทางเดิม
Physics By Kru Jittakorn 2 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

การเคลือ่ นที่ของวัตถุในลักษณะนี ้ จะเป็ นรูปไซน์หรื อโคไซน์ ขึ ้นอยูก่ บั ค่า  เริ่ มต้ น เช่น

X รู ป ก จากรูป ก ค่า  เริ่ มต้ น คือ ก็เป็ นรูปไซน์
2
เมื่อเทียบกับสมการ ( 1 )
0 t 
x = xm cos ( t + )
2
จะได้ x = xm sin t รูปไซน์
X

รู ป ข จากรูป ข ค่า  เริ่ มต้ น คือ 0 ก็เป็ นรูปโคไซน์


t เมื่อเทียบกับสมการ ( 1 )
x = xm cos ( t + 0 )
จะได้ x = xm cos t รูป
โคไซน์
ดังนันการเคลื
้ อ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย จึงอาจจะเขียนได้ ในรูป
x = A sin t , เมื่อ xm = A ( การกระจัดสูงสุด คือ แอมพลิจูด )
สรุปได้ วา่ สาหรับการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย คือการเคลือ่ นที่ซึ่งมีการกระจัดเป็ นฟั งก์ชนั ของ
เวลา และเป็ นฟั งก์ชนั รูปไซน์ หรื อ เป็ นฟั งก์ชนั รูปโคไซน์
การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ ายเทียบกับการเคลื่อนที่เป็ นวงกลม

C/ B/ A/
/
D H/
E/ F/
B A G/
C H
D G
E F
ดินน้ ำมัน

แผ่นไม้วงกลม
แสง

รูป 2. การฉายแสงผ่านวัตถุที่เคลือ่ นที่เป็ นวงกลม ปรากฏเงาบนฉากเป็ น SHM


Physics By Kru Jittakorn 3 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

ถ้ านาดินน ้ามันก้ อนโตพอเหมาะ ติดไว้ ที่ขอบวงล้ อกลมหรื อแผ่นไม้ วงกลมซึง่ หมุนได้ คล่องในแนว
ระดับ เมื่อหมุนวงล้ อให้ มีอตั ราเร็ วสม่าเสมอ ดินน ้ามันจะเคลือ่ นที่ในแนววงกลมด้ วยอัตราเร็ วสม่าเสมอ
ด้ วย เมื่อฉายลาแสงขนานในแนวระดับไปที่ดินน ้ามัน ดังรูป 2. เงาของดินน ้ามันจะปรากฏบนฉากข้ างหลัง
โดยการเคลือ่ นที่ของเงาจะกลับไปกลับมาในแนวตรงเป็ นแบบ
ฮาร์ มอนิกอย่างง่าย
เงาบนฉากของวัตถุที่เคลือ่ นที่เป็ นวงกลม ก็เหมือนกับ P
การคิดองค์ประกอบทาง x ของการเคลื่อนที่ของจุด ๆ หนึ่ง

เป็ นวงกลมระนาบ xy ดังรูป 3. ให้ จุดหนึง่ เคลื่อนที่มาแล้ วเป็ น
เวลา t จากจุดตังต้ ้ นบนแกน x ถึงตาแหน่งที่ทามุม  โดย
เคลือ่ นที่เป็ นวงกลมที่มีอตั ราเร็ วสม่าเสมอ ดังนัน้  = t ถ้ า
วงกลมมีรัศมี R จะมี
องค์ประกอบของตาแหน่งบนแกน x คือ รูป 3. จุด P เคลื่อนที่เป็นวงกลมอย่าง
x = Rcos = Rcos t …………….**** สม่่าเสมอบนระนาบ xy

องค์ประกอบของความเร็ วบนแกน x คือ


vx = - v sin  = - R sin t …………….****

องค์ประกอบของความเร่งบนแกน x คือ
ax = - a cos = - 2R cos t …………….****
หรื อ ax = - 2x …………….****
จาก สมการ ax = - 2x แสดงลักษณะสาคัญประการหนึง่ ของการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่าง
ง่าย คือ การมีความเร่งเป็ นปฏิภาคกับการกระจัดแต่มีทิศตรงข้ าม เนื่องจาก 2 มีคา่ คงตัว ทังนี
้ ้ทิศของ
ความเร่งจะเป็ นทิศเดียวกับแรง และแรงจะต้ องเป็ นแรงเข้ าหาจุดสมดุลในขณะที่การกระจัดมีทิศออกไป
จากสมดุล
Physics By Kru Jittakorn 4 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ ายของ


