Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.

com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ


บทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า งๆ
4.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งรู ปพาราโบลา เกิดจากการ
เคลื่อนที่ หลายมิติผสมกัน ตัวอย่างเช่ นหากเราขว้างวัตถุออกไปในแนวราบจากดาดฟ้ าตึกแห่ ง
หนึ่ง เราจะพบว่าวัตถุจะมีความพยายามที่จะเคลื่อนที่ไปใน แกน X
แนวราบ ( แกน X ) ตามแรงที่เราขว้าง พร้อมกันนั้นวัตถุ
จะถูกแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงให้เคลื่อนที่ตกลงมาในแนว
ดิ่ง ( แกน Y ) ด้วย และเนื่องจากการเคลื่อนที่ท้ งั สองแนว
แกน Y
นี้เกิดในเวลาเดียวกัน จึงเกิดการผสมผสานกันกลายเป็ น
การเคลื่อนที่แบบเส้นโค้งพาราโบลาพุ่งออกมาระหว่างกลางแนวราบ (แกน X ) และแนวดิ่ง
( แกน Y ) ดังรู ป การเคลื่อนที่ในวิถีโค้งแบบนี้เรี ยกว่าเป็ น การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์
การค านวณเกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์น้ นั ต้องแยกคิดแกนย่อย (แกน X ,
แกน Y) ทีละแกน สุ ดท้ายจึงนาคาตอบของแกนย่อยเหล่านั้นมาหาคาตอบลัพธ์ของโพรเจกไทล์
1. ขว้างลูกบอลจากที่สูงออกไปในแนวราบด้วยอัตรา vx = 3 m/s
เร็ว 3 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที
จะมีการกระจัดเท่าไร
1. 6 เมตร 2. 20 เมตร
3. 17.35 เมตร 4. 436 เมตร

52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
2. ขว้างลูกบอลจากที่สูงออกไปในแนวราบด้วยอัตราเร็ว 3 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 0.4
วินาที อัตราเร็วที่ปรากฏจะเป็ นกี่เมตร/วินาที และ vx = 3 m/s
ทิศทางการเคลื่อนที่จะทามุมเท่าไรกับแนวระดับ
1. 3 เมตร/วินาที , tan –1 ( 35 )
2. 5 เมตร/วินาที , tan –1 ( 53 )
3. 5 เมตร/วินาที , tan –1 ( 43 )
4. 2 เมตร/วินาที , tan –1 ( 43 )

3(แนว En) นักขี่จกั รยานยนต์ผาดโผน ต้องการจะขี่ขา้ ม


h
คลองซึ่ งกว้าง 5 เมตร ไปยังฝั่งตรงข้าม ถ้าเขาขับ
รถด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ก่อนพ้นฝั่งแรก 5m
เขาจะข้ามได้โดยไม่ชนฝั่งตรงข้าม h มีค่าได้มาก 45o
ที่สุดกี่เมตร

53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
ข้ อน่ าสนใจเกีย่ วกับการเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์
1. ถ้าเราปล่อยวัตถุให้ตกจากที่สูงในแนวดิ่ง วัตถุน้ ี
จะเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงลงมาในแนวดิ่ง พร้อมกับขว้าง
วัตถุอีกก้อนออกไปในแนวราบจากจุดเดียวกันกับก้อน
แรก วัตถุน้ ีจะเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ดังรู ป วัตถุ
ทั้งสองจะตกถึงพื้นพร้อมกัน แต่จุดกระทบพื้นจะอยูค่ นละจุด และความเร็ วปลายของก้อนที่
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะมีท้ งั ความเร็วของทั้งแกน X และแกน Y จึงทาให้กอ้ นนี้ มีความเร็ ว
ปลายมากกว่าของก้อนที่เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงลงมา เพราะก้อนนี้จะมีความเร็วปลายของแกน Y
อย่างเดียวเท่านั้น
2. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสู่ อากาศแล้วปล่อยให้ตกลงมาถึงระดับเดิม
เวลาที่วตั ถุลอยในอากาศ ( t ) = ( 2 u gsin ) sY
2
ระยะทางที่วตั ถุข้ ึนไปได้สูงสุด ( sy ) = ( u sin 2
2g )
ระยะทางตามแนวราบเมื่อวัตถุลงมาถึงระดับเดิม (sx) = ( ug2 sin 2 ) = ug2 2 sin cos
เมื่อ u คือความเร็วต้น ( เมตร/วินาที )
 คือมุมที่ความเร็ วต้นเอียงกระทากับแนวราบ
g คือความเร่ งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก ( เมตร/วินาที 2 )
3. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสู่ อากาศแล้วตกลง
มาถึงระดับเดิม ถ้าความเร็วต้นเอียงทามุม 45o กับ
 = 45o
แนวราบ วัตถุจะเคลื่อนที่ไปได้ไกลที่สุดในแนวราบ

4. เมื่อขว้างวัตถุข้ ึนจากพื้นเอียงทามุมกับแนวราบ
 กับ 90o–  ด้วยความเร็ วต้นเท่ากัน วัตถุจะเคลื่อน
ได้ระยะทางในแนวราบ ( Sx ) เท่ากันเสมอ
5. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสู่ อากาศแล้วตกลง
มาขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ข้ ึนและลง ที่ระดับความสู ง
เดียวกัน อัตราเร็วและมุมที่ความเร็วกระทากับแนว
ราบจะมีขนาดเท่ากัน
54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
6. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวราบ ในแนวดิ่งและเวลาที่ใช้เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะ
มีค่าเท่ากัน นัน่ คือ tX = tY = tรวม
7. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้น จะได้วา่
sy
sx = 14 tan
เมื่อ sy คือ ระยะสู งในแนวดิ่ง ( เมตร )
sx คือ ระยะไกลในแนวราบ ( เมตร )
 คือ มุมที่ความเร็ วต้นเอียงกระทากับแนวราบ

4. ขีปนาวุธถูกยิงจากพื้นด้วยความเร็ว 60 เมตร/วินาที ในทิศทามุม 30o กับแนวระดับขีปนาวุธ


นั้น ลอยอยูใ่ นอากาศนานเท่าใดจึงตกถึงพื้นและขณะที่อยูจ่ ุดสู งสุ ดนั้นอยูห่ ่างจากพื้นเท่าไร
1. 3 วินาที , 45 เมตร 2. 6 วินาที , 60 เมตร
3. 6 วินาที , 45 เมตร 4. 6 วินาที , 60 เมตร

5(แนว En) ลูกหิ นถูกยิงขึ้ นจากพื้ น ราบด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วิน าที ในแนวท ามุ ม 30
องศากับแนวราบ จงหาว่าลูกหิ นจะตกถึงพื้นที่ระยะห่างจากจุดเริ่ มต้นเท่าใด
1. 100 3 m 2. 80 3 m 3. 40 3 m 4. 20 3 m

