Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

Physics Online I http://www.pec9.

com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ


ตอนที่ 4 การเคลือ่ นทีแ่ บบซิมเปลฮารโมนิค
การเคลื่อนที่ซิมเปลฮารโมนิคแบบสั่น
a = ω2 A
v = ωA
ω = mk
T = 2π
ω
f = 1= ω
T 2π
เมือ่ v = ความเร็วสูงสุด (ที่จุดสมดุลเทานั้น)
a = ความเรงสูงสุด (ที่ระยะทางไกลที่สุด)
ω = ความเร็วเชิงมุม (เรเดียน / วินาที) A = อัมปลิจดู (ระยะทางไกลที่สุด)
k = คานิจสปริง (N/m) m = มวล (kg)
T = คาบการสั่น (s) f = ความถี่การสั่น (Hz)
71(มช 34) สปริงเบาตัวหนึง่ มีคา นิจ 25 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับ
มวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบนพื้นเกลี้ยง ดังรูป เมือ่ ดึงสปริง
ออกไป 20 เซนติเมตร แลวปลอยมือ มวลกอนนีจ้ ะมีอตั รา
เร็วเทาใดเมือ่ ผานตําแหนงสมดุล
ก. 0.2 m/s ข. 1.0 m/s ค. 2.0 m/s ง. 3.0 m/s (ขอ ข)
วิธที าํ

72(มช 34) สปริงเบาตัวหนึง่ มีคา นิจ 100 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบน
พื้นราบเกลี้ยง เมือ่ ดึงสปริงออกไป 30 เซนติเมตร แลวปลอยมือ มวลกอนนีจ้ ะมีอตั ราเรง
สูงสุดเทาใด
ก. 10 m/s2 ข. 20 m/s2 ค. 30 m/s2 ง. 40 m/s2 (ขอ ค)
วิธที าํ

137
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
73(En 36) แขวนมวล 100 กรัม ที่ปลายหนึ่งของสปริงที่มีมวลนอยมากดึงมวลจากตําแหนง
สมดุล 10 เซนติเมตร แลวปลอย อัตราเร็วเชิงเสนขณะเคลือ่ นทีผ่ า นสมดุลมีคา เทาใด ถา
คาบของการสั่นมีคา 2 วินาที (ขอ 1)
1. 0.31 m/s 2. 0.99 m/s 3. 3.14 m/s 4. 9.9 m/s
วิธที าํ

74. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีแ่ บบฮารมอนิกอยางงาย มีอัมพลิจูด 10 เซนติเมตร มีความถี่ 2 รอบ


ตอวินาที วัตถุจะมีความเรงสูงสุดเทาใด (15.68 m/s2)
วิธที าํ

75. สปริงวางบนพื้นราบมีคานิจสปริง (2π)2 N/m ปลายขางหนึ่งผูกตรึงปลายอีกขางหนึ่ง


มีมวล 4 kg ติดไว เมือ่ ออกแรงดึงมวลแลวปลอยมวลจะเคลือ่ นทีแ่ บบ SHM ดวยคาบ
กี่วินาที (2)
วิธที าํ

76. สปริงวางบนพื้นราบมีคานิจสปริง π2 N/m ปลายขางหนึ่งผูกตรึงปลายอีกขางหนึ่งมีมวล


1 kg ติดไว เมือ่ ออกแรงดึงมวลแลวปลอยมวลจะเคลือ่ นทีแ่ บบ SHM ดวยคาบกี่วินาที
วิธที าํ (2 วินาที)

138
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
77(En 35) รถทดลองมวล 500 กรัม ติดอยูกับปลายสปริง
ดังรูป เมือ่ ดึงดวยแรง 5 นิวตัน ในทิศขนานกับพื้น จะ
ทําใหสปริงยืดออก 10 เซนติเมตร เมื่อปลอยรถจะเคลื่อนที่
กลับไปมาบนพื้นเกลี้ยงแบบซิมเปลฮารโมนิกดวยคาบเทาไร
1. 0.63 s 2. 0.67 s 3. 1.60 s 4. 2.00 s (ขอ 1)
วิธที าํ