วัตถุติดปลายสปริง ถ้ านาปลายหนึง่ ของ ต่าแหน่งสมดุลของ c. m .
สปริ งยึดติดกับผนัง ส่วนอีกปลายหนึง่ ยึดติดกับ
รถทดลองซึง่ อยูบ่ นพื ้นราบที่มีแรงเสียดทาน แต่
รถทดลองมีล้อที่มีแรงเสียดทานน้ อยมาก จัด
สปริ งให้ ขนานกับพื ้นและรถทดลองอยูน่ ิ่ง ก
ตาแหน่งเริ่ มต้ นของรถทดลองขณะนี ้ เรี ยกว่า
ตาแหน่ งสมดุล ดังรูป 4 ค.
เมื่ อ ดึ ง รถทดลองให้ ส ปริ ง ยื ด และรถ
ออกจากตาแหน่งสมดุลเป็ นระยะ A จะได้ การ

กระจัดของรถทดลองมีค่า A และมีแรง F ของ ข
สปริ งดึงรถทดลองไปทางซ้ าย ดังรู ป 4 ก. แรงนี ้
เรี ยกว่า แรงดึงกลับ ( restoring force ) มีค่า

ตาม F = -k x ซึ่งแสดงว่าขนาดของแรงดึง
กลับแปรผัยตรงกับระยะยืดหรื อหดของสปริ ง

หรื อขนาดการกระจัด แต่แรงดึงกลับ F มีทิศ

ตรงข้ ามกับการกระจัด x โดย k เป็ นค่าคงตัว
ของสปริ ง

เมื่อปล่อยมือ แรง F จะดึงรถทดลอง
เคลื่อนที่กลับไปทางซ้ ายเข้ าหาตาแหน่งสมดุล
ด้ วยความเร่ง a ทาให้ ความเร็ วมีขนาดเพิ่มขึ ้น
 ง
และมี ทิศ ไปทางซ้ าย ขนาดของแรง F จะ
ลดลง เพราะขนาดการกระจัด x ลดลง การ
เคลื่อนที่เป็ นแบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย เมื่ อรถ
ทดลองเคลื่อนที่ถึงตาแหน่งสมดุล ขนาดของ

การกระจัด x เป็ นศูนย์ ขนาดของ F และ a
ก็เป็ นศูนย์แต่ความเร็ ว v ของรถทดลองจะมี จ
ค่ามากที่สุดและมีทิศไปทางซ้ าย ดังรู ป 4 ค.
จากนันรถทดลองจะเคลื
้ อ่ นที่ออกจากตาแหน่ง
สมดุลไปทางซ้ ายต่อไปอีก และอัดลวดสปริ งให้

หดสัน้ ลวดสปริ งก็ จะออกแรง F มี ทิศไป
ทางขวาต้ านการเคลื่ อ นที่ ข องรถทดลอง

ในขณะนีร้ ถทดลองจะเคลื่อนที่ของรถทดลอง
ในขณะนีร้ ถทดลองจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ ง
Physics By Kru Jittakorn 5 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