55
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
6(แนว En) เมื่อขว้างหิ นก้อนหนึ่ งด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วิ นาที พบว่าหิ นก้อนนี้ ตกถึ ง
พื้นราบด้วยความเร็วที่ทามุม 60 องศากับแนวดิ่งหิ นก้อนนี้จะขึ้นไปได้สูงสุ ดเท่าใด
1. 5.25 m 2. 11.25 m 3. 15.00 m 4. 17.50 m

7(แนว En) ถ้าต้องการขว้างลูกบอลลูกหนึ่ งจากพื้ นราบให้ได้ระยะทางตามแนวราบเป็ น 4


เท่าของระยะสู งสุ ดตามแนวดิ่ง จะต้องขว้างลูกบอลทามุมเท่าใดกับพื้นราบ
1. tan–1(1) 2. tan–1(4) 3. cot–1(1) 4. cot–1(4)

4.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงตัว


4.2.1 คาบ ความถี่ และอัตราเร็วเชิงเส้ น
ก่อนศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม
นักเรี ยนต้องทาความเข้าใจคาศัพท์ต่อไปนี้ให้ดีก่อน
1. คาบ ( T ) คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มี
หน่วยเป็ นวินาที ( s )
2. ความถี่ ( f ) คือจานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที
หรื อเฮิรตซ์ ( Hz ) เราสามารถหาค่าความถี่ได้จากสมการต่อไปนี้
f = จานวนรอบ
เวลา หรื อ f = T1
เมื่อ f คือความถี่ ( Hz ) , T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )
3. อัตราเร็วเชิงเส้ น ( v ) คืออัตราเร็วของการเคลื่อนที่ตามแนวเส้นรอบวง หาได้จาก
v = 2rf หรื อ v = 2πT r
เมื่อ v คืออัตราเร็วเชิงเส้น ( เมตร/วินาที )
r คือรัศมีการเคลื่อนที่ ( รัศมีวงกลมการเคลื่อนที่ ) ( เมตร )

56
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
8. วัตถุชิ้น หนึ่ งเคลื่ อนที่ เป็ นรู ป วงกลมด้วยอัตราเร็ ว 20 รอบ ในเวลา 4 วินาที จงหา
ความถี่ , คาบ และถ้ารัศมีของการเคลื่อนที่เป็ น 2 เมตร จงหาอัตราเร็ว ตอบตามลาดับ
1. 5 เฮิรตซ์ , 0.2 วินาที , 62.85 เมตร/วินาที
2. 5 เฮิรตซ์ , 0.2 วินาที , 12.6 เมตร/วินาที
3. 10 เฮิรตซ์ , 0.4 วินาที , 6.3 เมตร/วินาที
4. 10 เฮิรตซ์ , 0.4 วินาที , 12.6 เมตร/วินาที

4.2.2 แรงสู่ ศูนย์กลาง และความเร่ งสู่ ศูนย์กลาง


โดยทัว่ ไปแล้วการเคลื่อนที่แบบวงกลม จะมีแรง
เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 แรง เสมอ ได้แก่ แรงหนีศนู ย์กลาง
1. แรงหนีศูนย์กลาง 2. แรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง
ปกติแล้วแรงทั้งสองนี้จะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศ
ตรงกันข้ามดังรู ป และตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เมื่อมีแรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง จะต้องมีความเร่ งเข้าสู่ ศนู ย์ แรงเข้ าสูศ่ นู ย์กลาง
กลางด้วย เราสามารถคานวณหาขนาดของแรงเข้าสู่
ศูนย์กลาง และความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลางได้จากสมการ
Fc = mrv2 และ ac = vr2
เมื่อ Fc = แรงเข้าสู่ศูนย์กลาง (นิวตัน) ac = ความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลาง ( เมตร/วินาที2)
v = อัตราเร็วเชิงเส้น ( เมตร/วินาที) r = รัศมีการเคลื่อนที่ ( เมตร )
m = มวลวัตถุที่เคลื่อนที่เป็ นวงกลมนั้น (kg)
57
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
9(En 27) รถยนต์มีมวล 1000 กิโลกรัม ถ้าวิ่งเลี้ยวโค้งบนถนนซึ่ งมีรัศมีค วามโค้ง 300 เมตร
ด้วยอัตราเร็ ว 108 กิโลเมตร/ชัว่ โมง จะต้องการแรงสู่ ศูนย์กลางขนาดเที ยบเท่าน้ าหนักของ
มวลกี่กิโลกรัม
1. 200 2. 300 3. 400 4. 1200

4.2.3 โจทย์ตัวอย่างเกีย่ วกับการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงที่


ขั้นตอนการคานวณเกี่ยวกับวงกลม มีดงั นี้
1) วาดรู ปเขียนแรงกระทาที่เกี่ยวข้องทุกแรง
2) กาหนดให้ แรงเข้าวงกลม = แรงออกวงกลม แล้วแก้สมการจะได้คาตอบ
10. รถคันหนึ่งมีมวล 1000 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนรางโค้งตี
ลังกาอันมีรัศมี 10 เมตร ด้วยความเร็วคงที่ 30 เมตรต่อ
วินาที ตอนที่รถคันนี้กาลังตีลงั กาอยูท่ ี่จุดสู งสุ ดของราง
โค้ง แรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถมีค่ากี่นิวตัน
1. 40000 นิวตัน 2. 60000 นิวตัน 3. 80000 นิวตัน 4. 100000 นิวตัน

11. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถตอนรถอยูท่ ี่จุดล่างสุ ดของราง


1. 80000 N 2. 90000 N 3. 100000 N 4. 110000 N

58
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
12. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถตอนที่รถอยูท่ ี่จุดตรงกับแนวศูนย์กลาง
รางในแนวระดับ
1. 80000 N 2. 90000 N 3. 100000 N 4. 110000 N

13. ผูกเชือกเบาติดกับลูกบอลมวล 3 กิโลกรัม แกว่งเชือกให้เป็ นวงกลมในแนวดิ่งรัศมี 1 เมตร


ด้วยความเร็วเชิงเส้น 5 เมตร/วินาที จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูท่ ี่ตาแหน่งสู งสุ ด
1. 45 N 2. 50 N 3. 55 N 4. 60 N

14. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูท่ ี่จุดต่าสุ ด


1. 105 N 2. 110 N 3. 115 N 4. 120 N

59
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
15. จากข้อที่ผ่านมา จงหาแรงดึ งของเชื อกขณะที่ลูกบอลอยูท่ ี่ จุดตรงกับแนวศูนย์กลางวงกลม
ในแนวระดับ
1. 55 N 2. 65 N 3. 75 N 4. 85 N

16. จุกยางมีมวล 50 กรัม ผูกติดไว้กบั ปลายเชือกซึ่ งยาว 50 เซนติเมตร ถูกแกว่งให้เป็ นวงกลม


ในแนวราบในอากาศ พบว่าแรงดึงเชื อกมีค่า 10 นิ วตัน อัตราเร็วของจุกยางในแนวเส้น
สัมผัสวงกลมจะมีค่ากี่เมตร/วินาที ( g = 10 m/s2 )

