Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ


8.8 สภาพยืดหยุ่น
สภาพยืดหยุ่น (elasticity) คือสมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างเมื่อมีแรงกระทา
และสามารถคืนตัวกลับสู่ สภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทา
สภาพพลาสติก (plasticity) คือสมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรู ปร่ างไปอย่างถาวร โดยผิว
วัตถุไม่ฉีกขาดหรื อแตกหัก
พิจารณาตัวอย่างการออกแรงดึงสปริ งต่อไปนี้ เมื่อออก
แรงดึง (หรื อกด) สปริ ง (หรื อเส้นลวด) จะพบว่าในขอบเขต
หนึ่งความยาวที่เปลี่ยนไป (x) จะแปรผันตรงกับแรงกระทา (F)
( กฎของฮุก , Hooke’s law ) เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัม
พันธ์ระหว่างแรง ( F ) กับความยาวที่เปลี่ ยนไป ( x ) จะได้กราฟเป็ นเส้นตรงดังช่วง 0a ในรู ป
จุด a นี้ เรี ยกขีด จ ากัด การแปรผันตรง (proportional limit) เมื่ อออกแรงมากกว่าจุ ด a ไป
เล็กน้อยจนถึงจุด b ความยาวจะเปลี่ยนไปเพียงเล็กน้อย และเมื่อหยุดแรงกระทาสปริ งจะยังคง
กลับไปอยู่ในสภาพเดิ มได้ จุด b นี้ เรี ยกขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น (elastic limit) และเมื่อออก
แรงมากเกิ นกว่าจุด b สปริ งจะเปลี่ ยนรู ปร่ างไปอย่างถาวร ไม่สามารถกลับคืนสู่ สภาพเดิ มได้
อีก และถ้าออกแรงไปถึ งจุด c เส้ นวัสดุ จะขาด จุด c นี้ เรี ยกจุ ดแตกหัก (breaking point)
และสภาพของวัสดุช่วง bc ก็คือสภาพพลาสติก
F
c
a
* * *b (จุดแตกหัก)
(ขีดจำกัดสภำพยืดหยุน่ )
(ขีดจำกัดกำรแปรผันตรง)

0 x
ช่วง 0a ระยะยืดกับแรงจะแปรผันตรงต่อกัน เมื่อหมดแรงกระทาสปริ งจะคืนสภาพเดิมได้
ช่วง ab ระยะยืดกับแรงจะไม่แปรผันตรงต่อกัน เมื่อหมดแรงกระทาสปริ งยังคืนสภาพเดิมได้
ช่วง bc เมื่อแรงกระทาหมดไปสปริ งจะไม่คืนสภาพเดิม เมื่อถึงจุด c สปริ งจะขาด

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8.1 ความเค้ น และ ความเครียด
พิจารณาตัวอย่างดังรู ป เมื่อเส้นลวดถูกแรงดึง F ทุกๆ
ส่ วนของภาคตัดขวางของเส้นลวดจะได้รับแรงกระทาเป็ น F
อย่างสม่าเสมอ อัตราส่ วนระหว่างแรงกระทากับพื้นที่ภาคตัด
ขวางของเส้นลวด เรี ยกว่าความเค้ นดึง (tensile stress)
นัน่ คือ s = AF
เมื่อ s คือความเค้น ( นิวตัน/เมตร2)
F คือแรงเค้น ( นิวตัน )
A คือพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด (เมตร2) F = mg
โดยทัว่ ไปความเค้นมี 2 ชนิด
1. ความเค้ นตามยาว ( longitudinal stress) เกิดจากแรงกระทาตามแนวยาวของวัตถุ
ซึ่ งได้แก่ ความเค้ นดึง (tensile stress) เกิดจากแรงดึง
และ ความเค้ นอัด (compressive stress) เกิดจากแรงกดหรื อแรงอัด
2. ความเค้ นเฉือน (shear stress) เกิดจากแรงเฉื อน

เมื่อเส้นลวดถูกแรงกระทาความยาวของเส้นลวดจะเปลี่ยนไป อัตราส่ วนระหว่างความ


ยาวที่เปลี่ยนไปต่อความยาวเดิม เรี ยกความเครียด ( strain )
นัน่ คือ e = L L
0
เมื่อ e คือความเครี ยดตามยาว
L คือความยาวที่เปลี่ยนไป ( เมตร )
Lo คือความยาวเดิม ( เมตร )