a ทีมีทิศไปทางขวาทาให้ ความเร็ วรถทดลองลดลง


เรื่ อยๆ จนกระทัง่ ความเร็ วเป็ นศูนย์ ขณะนี ้รถทดลอง
มีการกระจัด – A ดังรูป 4 จ. แล้ วเคลือ่ นที่ตอ่ ไปดังรู ป
ซึงการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย เราอาจเขียน ช
กราฟของการกระจัดกับเวลาของการเคลื่อนที่ของรถ
ทดลองในรูป 4. ได้ ดงั กราฟ รูป 5
เมื่ อ พิจ ารณาการเคลื่อนที่ของรถทดลองติ ด
ปลายสปริ งที่เคลื่อนที่ แรงสปริ งกระทาต่อ รถทดลอง
  ซ
จะมี ค่าเป็ น F = -k x ถ้ าให้ m เป็ นมวลของรถ
ทดลอง และ a เป็ นความเร่ งของรถทดลอง จากกฎ
การเคลือ่ นที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน จะได้ รูป 4. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถติดสปริง
F = ma
-kx = ma x
k A
และ a = - x t
m 0  2
นั่น คื อ การเคลื่อนที่ ข องรถทดลองติ ด สปริ งเป็ นการ
เคลื่อ นที่ แ บบฮาร์ ม อนิ ก อย่า งง่ า ยเช่ น เดี ย วกั บ การ
-A
เคลื่อ นที่ของเงาของดินนา้ มัน มี ความเร่ งแปรผันตรง
กับการกระจัด แต่มีทิศตรงกันข้ าม รูป 5. กราฟของการกระจัดกับเวลาส่าหรับหนึ่งรอบของ
k การเคลื่อนที่
เทียบสมการ a = - x กับ
m
สมการ ax = -  x จะได้ วา่2

k
- x = - 2x
m
k
ดังนัน้ 2 =
m
k
 = ……………………****
m
ความถี่เชิงมุมของการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย มีความสัมพันธ์ กบั ค่าคงตัวของสปริ ง และ
k
มวลของวัตถุที่ติดกับสปริ งดังสมการ  =
m
Physics By Kru Jittakorn 6 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

ตัวอย่ าง มวล 4 กิโลกรัมติดกับปลายลวดสปริ งดึงสปริ งให้ ยืดออก แล้ วปล่อยให้ วตั ถุเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอ
นิกอย่างง่าย บนพื ้นราบเกลี ้ยง เมื่อวัตถุเคลือ่ นที่ครบ 1 รอบใช้ เวลา 1 วินาที จงหาค่านิจของสปริ งนี ้
k 2
วิธีทา จาก  = , เมื่อ  =
m T
m
จะได้ T = 2
k
2
4 m 4( 3.14 ) 2 ( 4 kg )
ดังนัน้ k = = = 157.75
T2 ( 1 s )2
kg/s2
ตอบ ค่านิจของสปริ งเท่ากับ 157.75 กิโลกรัมต่อวินาทียกกาลังสอง

การแกว่ งของลูกตุ้มอย่ างง่ าย


ลูกตุ้มอย่างง่ายคือ ลูกตุ้มที่ประกอบด้ วยมวลขนาดเล็ก ตามอุดม
คติเป็ นจุด แขวนที่ปลายด้ ายหรื อเชือกอ่อน โดยธรรมชาติวตั ถุแขวนห้ อยใน
แนวดิ่งเป็ นตาแหน่งสมดุล เมื่อดึงวัตถุให้ เอียงทามุมเล็กๆ กับแนวดิ่งแล้ ว 
ปล่อยให้ วตั ถุเคลือ่ นที่แกว่งกลับไปมา ซึง่ จะพิจารณาได้ ว่าเป็ นการเคลื่อนที่
แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย
T
ถ้ าแกว่ง ลูกตุ้มมวล m ผูก กับเส้ น เชื อ กยาว L เอี ยงเป็ นมุม 
x
เรเดียนกับแนวดิ่ง
ลูกตุ้มมวล m จะมีแรงสองแรงกระทาต่อมวล m คือ น ้าหนักของ mg sin mg cos
ลูกตุ้ม mg และแรงในเส้ นเชือก T ซึ่งทามุม  เรเดียนกับแนวดิ่ง ดังรู ป 6. mg
สองแรงนี ้รวมกันได้ แรงลัพธ์ เป็ น mg sin ตามแนวเส้ นสัมผัสซึง่ ตังฉากกั ้ บ
รู ป 6. ลูกตุม้ แกว่งทำมุม 
เส้ นเชือก
เนื่องจากแรง mg สามารถคิดแยกออกเป็ น 2 แรงในแนวตังฉากกั ้ น ดังรู ป จะเห็นว่าแรง mg
sin เป็ นแรงที่ดึงมวล m กลับสูต่ าแหน่งสมดุล ให้ แรงนี ้เป็ นแรง F ขณะที่ mg cos มีขนาดเท่ากับ T
ทาให้ เชือกตึงยาวเท่าเดิม เมื่อคานึงถึงทิศด้ วย แรงลัพธ์ F คือ
F = - mg sin
ถ้ ามุม  เป็ นมุมเล็กๆ การเคลือ่ นที่โค้ งประมาณได้ วา่ เป็ นเส้ นตรง คือ การกระจัด x และ sin =
x
L
x
จะได้ F = - mg
L
จากกฎการเคลือ่ นที่ข้อที่สองของนิวตัน F = ma
Physics By Kru Jittakorn 7 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