17. วัตถุกอ้ นหนึ่งผูกด้วยเชือกแล้วแกว่งเป็ นวงกลมในแนวระดับรัศมี 0.3 เมตร โดยเส้นเชือก


เอียงทามุม 53o กับแนวราบ ถ้าแรงดึงในเส้นเชือกมีค่าเท่ากับ 50 นิวตัน จงหามวลของวัตถุ
ก้อนนี้ และอัตราเร็วของการเคลื่อนที่เป็ นวงกลม ( cos 53o = 3/5 , sin 53o = 4/5 )
1. 4 kg , 1.5 m/s 2. 8 kg , 3.0 m/s
3. 8 kg , 1.5 m/s 4. 4 kg , 3.0 m/s

60
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
18(แนว En) รถเลี้ ยวโค้งบนทางราบด้วยรัศมี 200 เมตร มี อตั ราเร็ วคงที่ 20 เมตร/วินาที
จงหาค่าสัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานระหว่างล้อรถกับถนนที่ นอ้ ยที่ สุดที่ทาให้รถไม่ไถลออก
นอกเส้นทาง
1. 0.16 2. 0.20 3. 0.24 4. 0.30

ข้ อสังเกตุเกีย่ วกับการเลีย้ วโค้งของรถบนถนน


1) ขณะรถกาลังเลี้ยวมีแรงเสี ยดทานระหว่าง
ยางรถกับพื้นถนนเป็ นแรงผลักเข้าสู่ ศูนย์กลาง
2) กรณี รถมอเตอร์ไซค์เลี้ยวโค้ง จะต้องมี
การเอียงตัวทามุมกับแนวดิ่งขนาดหนึ่ง เพื่อให้
แนวแรงลัพธ์ของแรงเสี ยดทานกับแรงดันพื้นผลัก
ผ่านจุดศูนย์กลางมวลของมอเตอร์ไซด์ มุมที่
เอียงออกไปจากแนวดิ่งจะคานวณหาค่าได้จาก
tan = rv2g
เมื่อ v คือ อัตราเร็วของการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที)
r คือ รัศมีความโค้งของถนน (เมตร)
 คือ มุมที่ มอเตอร์ ไซด์เอียงไปจากแนวดิ่ ง
3) กรณี รถยนต์เลี้ยวโค้งบนถนน ต้องมีการยกพื้นถนนให้เอียงทามุมกับแนวราบขนาด
หนึ่ง เมื่อรถยนต์เลี้ยวโค้งบนถนนตัวรถยนต์จะเอียงตัวทามุมกับแนวดิ่งโดยอัตโนมัติ และมุมที่
รถยนต์เอียงไปจากแนวดิ่งจะเท่ากับมุมที่พ้ืนถนนเอียงทามุมกับพื้นราบ เราหามุมนั้นได้จาก
61
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ

tan = rv2g
เมื่อ v คือ อัตราเร็วของการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที)
r คือ รัศมีความโค้งของถนน (เมตร)
 คือ มุมที่พ้น
ื ถนนเอียงกระทากับแนวพื้นราบ
หรื อรถยนต์เอียงไปจากแนวดิ่ง
19(แนว En) รถจักรยานยนต์วิ่งด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง วิ่งตามทางโค้งซึ่ งมีรัศมี
ความโค้ง 100 เมตร ผิวถนนอยูใ่ นแนวระดับ รถจักรยานยนต์จะเอียงทามุมกับแนวดิ่งเท่าใด
จึงจะไม่ลม้
1.  = tan–1 0.90 2.  = tan–1 0.75 3.  = tan–1 0.50 4.  = tan–1 0.40

20(แนว En) รถยนต์คนั หนึ่ งวิง่ บนทางโค้งด้วยอัตราเร็ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง รัศมีความโค้ง


ของถนน 400.0 เมตร ความกว้างของถนนวัดตามแนวราบเทียบกับจุดต่าสุ ดของด้านในได้
8.0 เมตร จะต้องยกขอบถนนด้านนอกให้สูงกว่าด้านในเท่าใด เมื่อรถวิ่งบนทางโค้งแล้วไม่
ไถลออกนอกเส้นทาง
1. 1.60 เมตร 2. 1.0 เมตร 3. 0.75 เมตร 4. 0.8 เมตร

62
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
21(แนว En) ถ้ายานอวกาศลาหนึ่ งสามารถปรับให้วิ่งวนเป็ นวงกลมรอบดวงจันทร์ ที่ ระยะ
รัศมี 1.8 x 106 เมตร จงหาคาบของการโคจรครบรอบของยานอวกาศลานี้ เมื่ อความเร่ ง
เนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่บริ เวณนั้นของดวงจันทร์มีค่าเป็ น 16 เท่าของความเร่ งที่ผิวโลก
1. 13065 วินาที 2. 8864 วินาที 3. 6532 วินาที 4. 3208 วินาที

22(แนว En) ดาวเทียมเคลื่อนที่ เป็ นวงกลมรอบโลก โดยมีระยะห่างจากผิวโลกเท่ากับรัศมีของ


โลก อัตราเร็วของดาวเทียมมีค่ากี่กิโลเมตรต่อวินาที
( มวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม , รัศมีโลก = 6.4 x 106 เมตร )
1. 16 2. 4 3. 5.7 4. 1.1

63
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
4.2.4 อัตราเร็วเชิงมุม
อัตราเร็วเชิงมุม (  ) คือมุมที่รัศมีกวาดไปได้ใน 1 หน่วยเวลา
เราสามารถหาขนาดของอัตราเร็วเชิงมุมได้จาก
 = t หรื อ  = 2T หรื อ  = 2 f
\

เมื่อ  คือ อัตราเร็วเชิงมุม (เรเดียน / วินาที)


 คือ มุมที่ กวาดไป (เรเดี ยน) 
t คือ เวลาที่ใช้กวาดมุมนั้น (วินาที)
T คือ คาบของการเคลื่อนที่ (วินาที)
f คือ ความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )
เมื่อเราทราบอัตราเร็วเชิงมุม เราจะหาค่าอัตราเร็วเชิงเส้น และความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลางได้จาก
v =  r หรื อ ac = 2 r
เมื่อ v คือ อัตราเร็วเชิงเส้น (เมตร/วินาที)
ac คือ ความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลาง (เมตร/วินาที2)
23( แนว A–net ) เข็มนาฬิกาหมุนรอบหน้าปั ดนาฬิกา 1 รอบ โดยชี้ เวลาเที่ ยงตรง อัตราเร็ ว
เชิงมุมของเข็มวินาทีเป็ นกี่เรเดียนต่อวินาที
1. 0.105 2. 0.6 3. 1.05 4. 6

24. จากรู ปนักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดลองเรื่ องแรงสู่ ศูนย์



กลาง ปรากฎว่าขณะวัตถุอยูห่ ่างออกมาจากแกนหมุน 0.1 m
0.8 เมตร และอยูต่ ่าลงมาจากแนวระดับ 0.1 เมตร 0.8 m
อยากทราบว่าขณะนั้นวัตถุมีอตั ราเร็วกี่เมตร/วินาที
1. 3.0 2. 6.0 3. 8.0 4. 10.0