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8.2 ค่ ามอดูลสั ของยัง
ค่ามอดูลสั ของยัง (Young’s modulus) เป็ นค่าคงที่ซ่ ึงได้จากอัตราส่ วนของความเค้นต่อ
ความเครี ยด
F
A
นัน่ คือ s
Y = e =   = AF ΔLoL
 L 
 
L 
 o 
เมื่อ E คือค่ามอดูลสั ของยัง ( นิวตัน/เมตร2)
s คือความเค้น ( นิวตัน/เมตร2)
e คือความเครี ยด
F คือแรงเค้น ( นิวตัน )
A คือพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวด ( เมตร2)
Lo คือความยาวเดิม ( เมตร )
L คือความยาวที่เปลี่ยนไป ( เมตร )

30. ในการทดลองหาค่ามอดูลสั โดยใช้น้ าหนัก 450 กิโลกรัม แขวนไว้ที่


ปลายลวดเหล็กยาว 2 เมตร พื้นที่หน้าตัด 0.15 ตารางเซนติเมตร
ปรากฏว่าลวดยืดออก 0.3 เซนติเมตร จงหาความเค้น (นิวตัน/เมตร2 )
1. 1 x 108 2. 2 x 108
M
3. 3 x 108 4. 4 x 108

31. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความเครี ยด


1. 1.0 x 10–3 2. 1.5 x 10–3 3. 2.0 x 10–3 4. 2.5 x 10–3

32. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาค่ามอดูลสั ของยังของลวดเหล็กนี้ ในหน่วยนิ วตัน/ตารางเมตร


1. 1 x 1011 2. 2 x 1011 3. 3 x 1011 4. 4 x 1011

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
33(แนว มช) วัตถุหนัก 100 นิวตัน แขวนด้วยลวดโลหะซึ่ งมีความยาวเดิมเท่ากับ 1 เมตร มีพ้นื
ที่หน้าตัดเท่ากับ 100 ตารางเซนติเมตร ถ้าลวดโลหะนี้มีค่ามอดูลสั ของยังเท่ากับ 20 x 1010
นิวตันต่อตารางเมตร ลวดนี้จะยืดออกเท่าใด
1. 0.5 x 10–6 เมตร 2. 0.5 x 10–7 เมตร
3. 0.5 x 10–12 เมตร 4. 0.5 x 10–11 เมตร

34. ลวดเหล็กเส้นหนึ่งยาว 4 เมตร มีพ้นื ที่หน้าตัด 5 x 10–5 ตารางเมตร จงหาว่าแรงดึงที่ทา


ให้ลวดเส้นนี้ยดื ออก 0.02 x 10–2 เมตร มีค่ากี่นิวตัน
(ค่ามอดูลสั ของยังของลวดเหล็กเท่ากับ 2 x 1011 นิวตันต่อตารางเมตร)
1. 200 2. 300 3. 400 4. 500

35. ลวดโลหะชนิดหนึ่งมีความยาว 1 เมตร ค่ามอดูลสั ของยังเป็ น 2.5x1011 นิวตัน/ตารางเมตร


พื้นที่ภาคตัดขวาง 2 ตารางมิลลิเมตร นาไปยึดติดกับวัตถุมวล m ทาให้ลวดยืดออกไป
อีก 0.01 เมตร จงหาขนาดของมวล m ในหน่วยกิโลกรัม
1. 500 2. 1000 3. 2000 4. 5000

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
36. แท่งโลหะอันหนึ่ งมีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง 3 ตารางเซนติเมตร และมีค่ามอดูลสั ของยังเท่ากับ
2 x 1011 นิ วตัน/ตารางเมตร จงหาว่าจะต้องออกแรงดึ งกี่ นิวตัน จึงจะทาให้แท่งโลหะมี
ความยาวเพิ่มขึ้น 0.01 เปอร์เซ็นต์
1. 5000 2. 5700 3. 6000 4. 7000

37(แนว En) ลวดทาด้วยโลหะต่างชนิดกันสองเส้นยาวเท่ากันมีพ้นื ที่หน้าตัดเป็ น 0.05 และ 0.09


ตารางเซนติเมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองนี้ดว้ ยแรงเท่ากัน มันจะยืดออกเท่ากับ 0.3 และ 0.2
เซนติเมตร ตามลาดับ จงหาอัตราส่ วนของมอดูลสั ของยังของลวดเส้นที่หนึ่ งต่อมอดูลสั ของ
ยังของลวดเส้นที่สอง
27
1. 100 2. 65 3. 65 4. 100
27

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
38. ลวดเหล็กและลวดทองเหลืองยาวเท่ากัน มีพ้นื ที่หน้าตัดเป็ น 0.10 และ 0.15 ตารางเซนติ-
เมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองด้วยแรงเท่ากัน ลวดจะยืดออก 0.25 และ 0.20 เซนติเมตร ตาม
ลาดับ จงหาอัตราส่ วนยังมอดูลสั ของลวดเหล็กและลวดทองเหลือง
1. 3 : 4 2. 4 : 3 3. 5 : 6 4. 6 : 5

39. ลวด 2 เส้น ทาด้วยวัสดุชนิดเดียวกัน ถ้าลวด A ยาวเป็ นครึ่ งหนึ่งของลวด B แต่กลับมี


รัศมี 2 เท่าของลวด B ถ้าต้องการดึงลวดทั้งสองให้ยดื ออกมา โดยให้ความยาวที่ยดื ออกมา
มีขนาดเท่ากันแรงที่ใช้ยดื ลวด A ต้องมีขนาดเท่าใด
1. 1/8 ของแรงที่ใช้ยดื ลวด B 2. 2 เท่าของแรงที่ใช้ยดื ลวด B
3. 4 เท่าของแรงที่ใช้ยดื ลวด B 4. 8 เท่าของแรงที่ใช้ยดื ลวด B

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
40(แนว En) ลวดเหล็ กกล้าส าหรับ ดึ งลิ ฟ ท์ตวั หนึ่ งมี พ้ื นที่ หน้าตัด 10 ตารางเซนติ เมตร ตัว
ลิฟท์ และสัมภาระในลิฟท์มีน้ าหนัก 2000 กิโลกรัม จงหาความเค้น (stress) ในสายเคเบิล
ในขณะที่ลิฟท์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ด 2.0 เมตรต่อ(วินาที)2
1. 24 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2 2. 48 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2
3. 40 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2 4. 32 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2

41. ลวดเหล็กดึ งลิ ฟ ท์มีความเค้นที่ ขีดจากัดความยืดหยุ่นเท่ากับ 2 x 108 นิ วตัน /ตารางเมตร


และมี พ้ืนที่หน้าตัด 1.77 x 10–4 ตารางเมตร ถ้าลิฟท์และสัมภาระมีมวล 2000 กิ โลกรั ม
ลิฟท์น้ ีจะสามารถเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ดเท่าใด ลวดจึงจะไม่ยดื เกินขีดจากัด
(กาหนดให้ g = 10 เมตร/วินาที2)
1. 7.7 เมตร/วินาที2 2. 6.3 เมตร/วินาที2
3. 5.0 เมตร/วินาที2 4. 4.3 เมตร/วินาที2



24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ

เฉลยบทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบ 0.67 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 1.


25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8 สภาพยืดหยุ่น
50. ลวดโลหะยาว 3 เมตร และมี พ้ื น ที่ ห น้ า ตัด 0.25 ตารางเซนติ เมตร จะยืด ออก 0.05
เซนติเมตร เมื่อใช้แรงดึง 10000 นิวตัน จงหาความเค้นดึงและความเครี ยดดึง ตามลาดับ
1. 2 x 108 N/m2 , 1.67 x 10–4 2. 2 x 108 N/m2 , 3.34 x 10–4
3. 4 x 108 N/m2 , 1.67 x 10–4 4. 4 x 108 N/m2 , 3.34 x 10–4

51. ทองแดงมีมอดูลสั ของยัง 1.25 x 1011 นิ วตันต่อตารางเมตร และความเค้นตามยาวที่ ขีด


