Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

Physics OnlineII http://www.pec9.

com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน


45(มช 47) เสนลวดดึงคาน AB ซึ่งมีมวล 5
เสนลวด
กิโลกรัมแขวนไวที่ปลาย B ถาคานสม่ํา
เสมอมีนาํ้ หนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร
30o 1m
มีปลาย A ตรึงติดกําแพง คานสมดุลอยูได A B
ดังรูป จงหาวาแรงดึงเสนลวดมีคา กีน่ วิ ตัน 4m
วิธที าํ (150 ) 5 kg

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 6 สภาพยืดหยุนของของแข็ง
สภาพพลาสติก (plasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรูปรางไปอยางถาวร โดยผิว
วัตถุไมฉกี ขาดหรือแตกหัก
สภาพยืดหยุน (elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางเมื่อมีแรงกระทํา
และสามารถคืนตัวกลับสูสภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทํา
พิจารณาตัวอยาง

ชวง oa แรงกับระยะยืดจะแปรผันตรงตอกัน และเมือ่ หมดแรงกระทําสปริงจะคืนสภาพเดิมได


ชวง ab เมือ่ แรงกระทําหมดไป สปริงจะคืนสภาพได แตแรงกับระยะยืดไมแปรผันตรงตอกัน
ชวง bc เมือ่ แรงกระทําหมดไป สปริงจะไมคืนสภาพเดิม เมือ่ ถึงจุด c สปริงจะขาด
107
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
46. สภาพพลาสติก คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ...............
สภาพยืดหยุน คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ......

47. หากออกแรงกระทําเกินขีดจํากัดความยืดหยุนกระทําตอสปริง จะทําใหสปริง.......... ............


.......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ..........

แรงเคน (F ) คือ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลภายในของแข็งที่เพิ่มขึ้น


ความเคน (σ) คือ อัตราสวนระหวาง แรงเคน ตอพืน้ ทีห่ นาตัด
เขียนเปนสมการจะได σ = AF
เมือ่ σ คือ ความเคน (N / m2)
F คือ แรงเคน (N)
A คือ พืน้ ทีห่ นาตัดของเสนลวด (m2)
ประเภทของความเคน ความเคนแบบตึง
ความเคนตามยาว (tensile stress)
ความเคน (longitudinal stress)
ความเคนแบบอัด
(stress)
ความเคนเฉือน (compressive stress)
(shear stress)

ความเครียด (ε) คือ อัตราสวนระหวางความยาวที่เปลี่ยนไป ตอความยาวเดิม


เขียนเปนสมการจะได ε = ∆L L
0
เมือ่ ε คือ ความเครียดตามยาว
∆L คือ ความยาวที่เปลี่ยนไป (m)
Lo คือ ความยาวเดิม (m)

108
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
คามอดูลัสของยัง (Young’ s modulus)
คือ คาคงที่ หาไดจากอัตราสวนของความเคนตอความเครียด
เขียนเปนสมการจะได E = σε
F
A
E =
∆L เมือ่ E = คามอดูลัสของยัง (N/m2)
Lo
σ = ความเคน (N/m2)
E = AF Lo ε = ความเครียด
∆L

48. ในการทดลองหาคามอดูลัสโดยใชน้ําหนัก 450 กิโลกรัม แขวนไวที่ปลาย


ลวดเหล็กยาว 2 เมตร พืน้ ทีห่ นาตัด 0.15 ตารางเซนติเมตร ปรากฎวาลวด
ยืดออก 0.3 เซนติเมตร จงหาความเคน (3x108 นิวตัน / เมตร2)
วิธที าํ

49. จากขอที่ผานมา จงหาความเครียด ( 1.5x10–3 )


วิธที าํ

50. จากขอที่ผานมา จงหาคามอดูลัสของยังของลวดเหล็กนี้ ( 2x1011 N/ m2)