x
จะได้ - mg = ma
L
g
a = - x
L
จะเห็นว่า ความเร่งของลูกตุ้มแปรผันตรงกับการกระจัด และมีทิศตรงกันข้ ามการแกว่งของลูกตุ้ม
จึงเป็ นการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่ายด้ วย
เนื่องจากอัตราเร่งของการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย
คือ a = - 2x
g
ดังนัน้ - 2x = - x
L
g
2 = , และ  = 2f
L
1 g
จะได้ f =
2 L
L
และ T = 2
g
L
สมการ T = 2 อาจนับว่าเป็ นสมการที่ทานายคาบของลูกตุ้มอย่างง่ายจากที่ได้
g
วิเคราะห์มาตามหลักการของการเคลือ่ นที่ที่ต้องเป็ นไปตามกฎของนิวตัน
สรุปการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย จึงอาจจะเขียนได้ ในรูปที่ซงึ่ มีการกระจัดเป็ นฟั งก์ชนั ของเวลา
x = A cos t ………..*****
v = A sint ………..*****
v =  A2 - x2 …………*****
vm = A …………*****
a = 2A cost …………*****
a = 2x …………*****
am = 2A …………*****
ตัวอย่ าง ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กรัม แกว่งแบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย มีแอมพลิจูด 2 มิลลิเมตร ความเร่ ง
ที่จุดปลายของการแกว่งมีคา่ 8x103 เมตรต่อ(วินาที)2
ก. จงหาความถี่ของการแกว่ง
ข. จงหาความเร็ วที่จุดสมดุล
ค. จงหาความเร็ วเมื่อวัตถุมีการกระจัด 1.2 มิลลิเมตร
ง. จงเขียนสมการแสดงแรงที่กระทาต่อลูกเหล็กทรงกลมให้ เป็ นฟั งก์ชนั่ ของตาแหน่ง และเวลา
วิธีทา ก. หาความถี่ของการแกว่ง
Physics By Kru Jittakorn 8 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

จาก am = - 2A
คิดเฉพาะขนาด am = 2A
am
 =
A
8x10 3 m/s 2
 = = 2x103 rad/s = 2,000
2x10 -3 m
rad/s
 = 2f
 2000 7000
f = = 22 = = 3.18x102 Hz
2 2( ) 22
7
ข. หาความเร็ วที่จุดสมดุล
จาก vm = A
v = ( 2,000 rad / s )( 2x10- 3 m )
v = 4 m/s
ค. หาความเร็ วเมื่อวัตถุมีการกระจัด 1.2 มิลลิเมตร
v =  A2 - x2
v = ( 2,000 rad/s ) (2x10 -3 m) 2 - ( 1.2x10 -3 m) 2
v = 3.2 m/s
ง. เขียนสมการแสดงแรงที่กระทาต่อลูกเหล็กทรงกลมให้ เป็ นฟั งก์ชนั่ ของตาแหน่ง และเวลา
เขียนสมการแสดงแรงที่กระทาต่อลูกเหล็กทรงกลมให้ เป็ นฟั งก์ชนั่ ของตาแหน่ง
จาก F = ma
F = m(- 2x )
F = - ( 1x10- 3 )( 2,000 )2x
F = - 4,000 x ฟั งก์ชนั่ ของตาแหน่ง
เขียนสมการแสดงแรงที่กระทาต่อลูกเหล็กทรงกลมให้ เป็ นฟั งก์ชนั่ ของเวลา
จาก F = ma
F = m(- 2 A cost )
F = - ( 1x10- 3 )( 2,000 )2 ( 2x10- 3 ) cos 2,000t
F = - 8 cos 2,000t ฟั งก์ชนั่ ของเวลา
Physics By Kru Jittakorn 9 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