จากัดสภาพยืดหยุ่น 7.9 x 1010 นิ วตันต่อตารางเมตร ลวดทองแดงยาว 10 เมตร มีพ้ืนที่
หน้าตัด 10 ตารามิลลิเมตร เมื่อออกแรง 50 นิวตัน ดึงลวดทองแดงเส้นนี้ จงหา
ก. ความเค้นตามยาวของลวดทองแดง ข. ความเครี ยดตามยาวของลวดทองแดง
1. ก. 2.5 x 106 N/m2 ข. 2 x 10–5 2. ก. 5.0 x 106 N/m2 ข. 2 x 10–5
3. ก. 2.5 x 106 N/m2 ข. 4 x 10–5 4. ก. 5.0 x 106 N/m2 ข. 4 x 10–5

52(แนว En) แขวนมวล 1000 กิโลกรัม กับเส้นลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว 10 เมตร มีพ้ืนที่


หน้าตัด 2 x 10–4 ตารางเมตร เส้นลวดนี้จะยืดออกเท่าใด ถ้ากาหนดให้ค่ายังมอดูลสั ของ
เส้นนี้เป็ น 2 x 1011 นิวตัน/ตารางเมตร
1. 0.10 เซนติเมตร 2. 0.25 เซนติเมตร
3. 1.00 เซนติเมตร 4. 2.50 เซนติเมตร

53. ลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว L มีพ้นื ที่หน้าตัด A เมื่อนาวัตถุทรงกลมมวล M มาแขวนเข้ากับ


ลวดนี้ แล้วนาปลายลวดข้างหนึ่งไปยึดติดกับเพดานปรากฏว่าลวดยึดออก L จงหาค่ามอ-
ดูลสั ของยังของลวดเส้นนี้
1. AL / Mg L 2. LA / MgL 3. Mg L / AL 4. MgL / L A

54. โลหะชนิดหนึ่งมีค่ามอดูลสั ของยัง Y ถ้านาโลหะนี้ ไปทาเป็ นลวดยาว L มีพ้นื ที่หน้าตัด


A แขวนลวดดังกล่าวด้วยมวล M ทาให้ลวดมีระยะยืด X จงหาว่ามวล M มีค่าเท่าไร
1. XAY LY
2. AXg 3. XAY gL 4. XAY
L gL
38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
55. เสาคอนกรี ตต้นหนึ่งรับน้ าหนักได้สูงสุ ด 20000 กิโลกรัม และจะหดตัวลง 3 มิลลิเมตร
ถ้าเสาคอนกรี ตนี้มีฐานกว้าง 10 เซนติเมตร หนา 20 เซนติเมตร สู ง 4.5 เมตร จงหา
ค่ามอดูลสั ของเสาต้นนี้
1. 1.0 x 1010 นิวตัน/เมตร2 2. 1.5 x 1010 นิวตัน/เมตร2
3. 2.0 x 1010 นิวตัน/เมตร2 4. 2.5 x 1010 นิวตัน/เมตร2

56. มอดูลสั ของยังของเหล็กมีค่า 2 x 1011 นิวตัน/เมตร2 ถ้าแขวนมวล 100 กิโลกรัม ที่


ปลายล่างของแท่งเหล็กพื้นที่หน้าตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยให้ปลายบนตรึ งกับ
เพดาน แท่งเหล็กจะยืดออกเท่าใด
1. 1.0 x10–13 เมตร 2. 4.0 x 10–10 เมตร
3 . 1.0 x 10–8 เมตร 4. 1.0 x 10–7 เมตร

57. ลวดอลูมิเนี ยมยาว 2 เมตร และเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.1 เซนติ เมตร นาเส้ นลวดนี้ ไปยก
วัตถุมวล 1000 กิโลกรัม ลวดจะยืดออกกี่เมตร
( ค่ามอดูลสั ของยังของอลูมิเนียมเท่ากับ 7 x 1010 นิวตันต่อตารางเมตร )
1. 0.15 2. 0.25 3. 0.30 4. 0.35

58. แท่งโลหะอันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร มีคา่ มอดูลสั ของยัง Y = 2 x 1011


นิ วตัน/เมตร2 จงหาว่าต้องออกแรงดึ งกี่ นิวตัน จึ งจะท าให้แท่ งโลหะมี ความยาวเพิ่ ม ขึ้ น
0.01 เปอร์เซ็นต์
1. 5000 2. 5700 3. 6300 4. 7000