วิธที าํ

51(En 42/2) แขวนมวล 400 กิโลกรัม กับเสนลวดโลหะชนิดหนึง่ ยาว 10 เมตร มีพน้ื ทีห่ นาตัด
2 x 10–4 เมตร2 เสนลวดนี้จะยืดออกเปนเทาใด ถากําหนดใหคายังมอดูลัสของเสนนี้ เปน
2 x 1011 นิวตัน / เมตร2
1. 0.1 cm 2. 0.2 cm 3. 1.0 cm 4. 2.0 cm ( ขอ 1.)
วิธที าํ

109
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
52. ลวดโลหะชนิดหนึ่งมีความยาว 1 เมตร คามอดูลัสของยังเปน 2.5x1011 นิวตัน/ตารางเมตร
พื้นที่ภาคตัดขวาง 2 ตารางมิลลิเมตร นําไปยึดติดกับวัตถุมวล m ทําใหลวดยืดออกไปอีก
0.01 เมตร จงหาขนาดของมวล m ในหนวยกิโลกรัม
1. 500 2. 1000 3. 2000 4. 5000 ( ขอ 1.)
วิธที าํ

53. ลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว L มีพื้นที่หนาตัด A เมื่อนําวัตถุทรงกลมมวล M มาแขวนเขากับ


ลวดนี้ แลวนําปลายลวดขางหนึ่งไปยึดติดกับเพดานปรากฎวาลวดยึดออก ∆L จงหาคามอ-
ดูลัสของยังของลวดเสนนี้
1. AL / Mg∆L 2. ∆LA/MgL
3. Mg∆L/AL 4. MgL/∆LA (ขอ 4.)
วิธที าํ

54. แทงโลหะอันหนึง่ มีพน้ื ทีภ่ าคตัดขวาง 3 ตารางเซนติเมตร และมีคามอดูลัสของยังเทากับ


2 x 1011 นิวตัน/เมตร2 จงหาวาจะตองออกแรงดึงกีน่ วิ ตัน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความ
ยาวเพิ่มขึ้น 0.01 เปอรเซ็นต
1. 5000 2. 5700 3. 6000 4. 7000 (ขอ 3)
วิธที าํ

110
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
55. เมือ่ แขวนวัตถุมวล 50 กิโลกรัม เขากับเสนลวด แลวแขวนกับเพดานพบวาลวดยืดออก
เปน 0.25 % ของความยาวเดิม ถาลวดมีพื้นที่หนาตัด 0.4 ตารางมิลลิเมตร จงหาคา
มอดูลัสความยืดหยุนของลวดเสนนี้
1. 2.5 x 108 นิวตัน / ตารางเมตร 2. 5.0 x 1010 นิวตัน / ตารางเมตร
3. 5.0 x 1011 นิวตัน / ตารางเมตร 3. 2.5 x 1012 นิวตัน / ตารางเมตร
วิธที าํ

56. ลวดเหล็กเสนหนึ่ง มีความเครียดตามความยาว 0.01 มีคายังมอดูลัส 1011 นิวตัน/ ตาราง-


เมตร พืน้ ทีห่ นาตัด 2 ตารางมิลลิเมตร จงหาแรงดึงในเสนลวดในหนวยนิวตัน
1. 1.0x103 2. 2.0x103 3. 3.0x103 4. 4.0x103 (ขอ 2.)
วิธที าํ

57(En 36) ลวดทําดวยโลหะตางชนิดกันสองเสนยาวเทากันมีพื้นที่หนาตัดเปน 0.1 และ 0.18


ตารางเซนติเมตร เมือ่ ดึงลวดทัง้ สองนีด้ ว ยแรงเทากัน มันจะยืดออกเทากับ 0.3 และ 0.2
เซนติเมตร ตามลําดับ จงหาอัตราสวนของมอดูลสั ของยังของลวดเสนทีห่ นึง่ ตอมอดูลสั ของ
ยังของลวดเสนทีส่ อง
27
1. 100 2. 65 3. 65 4. 100 ( ขอ 3.)
27
วิธที าํ