แบบฝึ กหัดเรื่องการเคลื่อนแบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


1. จงอธิบายลักษณะของการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่าย แล้ วยกตัวอย่างในชีวิตประจาวันอย่างน้ อย
3 ตัวอย่าง...........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
2. จงเขียนสมการดังต่อไปนี ้
คาบ(การแกว่งของลูกตุ้ม) ....................................................................................................................
คาบ(มวลติดสปริ ง).................................................................................................................................
ความถี่(การแกว่งของลูกตุ้ม) ................................................................................................................
ความถี่(มวลติดสปริ ง).............................................................................................................................
3. จงทาเครื่ องหมายหน้ าข้ อที่เป็ นการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่ายและหน้ าข้ อที่ไม่ใช่การ
เคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิก อย่างง่าย
................ 1. แขวนลูกตุ้มด้ วยเชือกในแนวดิง่ ผลักลูกตุ้มให้ แกว่งเป็ นวงกลม โดยเส้ นเชือกทามุมคงตัวกับแนวดิง่
................ 2. แขวนลูกตุ้มด้ วยเชือกในแนวดิง่ ดึงลูกตุ้มออกมาจนเชือกทามุมกับแนวดิง่ เล็กน้ อยแล้ วปล่อยมือ
................ 3. ผูกวัตถุกบั ปลายสปริงในแนวระดับ ตรึงอีกด้ านของสปริงไว้ ดึงวัตถุให้ สปริงยืดออกเล็กน้ อยแล้ วปล่อยมือ
............... 4. ผูกวัตถุกบั ปลายสปริงในแนวดิง่ ตรึงอีกด้ านของสปริงไว้ ดึงวัตถุให้ สปริงยืดออกเล็กน้ อยแล้ วปล่อยมือ
4. การแกว่งที่ของลูกตุ้มจากจุด A ไป B ไป C แล้ วกับมาที่จุด B ใช้ เวลา 6 วินาที อยากทราบว่า คาบของ
ลูกตุ้มเท่ากับเท่าไร
วิธีทา ..........................................................................................................
..................................................................................................................
...................................................................................................................

5. ลูกตุ้มเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่างง่ายได้ 20 รอบ ใช้ เวลา 4 วินาที ความถี่ในการแกว่งจะมีขนาด


เท่าใด
วิธีทา ........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

6. จงเขียนเหตุการณ์ที่ทาให้ การแกว่งของวัตถุที่ติดกับสปริ งมีคาบของการแกว่งเท่ากับ 10 วินาที


................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
7. จงเขียนเหตุการณ์ที่ทาให้ การแกว่งของวัตถุที่ติดกับสปริ งมีความถี่ของการแกว่งเท่ากับ 10 วินาที
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
Physics By Kru Jittakorn 10 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