64
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย
การเคลื่อนที่ แบบฮาร์ มอนิ กอย่างง่าย คือการเคลื่ อนที่ ซ่ ึ งเคลื่อนที่ กลับไปมาซ้ าทางเดิ ม
โดยผ่านตาแหน่งสมดุลโดยมีคาบของการเคลื่อนที่ คงตัว และการกระจัดเป็ นฟั งก์ชนั่ ของเวลา
เป็ นฟังก์ชนั่ รู ปไซน์
4.3.1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ ายของวัตถุติดปลายสปริง
หากเรานาวัตถุติดปลายสปริ งดังรู ป จุดที่วตั ถุอยูต่ อนที่ยงั ไม่มีแรงใดๆ มากระทา จุดตรง
นั้นเราจะเรี ยกจุดสมดุล และเมื่อเราออกแรงดึ งให้สปริ งยืดหรื อกดให้สปริ งหดแล้วปล่อยมือออก
สปริ งจะสั่นทาให้วตั ถุเคลื่อนที่สั่นกลับไปกลับมาผ่านจุดสมดุล การเคลื่อนที่แบบนี้เป็ นการ
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างหนึ่ง ซึ่ งมีสิ่งที่ควรทราบเพิ่มเติมดังนี้
1. ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ผา่ นจุดสมดุล วัตถุจะมีความเร็วสู งที่สุดซึ่ งหาค่าได้จาก
vmax =  A
2. ขณะที่วตั ถุอยูท่ ี่จุดปลายของการเคลื่อนที่
วัตถุจะมีความเร่ งสู งสุ ดซึ่ งหาค่าได้จาก
amax = 2 A

3. เมื่อวัตถุสนั่ ไป แล้วย้อนกลับมาถึงจุดเดิมเรี ยกว่าเป็ นการเคลื่อนที่ได้ 1 รอบ


เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ได้ 1 รอบนี้เรี ยก คาบ ( T ) ซึ่ งหาค่าได้จาก
T = 2 = 2 mk
4. จานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เรี ยกความถี่ ( f ) ซึ่ งหาค่าได้จาก
f = T1 = 2 = 21 mk
เมื่อ vmax คือความเร็วสู งสุด ( ที่จุดสมดุลเท่านั้น ) ( เมตร/วินาที )
amax คือความเร่ งสู งสุ ด ( ที่จุดปลายของการเคลื่อนที่เท่านั้น ) ( เมตร/วินาที 2 )
A คือแอมพลิจูด (ระยะจากจุดสมดุลถึงจุดปลายสุ ดของการเคลื่อนที่ ) ( เมตร )
T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )
65
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
f คือความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )
 คืออัตราเร็วเชิงมุมของการเคลื่อนที่ ( เรเดียน/วินาที )
เราสามารถหาค่าอัตราเร็วเชิงมุมได้จาก
 = mk
เมื่อ m คือมวล ( กิโลกรัม )
k คือค่านิจสปริ ง ( นิวตัน/เมตร) ซึ่ งหาค่าได้จาก
k = SF
เมื่อ F คือแรงที่กระทาต่อสปริ ง ( นิวตัน )
S คือระยะยืดหรื อหดของสปริ งเมื่อถูกแรง F กระทา ( เมตร )

25. สปริ งเบาตัวหนึ่งมีค่านิจ 25 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับ


มวล 1 กิโลกรัม ซึ่ งวางอยูบ่ นพื้นเกลี้ยง ดังรู ป เมื่อดึง
สปริ งออกไป 20 เซนติเมตร แล้วปล่อยมือ มวลก้อน
นี้จะมีอตั ราเร็วเท่าใดเมื่อผ่านตาแหน่งสมดุล
1. 0.2 m/s 2. 1.0 m/s 3. 2.0 m/s 4. 3.0 m/s

26(แนว En) แขวนมวล ที่ปลายหนึ่งของสปริ งที่ มีมวลน้อยมาก ดึ งมวลจากตาแหน่งสมดุล 20


เซนติเมตร แล้วปล่อย อัตราเร็วเชิงเส้นขณะเคลื่อนที่ ผา่ นสมดุลมีค่าเท่าใด ถ้าคาบของการ
แกว่งมีค่า 2 วินาที
1. 0.31 เมตร/วินาที 2. 0.63 เมตร/วินาที
3. 3.14 เมตร/วินาที 4. 6.28 เมตร/วินาที

66
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
27(แนว En) รถทดลองมวล 500 กรัม ติดอยูก่ บั ปลายสปริ ง
500 กรัม
ดังรู ป เมื่อดึงด้วยแรง 5 นิวตัน ในทิศขนานกับพื้น จะ 5N
ทาให้สปริ งยืดออก 10 เซนติเมตร เมื่อปล่อยรถจะเคลื่อนที่
กลับไปมาบนพื้นเกลี้ยงแบบซิ มเปิ ลฮาร์มอนิกด้วยคาบเท่าไร
1. 0.31 s 2. 0.63 s 3. 3.14 s 4. 6.28 s

4.3.2 การแกว่ งของลูกตุ้มอย่ างง่ าย


การแกว่งของลูกตุม้ นั้นเป็ นการเคลื่อนที่
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย อีกแบบหนึ่ง
จุดสมดุลจะอยูต่ รงจุดต่าสุ ดของการเคลื่อนที่ amax amax
ดังรู ป สิ่ งควรทราบเกี่ยวกับการแกว่งได้แก่ vmax
1. ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ผา่ นจุดสมดุล A A
วัตถุจะมีความเร็วสู งที่สุดซึ่ งหาค่าได้จาก จุดสมดุล
vmax =  A
2. ขณะที่วตั ถุอยูท่ ี่จุดปลายของการเคลื่อนที่วตั ถุจะมีความเร่ งสู งสุ ดซึ่ งหาค่าได้จาก
amax = 2 A
3. คาบ ( T ) ของการเคลื่อนที่หาค่าได้จาก
T = 2 = 2 Lg
67
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
4. ความถี่ ( f ) ของการเคลื่อนที่หาค่าได้จาก
f = T1 = 2 = 21 Lg
เมื่อ vmax คือความเร็วสู งสุด ( ที่จุดสมดุลเท่านั้น ) ( เมตร/วินาที )
amax คือความเร่ งสู งสุ ด ( ที่จุดปลายของการเคลื่อนที่เท่านั้น ) ( เมตร/วินาที 2 )
A คืออัมปลิจูด (ระยะจากจุดสมดุลถึงจุดปลายสุ ดของการเคลื่อนที่ ) ( เมตร )
T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )
 คืออัตราเร็วเชิงมุมของการเคลื่อนที่ ( เรเดียน/วินาที )
เราสามารถหาค่าอัตราเร็วเชิงมุมได้จาก
 = Lg
เมื่อ g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( เมตร/วินาที 2 )
L คือระยะจากจุดตรึ งสายแกว่งถึงจุดศูนย์กลางลูกตุม้ ( เมตร )
28(แนว มช) ลูกตุม้ แขวนด้วยเชือกยาว 100 เซนติเมตร เมื่อจับลูกตุม้ ให้เบนออกมาจากตาแหน่ง
สมดุลเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้แกว่งอย่างอิสระความเร็วสู งสุ ดในการแกว่ง
จะมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตร/วินาที
1. 1.58 2. 3.16 3. 15.80 4. 31.62