111
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
58. ลวด 2 เสน ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน ถาลวด A ยาวเปนครึง่ หนึง่ ของลวด B แตกลับมี
รัศมี 2 เทาของลวด B ถาตองการดึงลวดทั้งสองใหยืดออกมา โดยใหความยาวที่ยืดออกมา
มีขนาดเทากันแรงที่ใชยืดลวด A ตองมีขนาดเทาใด
1. 1/8 ของแรงที่ใชยืดลวด B 2. 2 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B
3. 4 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B 4. 8 เทาของแรงที่ใชยืดลวด B (ขอ 4)
วิธที าํ

59. ลวดทังสเตนมีคามอดูลัสของยังเปน 5 เทาของลวดอะลูมิเนียม เมื่อนําลวดทั้งสองชนิดที่มี


พืน้ ทีห่ นาตัดเทากัน ทําการทดลองพบวาเมือ่ ออกแรงดึงลวดทัง้ สอง ความเครียดตามยาว
ของลวดทังสเตนเปน 2 เทาของลวดอะลูมิเนียม แรงตึงทีก่ ระทําตอลวดทัง้ สองนัน้
1. มีคาเทากัน
2. ของลวดทังสเตนเปน 10 เทาของลวดอะลูมิเนียม
3. ของลวดอะลูมิเนียมเปน 5 เทาของลวดทังสเตน
4. ของลวดทังสเตนเปน 2.5 เทาของลวดอะลูมิเนียม (ขอ 2)
วิธที าํ

112
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
60(En 44/1) ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟทตัวหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟท
และสัมภาระในลิฟทมีน้ําหนัก 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน(stress) ในสายเคเบิล ใน
ขณะที่ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอ(วินาที)2
1. 64x106 N/m2 2. 48x106 N/m2
3. 40x106 N/m2 4. 32x106 N/m2 (ขอ 2.)
วิธที าํ

61(มช 42) ลวดเหล็กสําหรับดึงลิฟตเครื่องหนึ่งมีขีดจํากัดสภาพยืดหยุน 2x108 N/m2 และมี


พืน้ ทีห่ นาตัด 0.9 Cm2 ถาลิฟตนี้มีความสามารถเคลื่อนที่ขึ้นไปดวยความเรงสูงสุด 8 m/s2
มวลในหนวยของกิโลกรัมของตัวลิฟตและสัมภาระในลิฟตจะมีคามากที่สุดเทาใด ( 1000 kg)
วิธที าํ

62. โลหะชนิดหนึ่งมีคามอดูลัสยัง 2x1010 นิวตันตอตารางเมตร มีคาความเคนที่ขีดจํากัดสภาพ


ยืดหยุน 3x109 นิวตันตอตารางเมตร ถามีลวดที่ทําจากโลหะชนิดนี้ยาว 10 เมตร มีพื้นที่
หนาตัด 10 ตารางมิลลิเมตร แขวนลวดดังกลาวในแนวดิ่ง และตองการใหมันยืดและยาวสุทธิ
12 เมตร ตองแขวนดวยมวลเทาไร
1. 2.4x103 kg 2. 4x103 kg 3. 2.4 x 104 kg 4. ลวดขาดกอน (ขอ 4)
วิธที าํ

113
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
แรงแคน , ความเคน และความเครียด
37. เสาคอนกรีตตนหนึง่ รับน้าํ หนักไดสงู สุด 20000 กิโลกรัม และจะหดตัวลง 3 มิลลิเมตร
ถาเสาคอนกรีตนีม้ ฐี านกวาง 10 เซนติเมตร หนา 20 เซนติเมตร สูง 4.5 เมตร จงหา
คามอดูลัสของเสาตนนี้ (1.5x1010 N/m2)

38(มช 36) วัตถุหนัก 100 นิวตัน แขวนดวยลวดโลหะซึ่งมีความยาวเดิมเทากับ 1 เมตร มีพื้น