59. เมื่อแขวนวัตถุมวล 50 กิโลกรัม เข้ากับเส้นลวด แล้วแขวนกับเพดานพบว่าลวดยืดออก


เป็ น 0.25 % ของความยาวเดิม ถ้าลวดมีพ้นื ที่หน้าตัด 0.4 ตารางมิลลิเมตร จงหาค่า
มอดูลสั ความยืดหยุน่ ของลวดเส้นนี้
1. 2.5 x 108 นิวตัน/ตารางเมตร 2. 5.0 x 1010 นิวตัน/ตารางเมตร
3. 5.0 x 1011 นิวตัน/ตารางเมตร 4. 2.5 x 1012 นิวตัน/ตารางเมตร

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
60. กาหนดให้มอดูลสั สภาพยืดหยุน่ ของเส้นลวดเท่ากับ 2.0 x 1011 นิ วตันต่อตารางเมตร เมื่อ
แขวนวัตถุมวล m ที่ปลายลวดเส้นนี้ ลวดจะยาวออกร้อยละ 0.1 ของความยาวเดิม ถ้าเส้น
ผ่านศูนย์กลางของลวดเท่ากับ 0.5 มิลลิเมตร จงหาขนาดของมวล m
1. 1 กิโลกรัม 2. 2 กิโลกรัม 3. 4 กิโลกรัม 4. 8 กิโลกรัม

61. ลวดเหล็กเส้นหนึ่ง มีความเครี ยดตามความยาว 0.01 มีคา่ ยังมอดูลสั 1011 นิวตัน/ ตาราง-
เมตร พื้นที่หน้าตัด 2 ตารางมิลลิเมตร จงหาแรงดึงในเส้นลวดในหน่วยนิวตัน
1. 1.0x103 2. 2.0x103 3. 3.0x103 4. 4.0x103

62. ลวดโลหะต่างชนิ ดกัน 2 เส้น ยาวเท่ากัน มีพ้ืนที่หน้าตัดเท่ากัน อัตราส่ วนมอดูลสั ของยัง


ของลวดเส้ นที่หนึ่ งต่อลวดเส้ นที่ สอง เป็ น 4 : 5 มี แรงกระทาต่อลวดเส้นที่ หนึ่ งต่อเส้ นที่
สอง 5 : 4 จงหาอัตราส่ วนของระยะยืดของลวดเส้นที่หนึ่งต่อลวดเส้นที่ 2
1. 1 : 1 2. 5 : 4 3. 16 : 25 4. 25 : 16

63. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม แขวนไว้ที่ปลายข้างหนึ่งของลวด x ที่ยาว 1 เมตร ลวด x ยืด


ออก 1 มิลลิเมตร และเมื่อเอามวล 20 กิโลกรัม แขวนกับลวด y ที่ยาว 1.5 เมตร ลวด y
ยืดออก 2 มิลลิเมตร รัศมีของพื้นที่หน้าตัดของลวด x เป็ น 2 เท่า ของรัศมีของพื้นที่หน้า
ตัดของลวด y อัตราส่ วนของค่ามอดูลสั ยังของลวด x ต่อลวด y มีค่าเท่าใด
1. 1 : 6 2. 3 : 8 3. 2 : 3 4. 3 : 4

64. ลวดกลม A และ B ทาจากวัสดุชนิดเดียวกัน ยาวเท่ากัน 5 เมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง


เป็ น 6 และ 8 มิลลิเมตร ตามลาดับ ปลายข้างหนึ่งของลวดทั้งสองยึดตรึ งกับเพดาน ปลาย
ที่เหลือต่างถูกแขวนด้วยมวล 400 กิโลกรัม ลวดทั้งคู่อยูใ่ นแนวดิ่ง ขณะนั้นความเครี ยดตาม
ยาวของลวด A เป็ นกี่เท่าของความเครี ยดตามยาวของลวด B
1. 169 2. 43 3. 43 4. 169

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
65. ลวดทังสเตนมีค่ามอดูลสั ของยังเป็ น 5 เท่าของลวดอะลูมิเนียม เมื่อนาลวดทั้งสองชนิดที่มี
พื้นที่หน้าตัดเท่ากัน ทาการทดลองพบว่าเมื่อออกแรงดึงลวดทั้งสอง ความเครี ยดตามยาว
ของลวดทังสเตนเป็ น 2 เท่าของลวดอะลูมิเนียม แรงดึงที่กระทาต่อลวดทั้งสองนั้น
1. มีค่าเท่ากัน
2. ของลวดทังสเตนเป็ น 10 เท่าของลวดอะลูมิเนียม
3. ของลวดอะลูมิเนียมเป็ น 5 เท่าของลวดทังสเตน
4. ของลวดทังสเตนเป็ น 2.5 เท่าของลวดอะลูมิเนียม