78(มช 42) ลวดสปริงอันหนึ่งวางบนพื้นเกลี้ยง ปลายดานหนึ่งยืดแนนกับผนังปลายที่เหลือมี


มวล 1.0 กิโลกรัมติดไว ถาทําใหเกิดการสั่นแบบซิมเปลฮารมอนิกวัดคาบการสั่นได
(2π / 5) วินาที แรงในหนวยของนิวตันทีก่ ระทําตอมวลนี้ เมือ่ อยูห า งจากตําแหนงสมดุล 0.2
เมตร เปนเทาใด (5 นิวตัน)
วิธที าํ

79(มช 43) แขวนมวล 2 กิโลกรัม กับสปริง แลวปลอยใหสั่นขึ้นลง วัดคาบของการสั่นได


1 วินาที ถาเอามวล 2 กิโลกรัม ออกสปริงจะสัน้ กวาตอนทีแ่ ขวนมวลนีอ้ ยูก เ่ี มตร
1. 0.08 2. 0.12 3. 0.25 4. 0.40 (ขอ 3)
วิธที าํ

139
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
80. แขวนมวล 4.9 กิโลกรัม กับสปริงแลวปลอยใหเคลื่อนที่ขึ้นลงวัดคาบของการสั่นได 0.5
วินาที ถาเอามวล 4.9 กิโลกรัม ออกสปริงจะสั้นกวาตอนที่แขวนมวลอยูเทาใด (0.06 m)
วิธที าํ

81(มช 44) แขวนมวล m กับสปริงซึ่งมีคาคงตัวสปริง k แลวทําใหสั่นขึ้นลงในแนวดิ่ง วัด


คาบการสั่นได To ถานํามวล 4m มาแขวนแทนที่มวล m แลวคาบการสั่นจะเปนเทาใด
1. T4o 2. T2o 3. To 4. 2To (ขอ 4)
วิธที าํ

82(En 43/2) หากผูกมวล m ติดกับสปริงในแนวดิง่ ดึงมวลลงเล็กนอยแลวปลอยใหสั่นพบวา


สปริงมีคาบของการสั่น 2 วินาที ถาเพิ่มมวลเขาไปอีก 2 กิโลกรัม สปริงจะมีคาบการสั่น
3 วินาที จงหาขนาดของมวล m ในหนวยกิโลกรัม (1.6 kg)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

140
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ

การเคลือ่ นทีซ่ มิ เปลฮารโมนิคแบบแกวง


a = ω2 A
v = ωA
amax amax ω = Lg
vmax
T = 2ωπ
A A f = T1 = 2ωπ
เมือ่ v = ความเร็วสูงสุด (ที่จุดสมดุลเทานั้น)
a = ความเรงสูงสุด (ที่ระยะทางไกลที่สุด)
ω = ความเร็วเชิงมุม (เรเดียน/วินาที)
A = อัมปลิจดู (ระยะทางไกลที่สุด)
L = ความยาวสายแกวง (m)
T = คาบการแกวง (s)
f = ความถี่การแกวง (Hz)
83. ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 0.4 เมตร แกวงไปมาดวยอัมปลิจูด 0.1 เมตร จงหาความเร็ว
ขณะเคลื่อนผานจุดสมดุล ( 0.5 m/s)
วิธที าํ

84(มช 32) ความเร็วสูงสุดของวัตถุที่กําลังแกวงแบบซิมเปลฮารโมนิคดวยคาบของการแกวง


0.2 วินาที และอัมปลิจูด 2 เซนติเมตร จะมีคาเทากับ
ก. 5π เซนติเมตร/วินาที ข. 10π เซนติเมตร/วินาที
ค. 20π เซนติเมตร/วินาที ง. ไมสามารถหาคาไดจากขอมูลที่ใหมา (ขอ ค)
วิธที าํ