29(แนว En) ลูกตุม้ A และ B มีเชือกเบายาว 100 และ 25 เซนติเมตร มีมวล 0.2 และ 0.1
กิโลกรัม ตามลาดับ เมื่อแกว่งลูกตุม้ ทั้งสองให้เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย อัตราส่ วน
T
ของคาบของลูกตุม้ ทั้งสอง TA จะเป็ นตามข้อใด
B
1
1. 2 2. 12 3. 2 4. 2

68
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
4.3.3 การหาการกระจัด ความเร็ว ความเร่ ง ณ จุดใดๆ ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย
การหาความเร็ว และความเร่ ง ณ จุดใดๆ หาได้ จากสมการ
Vs =  A 2  x 2
as = 2 x
Vt = A sin ( t)
at = 2 A cos ( t) X
เมื่อ Vs , as = ความเร็ว และ ความเร่ ง ณ จุดห่างจากจุดสมดุล A
Vt , at = ความเร็ว และ ความเร่ ง ณ เวลา t
A = แอมพลิจูด
การหาการกระจัด ณ จุดใดๆ หาได้ จากสมการ
x = A sin (  t )
เมื่อ x = การกระจัด ณ เวลา t จากจุดสมดุล
30. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แบบ SHM ด้วยช่วงกว้าง
1.5 เมตร ความถี่ 50 เฮิรตซ์ จงหาความเร็ว
และความเร่ ง เมื่อการกระจัดเป็ น 1 เมตร
1. 280 m/s , 100000 m/s2
2. 351 m/s , 100000 m/s2 X= 1 m
3. 377 m/s , 50000 m/s2
A=1.5 m
4. 451 m/s , 50000 m/s2

69
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
เฉลยบทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า งๆ
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบ 2.5 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบ 10
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 2.


70
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า งๆ ชุ ด ที่ 1
4.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
1(แนว Pat2) ยิงกระสุ นปื นไปในแนวราบความเร็ว 990 เมตร/วินาที โดยเป้ าอยูห่ ่ างออกไป
แนวในราบ 460 เมตร จะต้องเล็งให้สูงกว่าเป้ ากี่เมตร จึงจะยิงกระสุ นตกใกล้เป้ าที่สุด
1. 0.88 2. 1.06 3. 15.8 4. 4.60 5. 9.80
2. ยิงกระสุ นปื นมวล 50 กรัม ขึ้ นด้วยความเร็ วต้น 100 เมตร/วินาที ท ามุม 60o กับ แนว
ระดับ หลังจากนั้น 5 วินาที กระสุ นตกกระทบเป้ าบนหน้าผาเป้ านั้นอยูส่ ู งจากพื้นระดับที่
ยิงเท่าไร
1. 228.5 เมตร 2. 308 เมตร 3. 375 เมตร 4. 433 เมตร
3(En 32) นักขี่จกั รยานยนต์ผาดโผน ต้องการจะขี่ขา้ ม
h
คลองซึ่ งกว้าง 5 เมตร ไปยังฝั่งตรงข้าม ถ้าเขาขับ
รถด้วยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ก่อนพ้นฝั่งแรก 5m
เขาจะข้ามได้โดยไม่ชนฝั่งตรงข้าม h มีค่าได้มาก 45o
ที่สุดกี่เมตร
4(มช 37) ชายคนหนึ่ งยืนอยูบ่ นตึกสู ง 15 เมตร จากพื้นดิ นขว้างลูกบอลขึ้นไปทามุม 30o กับ
แนวระดับด้วยความเร็ว 20 เมตรต่อวินาที ถามว่าลูกบอลจะตกพื้นดิ นห่ างจุดขว้างในแนว
ระดับกี่เมตร ( g = 10 m/s2 )
5(En42 ต.ค) นักบาสเกตบอลยิงลูกจากระยะในแนวราบ 5 เมตร ห่างจากห่วง ขณะที่ลูกเข้า
ห่วงพบว่ามีความเร็ว 10 เมตร/วินาที ทามุม 60o กับแนวราบ จงหาเวลาที่ลูกบาสเกตบอล
ใช้ในการเคลื่อนที่มาถึงห่วงในหน่วยวินาที
1. 1 2. 2 3. 23 4. 32
6(En46 ต.ค) ลูกหิ นถูกยิงขึ้ นจากพื้ นราบด้วยความเร็ วต้น 40 เมตร/วินาที ในแนวท ามุม 30
องศากับแนวดิ่ง จงหาว่าลูกหิ นจะตกถึงพื้นที่ระยะห่างจากจุดเริ่ มต้นเท่าใด
1. 160 3 m 2. 140 3 m 3. 100 3 m 4. 80 3 m
71
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
7(En 36) เมื่อขว้างหิ นก้อนหนึ่ งด้วยความเร็วต้น 20 เมตร/วินาที พบว่าหิ นก้อนนี้ ตกถึงพื้ น
ราบด้วยความเร็วที่ทามุม 60 องศากับแนวดิ่งหิ นก้อนนี้จะขึ้นไปได้สูงสุ ดเท่าใด
1. 5 m 2. 10 m 3. 15 m 4. 20 m
8(แนว Pat2) ยิงวัตถุดว้ ยอัตราเร็ว 10 m/s ขึ้นท้องฟ้ า ทามุม 30 องศากับแนวระดับ ปรากฏ
ว่าวัตถุตกไม่ถึงตาแหน่งเป้ าหมาย โดยขาดไปอีก 2 เมตร ถ้าจะยิงครั้งที่สองเพื่อให้วตั ถุตก
ที่ตาแหน่งเป้ าหมายพอดี จะต้องยิงด้วยอัตราเร็วเท่าใดในมุมเดิม คาตอบที่ได้อยูใ่ นช่วงคา
ตอบใด (ใช้ g = 10 m/s2)
1. (10.0 , 10.5] m/s 2. (10.5 , 10.7] m/s
3. (10.7 , 11.0] m/s 4. (11.0 , 11.3] m/s
9(En 40) ยิงวัตถุข้ ึนจากพื้นดิ นทามุม  กับแนวระดับ อัตราเร็ วต้น u ถ้าต้องการยิงวัตถุ
อีกก้อนหนึ่งจากพื้นดิ นเพื่อให้ไปตกไกลเท่าก้อนแรก วัตถุกอ้ นหลังนี้ ตอ้ งมีมุมยิงเท่าใดกับ
แนวระดับและอัตราเร็วต้นเท่าใด
1. 2 และ 2u 2. 2 และ u 3. 90o –  และ u 4. 2 และ u2
10(En46 มี.ค.) ถ้าต้องการขว้างลูกบอลลูกหนึ่ งจากพื้ นราบให้ได้ระยะทางตามแนวราบเป็ น
สองเท่าของระยะสู งสุ ดตามแนวดิ่ง จะต้องขว้างลูกบอลทามุมเท่าใดกับพื้นราบ
1. tan–1(2) 2. tan–1(4) 3. cot–1(2) 4. cot–1(4)