66. ลวดทองแดงและลวดเหล็กกล้ามีพ้นื ที่หน้าตัดเท่ากับ 0.5 ตารางมิลลิเมตร และมีความยาว


1 เมตรเท่ากัน มอดูลสั ของยังสาหรับลวดทองแดงเป็ น 1.2 x 1011 นิ วตันต่อตารางเมตร
และมอดูลสั ของยังสาหรับลวดเหล็ก มีค่าเป็ น 2 x 1011 นิวตันต่อตารางเมตร ถ้านาลวดทั้ง
สองไปแขวนในแนวดิ่งโดยมีกอ้ นน้ าหนัก 100 นิวตัน แขวนที่ปลายลวดความเค้นของลวด
ทั้งสองต่างกันเท่าใด และลวดทั้งสองจะยืดออกจากเดิมต่างกันกี่เมตร
1. 3.4 x 10–3 2. 6.7 x 10–3 3. 3.4 x 10–4 4. 6.7 x 10–4

67. ลวดโลหะเส้นหนึ่งประกอบด้วยส่ วนที่เป็ นเหล็กและทองแดงต่อกันอยู่ มีพ้นื ที่หน้าตัดเท่า


กันคื อ 0.25 ตารางเซนติเมตร และมี ความยาวทั้งหมด 3 เมตร เมื่ อดึ งลวดนี้ ด้วยแรง
10000 นิ วตัน ปรากฏว่าลวดจะยาวกว่าเดิม 0.72 เซนติเมตร จงหาความยาวเดิมของส่ วนที่
เป็ นเหล็ก
( ค่ามอดูลสั ของเหล็กและทองแดงเป็ น 20 x 1010 นิวตัน/เมตร2 และ 12 x 1010 นิวตัน/เมตร2 )
1. 1.1 เมตร 2. 1.5 เมตร 3. 2.0 เมตร 4. 2.1 เมตร

68. รถยนต์ A ลากรถยนต์ B ด้วยความเร่ งคงที่ จากหยุดนิ่ งจนกระทัง่ มีความเร็ ว 36 กิโล-


เมตรต่อชัว่ โมง ภายใน 20 วินาที ถ้ารถยนต์ B มีมวล 1200 กิโลกรัม และถูกลากด้วย
ลวดเหล็กกล้าที่มีค่ามอดูลสั ของยังส์ 200 จิกะนิวตันต่อตารางเมตร ยาว 2 เมตร และมีพ้นื
ที่หน้าตัด 10 ตารางมิลลิเมตร ลวดเส้นนี้จะยืดเท่าใด
1. 0.06 มิลลิเมตร 2. 0.6 มิลลิเมตร 3. 6 มิลลิเมตร 4. 60 มิลลิเมตร
41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
69. ลวดเหล็กกล้าสาหรับดึงลิฟต์ตวั หนึ่งมีพ้นื ที่หน้าตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟท์และสัม-
ภาระในลิฟต์มีน้ าหนักรวม 2000 กิโลกรัม จงหาความเค้น (stress) ในสายเคเบิล ในขณะที่
ลิฟท์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ด 2.0 เมตรต่อวินาที2
1. 64 x 106 นิวตัน/เมตร2 2. 48 x 106 นิวตัน/เมตร2
3. 40 x 106 นิวตัน/เมตร2 4. 32 x 106 นิวตัน/เมตร2

70. ลวดเหล็กเส้นหนึ่งยาว 2 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.4 เซนติเมตร นาไปผูกกับมวล


1000 กิโลกรัม แล้วหย่อนให้มวลนั้นเคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
จงหาว่าลวดจะยืดยาวออกมากกว่าเดิมเท่าไร
(ให้ค่ามอดูลสั ของเหล็ก = 2 x 1010 นิวตัน/เมตร2)
1. 5.2 มิลลิเมตร 2. 6.5 มิลลิเมตร 3. 7.8 มิลลิเมตร 4. 36 มิลลิเมตร