ทีห่ นาตัดเทากับ 100 ตารางเซนติเมตร ถาลวดโลหะนี้มีคามอดูลัสของยังเทากับ 20x1010
นิวตันตอตารางเมตร ลวดนี้จะยืดออกเทาใด
1. 0.5 x 10–6 เมตร 2. 0.5 x 10–7 เมตร
3. 0.5 x 10–12 เมตร 4. 0.5 x 10–11 เมตร (ขอ 2)
39. มอดูลัสของยังของเหล็กมีคา 2 x1011 นิวตัน/เมตร2 ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม ที่
ปลายลางของแทงเหล็กพื้นที่หนาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง
กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาใด
1. 1.0 x10–13 เมตร 2. 4.0 x 10–10 เมตร
3. 1.0 x 10–8 เมตร 4. 1.0 x 10–7 เมตร (ขอ 4)

40. ลวดเหล็กเสนหนึ่งยาว 4 เมตร มีพื้นที่หนาตัด 5 x 10–5 ตารางเมตร จงหาวาแรงดึงทีท่ าํ


ใหลวดเสนนีย้ ดื ออก 0.02 x 10–2 เมตร มีคากี่นิวตัน
(คามอดูลัสของยังของลวดเหล็กเทากับ 2 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร)
1. 200 2. 300 3. 400 4. 500 (ขอ 4.)

41. มอดูลัสของยังของเหล็กมีคา 2 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม


ที่ปลายลางของแทงเหล็กพื้นที่หนาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง
กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาไร
1. 4.0 x 10–10 เมตร 2. 1.0 x 10–8 เมตร
3. 1.0 x 10–7 เมตร 4. 2.0 x 10–7 เมตร (ขอ 3.)
42. ลวดอลูมิเนียมยาว 2 เมตร และเสนผาศูนยกลาง 0.1 เซนติเมตร นําเสนลวดนี้ไปยกวัตถุมวล
1000 กิโลกรัม ลวดจะยืดออกเทาใด
( คามอดูลัสของยังของอลูมิเนียมเทากับ 7 x 1010 นิวตันตอตารางเมตร ) (0.35 เมตร)
120
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
43. โลหะชนิดหนึ่งมีคามอดูลัสของยัง Y ถานําโลหะนี้ไปทําเปนลวดยาว L มีพื้นที่หนาตัด A
แขวนลวดดังกลาวดวยมวล M ทําใหลวดมีระยะยืด X จงหาวามวล M มีคาเทาไร
1. XAY 2. AXgLY
L
3. XAYgL 4. XAY (ขอ 4.)
gL
44. แทงโลหะอันหนึ่งมีเสนผานศูนยกลาง 2 เซนติเมตร และมีคามอดูลัสของยัง Y = 2x1011
นิวตัน/เมตร2 จงหาวาตองออกแรงดึงกีน่ วิ ตัน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความยาวเพิ่มขึ้น 0.01
เปอรเซ็นต
1. 5000 2. 5700 3. 6300 4. 7000 (ขอ 3.)
45(En 35) เมือ่ แขวนมวล M ไวที่ปลายเสนลวดดังรูป จะทําใหเสน
ลวดยืดออก 0.12 เปอรเซ็นตของความยาวเดิม ถาพื้นที่หนาตัด
ของลวดเทากับ 0.20 ตารางมิลลิเมตร และมีคามอดูลัสของยัง
เทากับ 2.0 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร มวล M จะมีคาเทาใด
1. 48 kg 2. 24 kg 3. 4.8 kg 4. 2.4 kg ( ขอ 3.)

46. ลวดทองแดงและลวดเหล็กกลามีพื้นที่หนาตัดเทากับ 0.5 ตารางมิลลิเมตร และมีความยาว


1 เมตรเทากัน มอดูลัสของยังสําหรับลวดทองแดงเปน 1.2 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร
และมอดูลัสของยังสําหรับลวดเหล็ก มีคาเปน 2 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร ถานําลวดทั้ง
สองไปแขวนในแนวดิง่ โดยมีกอ นน้าํ หนัก 100 นิวตัน แขวนที่ปลายลวดความเคนของลวด
ทั้งสองตางกันเทาใด และลวดทั้งสองจะยืดออกจากเดิมตางกันเทาใด (6.7x10–4 m)

47. ลวดเหล็กและลวดทองเหลืองยาวเทากัน มีพน้ื ทีห่ นาตัดเปน 0.10 และ 0.15 ตารางเซนติ-


เมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองดวยแรงเทากัน ลวดจะยึดออก 0.25 และ 0.20 เซนติเมตร ตาม
ลําดับ จงหาอัตราสวนยังมอดูลัสของลวดเหล็กและลวดทองเหลือง
1. 3 : 4 2. 4 : 3 3. 5 : 6 4. 6 : 5 ( ขอ 4)

48. ลวดโลหะตางชนิดกัน 2 เสน ยาวเทากัน มีพื้นที่หนาตัดเทากัน อัตราสวนมอดูลสั ของยัง


ของลวดเสนที่ 1 ตอลวดเสนทีส่ อง เปน 4 : 5 มีแรงกระทําตอลวดเสนทีห่ นึง่ ตอเสนทีส่ อง
5 : 4 จงหาอัตราสวนของระยะยืดของลวดเสนทีห่ นึง่ ตอลวดเสนที่ 2
1. 1 : 1 2. 5 : 4 3. 16 : 25 4. 25 : 16 ( ขอ 3)
121
Physics OnlineII http://www.pec9.com บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
49(En 38) นําทองแดงและโลหะไมทราบชนิดที่มีพื้นที่หนาตัดและความยาวเทากันมาผูกวัตถุ
7000 กิโลกรัม แขวนหอยไวในแนวดิง่ ปรากฎวาทองแดงยืดออกจากเดิม 1.75 มิลลิเมตร
ขณะที่โลหะไมทราบชนิดยืดออกจากเดิม 1.43 มิลลิเมตร ถาทองแดงมีคามอดูลัสของยัง
เทากับ 1.1 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร โลหะนี้จะมีคามอดูลัสของยังเทากับ
1. 1.15 x 1011 N/m2 2. 1.35 x 1011 N/m2
3. 1.65 x 1011 N/m2 4. 1.85 x 1011 N/m2 (ขอ 2)

50. ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟตตัวหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟทและสัม-


ภาระในลิฟตมีน้ําหนักรวม 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน (stress) ในสายเคเบิล ในขณะที่
ลิฟทกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอวินาที2
1. 64 x 106 N/m2 2. 48 x 106 N/m2
3. 40 x 106 N/m2 4. 32 x 106 N/m2 (ขอ 2)

51. ลวดเหล็กดึงลิฟตมีความเคนทีขีดจํากัดความยึดหยุนเทากับ 2x108 N/m2 และมีพื้นที่หนา


ตัด 1.77x10–4 m2 ถาลิฟทและสัมภาระมีมวล 2000 กิโลกรัม ลิฟตนี้จะสามารถเคลื่อนที่
ขึ้นดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยึดเกินขีดจํากัด (กําหนดให g=10 m/s2)
1. 7.7 m/s2 2. 6.3 m/s2 3. 50 m/s2 4. 4.3 m/s2 (ขอ 1)
52. ลวดเหล็กกลามีขีดจํากัดสภาพยืดหยุด 4 x 107 N/m2 มีพื้นที่หนา
ตัด 1x10–3m2 นํามาใชยกลิฟทที่มีมวลรวมทั้งสิ้น 2000 กิโลกรัม
ลวดเหล็กกลา
ดังรูป อยากทราบคาความเรงสูงสุดของลิฟทที่จะไมทําใหลวดเหล็ก
นี้เกินขีดจํากัดสภาพยืดหยุน
ลิฟท
1. 100.0 m/s2 2. 10.0 m/s2 a

3. 1.0 m/s2 4. 0.1 m/s2 (ขอ 2)

53. ลวดเหล็กดึงลิฟตมีความเคนที่ขีดจํากัดความยืดหยุนเทากับ 2 x 108 นิวตัน/ตารางเมตร


และมีพื้นที่หนาตัด 1.77 x 10–4 ตารางเมตร ถาลิฟตและสัมภาวะมีมวล 2000 กิโลกรัม
ลิฟตนี้จะสามารถเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยืดเกินขีดจํากัด
1. 7.7 m/s2 2. 6.3 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 4.3 m/s2 (ขอ 1)

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

122

You might also like