4.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงตัว


4.2.1 คาบ ความถี่ และอัตราเร็วเชิงเส้ น
4.2.2 แรงสู่ ศูนย์กลาง และความเร่ งสู่ ศูนย์กลาง
11(En 27) รถยนต์มีมวล 1200 กิโลกรัม ถ้าวิ่งเลี้ยวโค้งบนถนนซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 100 เมตร
ด้วยอัตราเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง จะต้องการแรงสู่ ศูนย์กลางขนาดเที ยบเท่ าน้ าหนักของ
มวลกี่กิโลกรัม
1. 200 2. 240 3. 480 4. 1200
4.2.3 โจทย์ตัวอย่างเกีย่ วกับการเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงที่

72
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
12( แนว Pat2 ) ชายคนหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม ขับรถไปตามถนนด้วยอัตราเร็วคงที่ 20 เมตร
ต่อวินาที ถ้าพื้นถนนมีหลุมที่มีรัศมีความโค้งเท่ากับ 40 เมตร แรงที่เบาะนัง่ กระทากับชาย
คนนี้ ณ ตาแหน่งตา่ สุ ดของหลุมเป็ นเท่าใด
1. 300 N 2. 484 N 3. 784 N 4. 1188 N
13(En48 มี.ค.) รถแข่งมวล 1000 กิโลกรัม กาลังวิ่งบนสะพานโค้งนูนที่ ความเร็ ว 90 กิโล-
เมตร/ชัว่ โมง ตรงยอดสะพานซึ่ งมีรัศมีความโค้งเท่ากับ 100 เมตร จงหาแรงที่ถนนทาต่อรถ
( ให้ใช้ g = 9.8 เมตร/วินาที2 )
1. 9800 N 2. 6250 N 3. 3750 N 4. 3550 N
14(มช 41) ผูกเชือกเบาติดกับลูกบอลมวล 1 กิโลกรัม แกว่งเชื อกให้เป็ นวงกลมในแนวดิ่ งรัศมี
0.2 เมตร ด้วยความเร็ วเชิ งเส้น 4 เมตร/วินาที จงหาแรงดึ งของเชื อกขณะที่ ลูกบอลอยู่ที่
ตาแหน่งสู งสุ ด
1. 50 N 2. 60 N 3. 70 N 4. 80 N
15(แนว Pat2) นาเชือกเบาและเหนียวมากเส้นหนึ่งยาว 1 เมตร ผูกลูกตุม้ มวล 1.0 กิโลกรัมที่
ปลายข้างหนึ่ง ถ้าจับปลายเชือกอีกข้างหนึ่งแกว่งให้ลูกตุม้ เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบดิ่ง
ด้วยอัตราเร็วคงตัว 5.0 เมตรต่อวินาที แรงดึงในเส้นเชือกมีค่าต่าสุ ดกี่นิวตัน
16(En 36) นาวัตถุมวล m ผูกติดเชือกแล้วแกว่งเป็ นวงกลมในระนาบดิ่ง มีรัศมี R อัตราเร็ว
ที่นอ้ ยที่สุดในวงกลมที่วตั ถุจะเคลื่อนที่ มีวิถีเป็ นวงกลมสมบูรณ์ได้จะมีค่าเท่าใด
1. 3Rg 2. 2Rg 3. Rg
2 4. Rg
17(En44 มี.ค.) แขวนมวล m ด้วยเชือกยาว L แล้วทาให้แกว่งขณะที่เชือกทามุม  กับแนว
ดิ่งซึ่ งวัตถุหยุดพอดี จงหาความตึงเชือกขณะนั้น
1. mg (1+ cos) 2. mg (1– cos) 3. mg cos 4. mg sin
18(En45 ต.ค.) แผ่นกลมรัศมี 20 เซนติเมตร อยูใ่ นแนวระดับและกาลังหมุนรอบจุดศูนย์กลาง
ด้วยอัตราเร็ว 0.5 รอบ/วินาที มีมวลรู ปลูกบาศก์เล็กๆ วางที่ขอบของแผ่น สัมประสิ ทธิ์ความ
เสี ยดทานระหว่างมวลกับผิวของแผ่นจะมีคา่ น้อยที่สุดเท่าใด มวลนี้จึงจะไม่เลื่อนไถลไปบน
แผ่นกลมนั้น
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.6 4. 0.8
73
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
19(En 32) เหรี ยญวางอยูท่ ี่ระยะ 20 เซนติเมตร จากศูนย์กลางแผ่นเสี ยง ถ้าสัมประสิ ทธิ์ความ
เสี ยดทานสถิตย์ระหว่างเหรี ยญและแผ่นเสี ยงเป็ น 0.125 จงหาจานวนรอบที่มากที่สุดใน
1 วินาที ที่แผ่นเสี ยงแล้วเหรี ยญยังคงอยูน่ ิ่งเทียบกับแผ่นเสี ยง ( g = 10 m/s2 )
1. 0.10 2. 0.20 3. 0.40 4. 0.50
20(En46 ต.ค) รถเลี้ยวโค้งบนทางราบด้วยรัศมี 100 เมตร มีอตั ราเร็ วคงที่ 16 เมตร/วินาที
จงหาค่าสัมประสิ ทธิ์ความเสี ยดทานระหว่างล้อรถกับถนนที่ นอ้ ยที่ สุดที่ทาให้รถไม่ไถลออก
นอกเส้นทาง
1. 0.16 2. 0.64 3. 0.26 4. 0.40
21(En 34) รถจักรยานยนต์วิ่งด้วยความเร็ว 108 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง วิ่งตามทางโค้งซึ่ งมีรัศมี
ความโค้ง 100 เมตร ผิวถนนอยูใ่ นแนวระดับ รถจักรยานยนต์จะเอียงทามุมกับแนวดิ่งเท่าใด
จึงจะไม่ลม้
1.  = tan–1 0.90 2.  = tan–1 0.75 3.  = tan–1 0.50 4.  = tan–1 0.45
22(En 37) รถยนต์คนั หนึ่งวิ่งบนทางโค้งด้วยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตร/ชัว่ โมง รัศมีความโค้งของ
ถนน 500.0 เมตร ความกว้างของถนนวัดตามแนวราบเทียบกับจุดต่าสุ ดของด้านในได้ 8.0
เมตร จะต้องยกขอบถนนด้านนอกให้สูงกว่าด้านในเท่าใด เมื่อรถวิ่งบนทางโค้งแล้วไม่ไถล
ออกนอกเส้นทาง
1. 1.25 เมตร 2. 1.0 เมตร 3. 0.75 เมตร 4. 0.8 เมตร
23(En 35) ขณะขับรถบนทางโค้งที่ มีรัศมีความโค้ง 200 เมตร ผูข้ บั มองเห็นตุ๊กตาที่ แขวนอยู่
ในรถเอียงทามุม 30o กับแนวดิ่ง ความเร็วของรถขณะนั้นควรเป็ นเท่าใด
1. 31 เมตร/วินาที 2. 34 เมตร/วินาที 3. 54 เมตร/วินาที 4. 59 เมตร/วินาที
24(En 35) ถ้ายานอวกาศลาหนึ่งสามารถปรับให้วิ่งวนเป็ นวงกลมรอบดวงจันทร์ ที่ ระยะรัศมี
1.8 x 106 เมตร จงหาคาบของการโคจรครบรอบของยานอวกาศลานี้ เมื่อความเร่ งเนื่องจาก
แรงโน้มถ่วงที่บริ เวณนั้นของดวงจันทร์มีค่าเป็ น 16 เท่าของความเร่ งที่ผิวโลก
1. 44 นาที 2. 57 นาที 3. 81 นาที 4. 109 นาที
25(En43 มี.ค.) ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรรอบโลกที่ความสู ง 600 กิโลเมตร จากผิวโลกและมี
อัตราเร่ งเนื่องจากความโน้มถ่วงเป็ น 8.2 เมตรต่อ(วินาที)2 จงหาอัตราเร็วของดาวเที ยม
74
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
( รัศมีของโลกคือ 6400 กิโลเมตร )
1. 5.6 km/s 2. 6.6 km/s 3. 7.6 km/s 4. 8.6 km/s
26(En 33) ดาวเทียมเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบโลก โดยมีระยะห่างจากผิวโลกเท่ากับรัศมีของโลก
อัตราเร็วของดาวเทียมมีค่ากี่เมตรต่อวินาที
( มวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม , รัศมีโลก = 6.4 x 106 เมตร )
1. 1.6x104 2. 4.0x103 3. 5.7x103 4. 11.3x103
27(แนว 9 สามัญ) ดาวเทียมดวงหนึ่ งโคจรเป็ นวงกลมรอบโลกด้วยคาบการโคจร 3 ชัว่ โมง ถ้า
ต้องการให้ดาวเที ยมดวงนี้ โคจรด้วยคาบที่เท่ากับการหมุนรอบตัวเองของโลก ดาวเทียมดวง
นี้จะต้องอยูห่ ่างจากศูนย์กลางโลกเป็ นกี่เท่าของวงโคจรเดิม
1. 14 2. 1 3. 2 4. 4 5. 16
28(En43 มี.ค.) ในการทดลองการเคลื่อนที่ แนววงกลมในระนาบระดับ ขณะที่กาลังแกว่งให้จุก
ยางหมุนอยูน่ ้ นั เชือกที่ผกู กับจุกยางขาดออกจากกัน นักเรี ยนคิดว่าขณะที่เชือกขาดภาพการ
เคลื่อนที่ที่สังเกตจากด้านบนจะเป็ นตามรู ปใด ถ้า a เป็ นตาแหน่งของจุกยางขณะที่เชือกขาด
1. 2. 3. 4.
a
a a a