141
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
85. ตองการใหลูกตุมนาฬิกาแกวงในระนาบบนพื้นโลกใหครบรอบภายในเวลา 2 วินาที จะ
ตองออกแบบใหสายลูกตุมนาฬิกายาวเทาใด ให π2 = 10 (1 เมตร)
วิธที าํ

86. ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 1 เมตร แกวงไปมาดวยคาบ 2 วินาที ถาลูกตุมแขวนดวยเชือก


ยาว 9 เมตร จะแกวงดวยคาบเทาใด (6 วินาที)
วิธที าํ

87. ลูกตุมมวล 0.1 กิโลกรัม แขวนดวยเชือกยาว 4 เมตร ทําใหแกวงกลับไปกับมา โดยมี คาบ


4 วินาที ถาเปลี่ยนมาใชลูกตุมมวล 0.2 กิโลกรัม แขวนดวยเชือกยาว 1 เมตร ในเวลา 10
วินาที ลูกตุมจะแกวงไดกี่รอบ (5 รอบ)
วิธที าํ

88. ถานาฬิกาแบบลูกตุมเดินไดตรง ณ บริเวณพื้นที่ราบใกลระดับน้ําทะเล ถานํานาฬิกานี้ไป


ใช ณ บริเวณยอดเขาสูงกวาระดับน้ําทะเลมาก ๆ คาบของการแกวงจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
วิธที าํ (เพิม่ )

142
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
การหาความเร็ว และความเรง ณ จุดใดๆ
Vs = ω A 2 − x 2
as = ω2 x
Vt = ωA sin (ω t)
at = ω2 A cos (ω t) X

เมือ่ Vs ,as = ความเร็ว และ ความเรง ณ จุดหางจากสมดุล A


Vt ,at = ความเร็ว และ ความเรง ณ เวลา t จากสมดุล
A = อัมปลิจดู
และ x = A sin ( ω t )
เมือ่ x = การขจัด ณ. เวลา t ใดๆ
89. อนุภาคหนึง่ เคลือ่ นทีแ่ บบ SHM ดวยชวงกวาง
1.5 เมตร ความถี่ 50 Hz จงหาความเร็ว และ
ความเรง เมือ่ การขจัดเปน 1 เมตร
วิธที าํ (351 m/s , 98696 m/s2)

X= 1 m

A=1.5 m

90. ซิมเปลฮารโมนิค มีชวงกวาง 8 เซนติเมตร และคาบ 4 วินาที จงหาความเรงหลังจากที่


อนุภาคผานจุดสมดุลไปได 0.5 วินาที (0.14 m/s2)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

143
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
54. จากรูปนักเรียนคนหนึง่ ทําการทดลองเรือ่ งแรงสูศ นู ย
กลาง ปรากฎวาขณะวัตถุอยูหางออกมาจากแกนหมุน θ
0.1 m
0.8 เมตร และอยูต่ําลงมาจากแนวระดับ 0.1 เมตร 0.8 m
อยากทราบวาขณะนัน้ วัตถุมอี ตั ราเร็วเทาใด (8 m/s)