แบบฝึ กหัดเรื่องการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


1.ถ้ าความยาวของสายลูกตุ้มที่เคลือ่ นที่แบบซิมเปิ ลฮาร์ โมนิคเพิ่มขึ ้น 0.2 % คาบของการแกว่งจะ
ก. เพิ่มขึ ้น 0.1 % ข. เพิ่มขึ ้น 0.2 % ค. เพิ่มขึ ้น 0.4% ง. ลดลง 0.1 % จ. ลดลง0.2 %
2. ในการทดลองเพื่อหาความเร่งเนื่องจากแรงโน้ มถ่วงของโลก (g ) โดยใช้ ลกู ตุ้มซึง่ บันทึกความยาวของ
สายลูกตุม่ (  ) และการแกว่ง ( T ) ค่า g สามารถหาได้ จากความชันของกราฟระหว่าง
ก. T กับ 1/  ข. T กับ  ค. T กับ  2 ง. T2 กับ  จ. Log T กับ log 
3. ลูกตุ้มนาฬิกาอย่างง่ายยาว 1.5 m แกว่งได้ 100 รอบ ในเวลา 246 s ความเร่งเนื่องจากแรงโน้ ม
ถ่วง ณ ที่นนเป็ั ้ นเท่าใด
ก. 0.248 m/s2 ข. 3.115 m/s2 ค. 4.829 m/s2
ง. 9.785 m/s2 จ. 24.072 m/s2
4. มวล 0.01 kg ติดสปริ งซึง่ ตังไว้ ้ ในแนวดิ่ง ค่านิจสปริ ง 100 ถ้ าทาให้ เกิดการสัน่ ขึ ้น -ลงของสปริ งมวล
นันจะสั
้ นด้ ้ วยความถี่เท่าใด
ก. 0.063 Hz ข. 0.63 Hz ค. 6.3 Hz ง. 1.59 Hz จ. 15.9 Hz
5. เมื่อแขวนน ้าหนักอันหนึง่ ไว้ กบั ขดสปริ งที่ยาวและเบา ปรากฏว่าสปริ งยืด 10 cm จงหาคาบเวลาการ
สัน่ เมื่อดึงลงมาเล็กน้ อยแล้ วปล่อย
ก. 0.20 s ข. 0.31 s ค. 0.63 s ง. 1.26 s จ. 3.95 s
6. มอเตอร์ ไฟฟ้ ามวล 20kg ติดตังบนสปริ
้ ง 4 ตัว แต่ละตังมีคา่ นิจสปริ ง 2500N/m คาบเวลาการสัน่
ของมอเตอร์ ไฟฟ้ าในแนวดิ่งเป็ นเท่าใด
ก. 0.14 s ข. 0.16 s ค. 0.28 s ง. 0.56 s จ. 1.76 s
7.เหล็กสปริ งแบนๆ ยาวพอสมควรถูกตรึงไว้ กบั ที่ที่ปลายล่าง ส่วนที่ปลายบนมีลกู กลมมวล 2 kg ติดไว้ เมื่อ
ออกแรง 8 N สามารถดึงให้ ลกู กลมโยกไปข้ างหนึง่ ได้ 20 cm คาบเวลาการสัน่ ของลูกกลมเป็ นเท่าใด
สมมติลกู กลมเคลือ่ นที่แบบซิมเปิ ลฮาร์ โมนิค
ก. 0.44 s ข. 0.70 s ค. 1.40 s ง. 2.81 s จ. 8.83 s
8.กรอกปรอท 10 kg ลงในหลอดแก้ วรูปตัว ซึง่ มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1.2 cm ปรอทกระเพื่อมขันลงรอบ ้
ตาแหน่งสมดุล คาบเวลาของการกระเพือ่ มขึ ้นลงเป็ นเท่าใด กาหนดความหนาแน่น สัมพัทธ์ ของปรอท
เท่ากับ 13.6
ก. 0.54 s ข. 1.08 s ค. 3.58 s ง. 6.97 s จ. 21.34 s
9.อนุภาคหนึง่ เคลือ่ นแบบซิมเปิ ลฮาร์ โมนิค ด้ วยแอมปลิจูด A และคาบเวลา T จงหาเวลาที่ใช้ ในการ
A
เคลือ่ นที่จากจุดที่มีการกระจัด ไปยังจุดที่มีการกระจัด A
2
ก. T/12 ข. T/6 ค. T/4 ง. T/3 จ. T/2
10. อนุภาคหนึง่ เคลือ่ นที่แบบซิมเปิ ลฮาร์ โมนิคโดยมีแอมปลิจูดเท่ากับ 2 mm และความถี่ 100 Hz
ขณะที่การกระจัดของอนุภาคเป็ น 1 mm ความเร็ วจะมีคา่ เท่าใด
ก. 0.63 m/s ข. 1.09 m/s ค. 1.26 m/s ง. 10.9 m/s จ. 12.6 m/s
Physics By Kru Jittakorn 11 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

11. จากข้ อ 10 ขณะที่การกระจัดของอนุภาคเป็ น 1 mm ความเร่ง มีคา่ เท่ากับ


ก. 39.5 m/s2 ข. 62.8 m/s 2 ค. 79.0 m/s2 ง. 394.8 m/s2 จ. 789.6 m/s2

สปริ งเบา S1, S2 และ S3 มีคา่ นิจสปริ ง K1, K2, K3 ตามลาดับ


จงตอบคำถำมข้ อ 12-16
12. สปริ ง S1 และ S2 มีคา่ นิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกับมวล m ดังรูป มวล m จะสัน่ ด้ วยคาบ
เท่าใด
2m m
ก. 2  ข. 2 
k1  k 2 k1  k 2