4.2.4 อัตราเร็วเชิงมุม
29( แนว A–net ) เข็มนาฬิกาหมุนรอบหน้าปั ดนาฬิกา 1 รอบ โดยชี้เวลาเที่ยงตรง อัตราเร็ ว
เชิงมุมของเข็มวินาทีเป็ นกี่เรเดียนต่อวินาที
1. 0.105 2. 0.6 3. 1.05 4. 6
30(En 31) วัตถุผกู ติดปลายเชือกแล้วแกว่งเป็ นวงกลมสม่าเสมอ
ตามแนวราบแบบฐานกรวย ถ้ารัศมีของการแกว่งเป็ นวงกลม 50 cm
30 เซนติเมตร และมวลของวัตถุ 0.5 กิโลกรัม เชือกยาว 50 T h
เซนติเมตร อัตราเร็วเชิงมุมของการแกว่งเป็ นกี่เรเดียนต่อวินาที 30 cm
1. 5 2. 7.5 3. 10 4. 25

75
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
31(แนว 9 สามัญ) ลูกตุม้ มวล m ยาว  แขวนจากเพดาน m กาลังเคลื่อนที่ตามแนววงกลมใน
ระนาบระดับ และเชือกทามุม  กับแนวดิ่ง
ตลอดเวลา จงหาคาบของการเคลื่อนที่
1. 2π g 
2. 2 π g cos

3. 2 π  cos
g
 4. 2 π  sin
g


5. 2 π g sin 

32(En42 ต.ค) วัตถุมวล m วางบนจานกลมที่กาลังหมุน ด้วยอัตราเร็วเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที


ถ้าวัตถุวางอยูห่ ่างจากศูนย์กลางของจานเป็ นระยะ r และขณะที่หมุนวัตถุไม่มีการไถล แรง
เสี ยดทานที่กระทาต่อวัตถุเท่ากับเท่าไร
1. 42 m r 2. 42 r2 m 3. 2 m r2 4. 2 m r

4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


4.3.1 การเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ ายของวัตถุติดปลายสปริง
33(En 32) วัตถุชิ้นหนึ่งติดอยูก่ บั ปลายข้างหนึ่งของสปริ งซึ่ งยาว 2 เมตร และมีปลายข้างหนึ่ง
ตรึ งอยูก่ บั ที่ ถ้าวัตถุชิ้นนี้วางอยูบ่ นพื้นราบเกลี้ยง และกาลังเคลื่อนที่แบบซิ มเปิ ลฮาร์โมนิค
โดยมีความเร็วมากที่สุด 2 เมตร/วินาที และมีการขจัดจากจุดสมดุลมากที่สุด 0.5 เมตร
อัตราเร็วเชิงมุมของการเคลื่อนที่น้ ีเป็ นกี่เรเดียนต่อวินาที
1. 0.12 2. 0.25 3. 1.00 4. 4.00
34(En 36) แขวนมวล 100 กรัม ที่ปลายหนึ่งของสปริ งที่มีมวลน้อยมาก ดึงมวลจากตาแหน่ง
สมดุล 10 เซนติเมตร แล้วปล่อย อัตราเร็วเชิงเส้นขณะเคลื่อนที่ผา่ นสมดุลมีค่าเท่าใด ถ้า
คาบของการแกว่งมีค่า 2 วินาที
1. 0.31 เมตร/วินาที 2. 0.99 เมตร/วินาที
3. 3.14 เมตร/วินาที 4. 9.90 เมตร/วินาที