การเคลือ่ นทีแ่ บบซิมเปลฮารโมนิก


55(En 32) วัตถุชิ้นหนึ่งติดอยูกับปลายขางหนึ่งของสปริงซึ่งยาว 2 เมตร และมีปลายขางหนึ่ง
ตรึงอยูก บั ที่ ถาวัตถุชิ้นนี้วางอยูบนพื้นราบเกลี้ยง และกําลังเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิค
โดยมีความเร็วมากที่สุด 2 เมตร/วินาที และมีการขจัดจากจุดสมดุลมากที่สุด 0.5 เมตร
อัตราเร็วเชิงมุมของการเคลือ่ นทีน่ เ้ี ปนกีเ่ รเดียนตอวินาที
1. 0.12 2. 0.25 3. 1.00 4. 4.00 (ขอ 4)
56. รถทดลองติดปลายลวดสปริงเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยแอมพลิจูด 15 เซนติเมตร
และความถี่ 4 รอบตอวินาที จงคํานวณหาความเร็วสูงสุด และความเรงสูงสุดของรถทดลอง
( 3.77 m/s , 94 m/s2)
57(En 36) แขวนมวล 100 กรัม ที่ปลายหนึ่งของสปริงที่มีมวลนอยมากดึงมวลจากตําแหนง
สมดุล 10 เซนติเมตร แลวปลอยอัตราเร็วเชิงเสน ขณะเคลื่อนที่ผานสมดุลมีคาเทาใด
ถาคาบของการสั่นมีคา 2 วินาที
1. 0.31 m/s 2. 0.99 m/s 3. 3.14 m/s 4. 9.9 m/s ( ขอ 1.)
58. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีแ่ บบฮารมอนิกอยางงาย มีอัมพลิจูด 10 เซนติเมตร มีความถี่ 2 รอบตอ
วินาที วัตถุจะมีความเรงสูงสุดเทาใด (15.68 m/s2)
59. แขวนมวล m กับสปริงแลวปลอยใหสั่นขึ้นลงวัดคาบ
ได 2π วินาที ถาเอามวล m ออกสปริงจะสั้นกวาตอน
ทีแ่ ขวนมวล m กีเ่ มตร (กําหนดให g = 10 m/s2)
ก. 0.4 ข. 0.3
ค. 0.2 ง. 10 ( ขอ ง.)

152
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
60(En 42/1) แขวนมวลอันหนึ่งติดกับสปริงแลวปลอยใหสั่นขึ้นลงโดยมีคาบการเคลื่อนที่ 1
วินาที ถาวัตถุอยูนิ่งแลวปลดมวลออกสปริงจะหดสั้นกวาตอนที่แขวนมวลเทาใด
1. π4g2 2. 4 πg 2 3. 4g2 4. g 2 (ขอ 4)
π 4π
61(En 43/1) แขวนมวล 50 กรัม ที่ปลายลางของสปริงซึ่งแขวนในแนวดิ่งโดยที่ปลายบนถูก
ยึดไว ถาดึงมวลลงเล็กนอยเพื่อใหสปริงสั่นขึ้นลง วัดเวลาในการสัน่ ครบ 10 รอบ ไดเปน
5 วินาที หากเปลี่ยนมวลที่แขวนเปน 200 กรัม จะวัดคาบการสั่นไดเทาใด
1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 2.0 s 4. 4.0 s ( ขอ 2.)

62(มช 39) ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 100 เซนติเมตร เมือ่ จับลูกตุม ใหเบนออกมาจากตําแหนง


สมดุลเปนระยะ 5 เซนติเมตร แลวปลอยใหแกวงอยางอิสระความเร็ว สูงสุดในการแกวงจะ
มีคาเทากับกี่ cm/s
1. 0.16 2. 1.58 3. 15.8 4. 158 (ขอ 3)

63. ความเร็วสูงสุดของวัตถุที่กําลังแกวงแบบซิมเปลฮารมอนิกดวยคาบของการแกวง 0.2


วินาที และแอมพลิจูด (amplitude) 2 เซนติเมตร จะมีคาเทากับ
1. 5π เซนติเมตร/วินาที 2. 10π เซนติเมตร/วินาที
3. 20π เซนติเมตร/วินาที 4. ไมสามารถหาคาไดจากขอมูลที่ใหมา (ขอ 3)
64. ลูกตุมนาฬิกาอันหนึ่งแกวง 100 รอบในเวลา 200 วินาที ความเรงสูงสุดในการเคลื่อนที่
ของลูกตุมเปน π202 เมตรตอวินาที2 การกระจัดสูงสุดในการแกวงนีเ้ ปนกีเ่ ซนติเมตร
1. 2.5 2. 5.0 3. 10.0 4. 20 (ขอ 2)

65. ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 2 เมตร แกวงไปมาดวยคาบ 2.5 วินาที ถาลูกตุมแขวนดวย


เชือกยาว 8 เมตร จะแกวงดวยคาบเทาไร (5 s)

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

153

You might also like