71. ลวดเหล็กกล้ามีขีดจากัดสภาพยืดหยุด 4 x 107 นิวตัน/เมตร2


มีพ้นื ที่หน้าตัด 1x10–3 เมตร2 นามาใช้ยกลิฟท์ที่มีมวลรวม
ลวดเหล็กกล้า
ทั้งสิ้ น 2000 กิโลกรัม ดังรู ป อยากทราบค่าความเร่ งสู งสุ ด
ของลิฟท์ที่จะไม่ทาให้ลวดเหล็กนี้เกินขีดจากัดสภาพยืดหยุน่
ลิฟท์
1. 100.0 เมตร/วินาที2 2. 10.0 เมตร/วินาที2 a

3. 1.0 เมตร/วินาที2 4. 0.1 เมตร/วินาที2

72. โลหะชนิ ดหนึ่ งมีค่ามอดูลสั ยัง 2 x 1010 นิ วตัน/ตารางเมตร มีค่าความเค้นที่ขีดจากัดสภาพ


ยืดหยุน่ 3 x 109 นิวตันต่อตารางเมตร ถ้ามีลวดที่ทาจากโลหะชนิดนี้ยาว 10 เมตร มีพ้นื ที่
หน้าตัด 10 ตารางมิลลิเมตร แขวนลวดดังกล่าวในแนวดิ่ง และต้องการให้มนั ยืดและยาว
สุ ทธิ 12 เมตร ต้องแขวนด้วยมวลเท่าไร
1. 2.4 x 103 กิโลกรัม 2. 4 x 103 กิโลกรัม
3. 2.4 x 104 กิโลกรัม 4. ลวดขาดก่อน

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
73. คานตามรู ปที่แสดงต่อไปนี้ มีจุดรองรับที่ C มีน้ าหนักถ่วง 2000 นิวตัน และ W อยูค่ นละ
ข้างกาหนดให้ ลวดเหล็ก AB มีความยาว 2 เมตร และมีพ้ืนที่หน้าตัด 0.3 ตารางเซนติเมตร
เมื่อคานอยูใ่ นแนวระดับพอดีลวดเหล็ก AB จะยืดออกไปเป็ นระยะเท่าไร ถ้าหากลวดเหล็ก
มีค่ามอดูลสั ของยังส์เท่ากับ 200 x 109
18 m 12 m
นิวตัน/เมตร2 และไม่คิดน้ าหนักคาน A
1. 1 mm
C 2m
2. 2 mm B
3. 10 mm 2000 N w
4. 20 mm

74. ลวดเหล็กยาว 4 เมตร พื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร ผูกยึดกับคานแข็งเบา ABO ที่


จุด B จงหาส่ วนยืดของลวดเหล็กเมื่อมีน้ าหนัก 2000 กิ โลกรัม มากระทาที่จุด A ของคาน
ถ้าเหล็กมีคา่ มอดูลสั ของยังส์เท่ากับ 200 x 109
นิวตัน/ตารางเมตร และ g = 10 เมตร/วินาที2 2 ม.
O
1. 8 มิลลิเมตร
2. 1 มิลลิเมตร A B

3. 24 มิลลิเมตร 2000 kg

4. 12 มิลลิเมตร 6 ม.

75. ลูกตุม้ มีมวล 20 กิโลกรัม สายแขวนลูกตุม้ เป็ นลวดเหล็กยาว 10 เมตร มีพ้นื ที่ภาคตัด
ขวาง 5x10–6 ตารางเมตร ปล่อยให้ลูกตุม้ แกว่งเป็ นมุมกว้าง โดยมีอตั ราเร็ วที่จุดต่ าสุ ด 10
เมตรวินาที ความยาวของเส้ นลวดที่ ยืดเพิ่มขึ้ นจากเมื่อแขวนอยู่นิ่งมีค่าเท่าไร กาหนดค่า
มอดูลสั ของยังส์เท่ากับ 20 x 2010 นิวตัน/เมตร2
1. 4 x 10–3 เมตร 2. 3 x 10–3 เมตร
3. 2 x 10–3 เมตร 4. 1 x 10–3 เมตร



43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป
บทที่ 8 สมดุ ล กลและสภาพยื ด หยุ่ น
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบ 10 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 1. 50 . ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 3.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3.



44

You might also like