76
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
35(En 35) รถทดลองมวล 500 กรัม ติดอยูก่ บั ปลายสปริ ง
500 กรัม
ดังรู ป เมื่อดึงด้วยแรง 5 นิวตัน ในทิศขนานกับพื้น จะ 5N
ทาให้สปริ งยืดออก 10 เซนติเมตร เมื่อปล่อยรถจะเคลื่อนที่
กลับไปมาบนพื้นเกลี้ยงแบบซิ มเปิ ลฮาร์มอนิกด้วยคาบเท่าไร
1. 0.63 s 2. 0.67 s 3. 1.60 s 4. 2.00 s
36(มช 43) แขวนมวล 2 กิโลกรัม กับสปริ ง แล้วปล่อยให้สนั่ ขึ้นลง วัดคาบของการสัน่ ได้
1 วินาที ถ้าเอามวล 2 กิโลกรัม ออกสปริ งจะสั้นกว่าตอนที่แขวนมวลนี้อยูก่ ี่เมตร
1. 0.08 2. 0.12 3. 0.25 4. 0.40
37(En 42 มี.ค.) แขวนมวลอันหนึ่งติดกับสปริ งแล้วปล่อยให้สั่นขึ้นลง โดยมีคาบการเคลื่อนที่
1 วินาที ถ้าวัตถุอยูน่ ิ่งแล้วปลดมวลออกสปริ งจะหดสั้นกว่าตอนที่แขวนมวลเท่าใด
1. 4g2 2. 4 g 2 3. 4g2 4. g 2
 4
38(มช 44) แขวนมวล m กับสปริ งซึ่ งมีค่าคงตัวสปริ ง k แล้วทาให้สั่นขึ้นลงในแนวดิ่ง วัด
คาบการสั่นได้ To ถ้านามวล 4m มาแขวนแทนที่มวล m แล้วคาบการสั่นจะเป็ นเท่าใด
1. T4o 2. T2o 3. To 4. 2To
39(En47 ต.ค.) แกว่งมวล M และ m ที่ปลาย
สปริ งซึ่ งมีค่านิจสปริ ง k เท่ากันดังรู ป จง k k
หาอัตราส่ วน M m g
1. 4 2. 2 M m
3. 12 4. 14 มีคาบ = T มีคาบ = T2
40(En43 ต.ค.) หากผูกมวล m ติดกับสปริ งในแนวดิ่ง ดึงมวลลงเล็กน้อยแล้วปล่อยให้สั่น พบว่า
สปริ งมีคาบของการสั่น 2 วินาที ถ้าเพิ่มมวลเข้าไปอีก 2 กิโลกรัม สปริ งจะมีคาบการสั่น
3 วินาที จงหาขนาดของมวล m ในหน่วยกิโลกรัม
41(En 37) แขวนสปริ งให้ปลายบนติดแน่นกับจุดคงที่ ปลายล่างมีมวล 4.0 กิโลกรัม แขวนอยู่
แล้วปล่อยให้สั่นขึ้นลงในแนวดิ่ง ปรากฏว่าวัดคาบการสั่นได้ 2.0 วินาที ถ้านามวล 2.0
กิโลกรัม มาแขวนแทนมวล 4.0 กิโลกรัม แล้วปล่อยให้สั่นขึ้นลง จะสั่นด้วยความถี่เท่าไร
1. 1 s 1 2. 2 s 1 3. 1 s 1 4. 3 s 1
2 2 2
77
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
42(En43 มี.ค.) แขวนมวล 50 กรัม ที่ปลายล่างของสปริ งซึ่ งแขวนในแนวดิ่ง โดยที่ปลายบนถูก
ยึดไว้ ถ้าดึงมวลลงเล็กน้อยเพื่อให้สปริ งสั่นขึ้นลง วัดเวลาในการสั่นครบ 10 รอบ ได้เป็ น
5 วินาที หากเปลี่ยนมวลที่แขวนเป็ น 200 กรัม จะวัดคาบการสั่นได้เท่าใด
1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 2.0 s 4. 4.0 s

4.3.2 การแกว่ งของลูกตุ้มอย่ างง่ าย


43(มช 39) ลูกตุม้ แขวนด้วยเชือกยาว 100 เซนติเมตร เมื่อจับลูกตุม้ ให้เบนออกมาจากตาแหน่ง
สมดุลเป็ นระยะ 5 เซนติเมตร แล้วปล่อยให้แกว่งอย่างอิสระความเร็วสู งสุ ดในการแกว่ง
จะมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตร/วินาที
1. 0.16 2. 1.58 3. 15.8 4. 158
44(En47 มี.ค.) ถ้าต้องการให้ลูกตุม้ นาฬิกาอย่างง่าย แกว่ง 50 รอบ ในเวลา 80 วินาที ต้องใช้
ความยาวสายแขวนกี่เซนติเมตร ( ให้ g = 2 )
45(En45 ต.ค.) ลูกตุม้ A และ B มีเชือกเบายาว 60 และ 30 เซนติเมตร มีมวล 0.2 และ 0.1
กิโลกรัม ตามลาดับ เมื่อแกว่งลูกตุม้ ทั้งสองให้เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย อัตราส่ วน
T
ของคาบของลูกตุม้ ทั้งสอง TA จะเป็ นตามข้อใด
B
1
1. 2 2. 12 3. 2 4. 2
46(En47 ต.ค.) ถ้าลูกตุม้ ในรู ป ก. แกว่งจากตาแหน่ง (1) ไปตาแหน่ง (2) ใช้เวลา t การแกว่ง
ในรู ป ข. จากตาแหน่ง a ไป b ไป c ใช้เวลาเท่าใด

g 
4
(1)
(2)
a
รู ป ก. b รู ป ข.
c
1. 2t 2. 4t 3. 6t 4. 8t

78
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
47(แนว Pat2) ลูกตุม้ อย่างง่ายมวล mA , mB , mC และ mD ถ้า mA = 4 mB ,
mB = 1 mC , mC = 3 mD โดยความยาวของเชือกที่ผกู กับมวลแต่ละก้อนเท่ากัน คาบ
2
การแกว่งของมวลแต่ละก้อนเป็ น TA , TB , TC และ TD ตามลาดับ ข้อใดถูกต้อง
1. TA = TB = TC = TD
2. TA > TB , TB < TC , TC < TD
3. TA < TB , TB > TC , TC < TD
4. TA < TB , TB < TC , TC < TD

4.3.3 การหาการกระจัด ความเร็ว ความเร่ ง ณ จุดใดๆ ของการเคลื่อนที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


48(En48 มี.ค.) สาหรับการเคลื่อนที่ แบบฮาร์มอนิ กอย่างง่ายที่มีแอมพลิจูดเป็ น A จงหาขนาด
ของการกระจัด ณ ตาแหน่งที่อตั ราเร็วเป็ นครึ่ งหนึ่งของอัตราเร็วสู งสุ ด
1. 14 A 2. 12 A 3. 43 A 4. 23 A



79
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนทีแ่ บบางๆ
ตะลุ ย ข้ อ สอบเข้ า มหาวิ ท ยาลัย
บทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า งๆ ชุ ด ที่ 1
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบ 2.5 4. ตอบ 51.96
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบ 15.20 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบ 1.6
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบ 64
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 4.


80

You might also like