1 m 1 1
ค. ง. 2 m(  )
2 k1  k 2 k1 k 2
mk 1k 2
จ.2
k1  k 2

13. สปริ ง S1 และ S2 มีคา่ นิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกัน แล้ วผูกติดกับมวล m ดังรูป มวล m
จะสัน่ ด้ วยคาบเวลาเท่าใด
1 1  m
ก. 2 m   ข. 2
 1
k k 2  k1  k 2
mk 1 k 2
ค. 2 ง. 2 2m / k 1  k 2 
k1  k 2
จ. 2 m /k1  k 2 
14. สปริ ง S1 และ S2 มีคา่ นิจ K1 และ K2 ตามลาดับ ผูกติดกัน แล้ วผูกติดกับมวล m แขวน
ในแนวดิ่ง ดังรูป มวล m จะสัน่ ด้ วยคาบเวลาเ
ก. 2 (k1  k 2 )m ข. 2  m /k1  k 2 )
ค. 2  2m /k1 k 2 ) ง. 2  mk 1k 2 /k1  k 2 )
1 1
จ. 2  2m(  )
k2 k2
15. สปริ ง S1, S2 และ S3 มีคา่ นิจ K1 , K2 และ K3 ตามลาดับ ผูกติดกับมวล m ดังรูป ค่านิจรวมของ
สปริ งเท่ากับเท่าใด
ก. 1
k 1  k 2  k 3  ข. k1  k 2  k 3
3
1 1 1
ค. 3 k 1 .k 2 .k 3 ง.  
k1 k 2 k 3
 1 1 1 
จ. 1 /   
 k1 k 2 k 3 
Physics By Kru Jittakorn 12 เคลือ่ นที่แนวโค้ ง

16.จากรูป ค่านิจรวมของสปริ งทังสามเท่


้ ากับเท่าใด ถ้ า K1 , K2 และ K3 เป็ นค่านิจของสปริ งทังสาม

1 1 1 1 1 1 
ก.   ข. 1 /    
k1 k 2 k 3  k1 k 2 k 3 
ค. k1  k 2  k 3 ง. 1
k1  k 2  k 3 
3
จ. 3 k 1 .k 2 .k 3

17.อนุภาคเคลือ่ นที่บนผิวโค้ งของภาชนะซึง่ เรี ยบลืน่ โดยมีมมุ ที่รองรับแนวทางการเคลือ่ นที่ที่จุดศูนกลาง


π
โตที่สดุ rad
15
ดังรูป จงหาความถี่ในการเคลือ่ นที่ของอนุภาคนี ้ ถ้ า r = 10 m
ก. 0.16 Hz ข. 3.14 Hz
ค. 0.32 Hz ง. 6.28 Hz
จ. 1.57 Hz

18. มวล 60 g สัน่ แบบชิมเปิ อฮาโมนิก แอมปลิจูด 8 cm และคานเวลา 4 s พลังงานจลน์สงู สุดใน


ระหว่างการเคลือ่ นที่มีคา่
ก. 4.8 105 J ข. 4.74 104 J ค. 9..48 104
ง. 7.52 103 J จ. 3.76 103 J

19. ลูกตุ้มของ Simple pendulum หนัก 0.500 N สายลูกตุ้มยาว 120 cm ความตึงในสายลูกตุ้ม


เท่ากับเท่าใด ในขณะที่ลกู ตุ้มผ่านจะศูนย์กลางการสัน่ กาหนดแอมปลิจูด 6 cm
ก. 0.500 N ข. 0.501 N ค. 0.510 N
ง. 0.750 N จ. 1.000 N

20. ข้ อใดเป็ นการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ นิกอย่างง่าย


ก. แกว่งลูกต้ มเป็ นวงกลม ข. มอร์ เตอร์ ไซไต่ถงั
ค. สปริ งแก่วงกลับไปกลับมา ง. สปริ งแก่วงเป็ นวงกลม

You might also like