สรุปแนวข้อสอบกลางภาค

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

BEB BTE WET RT B T T RTRTRT TRE OOOEATETRAET T TRT T ST EBT T EBRI

ใบควำมรู้ เรื่อง เสียงในภำษำไทย (เสียงสระ)


หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ)
รำยวิชำภำษำไทย รหัสวิชำ ท๒๑๑๐๑ ภำคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑

เสียงในภาษา หมายถึง เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมายระหว่างมนุษย์ด้วยกัน เพื่อสนองความ


ต้องการต่าง ๆ เช่น เพื่อขอความช่วยเหลือ เพื่อขอความรู้ เพื่อแสดงความรู้สึกพอใจหรือไม่พอใจ เป็นต้น
กำเนิดของเสียงในภำษำ
อวัยวะที่ทาให้เกิดเสียงในภาษา ได้แก่ ปอด หลอดลม กล่องเสียงซึ่งอยู่ในลาคอตรงลู กกระเดือ ก
ต่อมาก็มีลิ้นไก่และส่วนต่าง ๆ ในช่องปาก ได้แก่ เพดาน ลิ้น ปุ่มเหงือก และริมฝีปาก นอกจากนี้จมูกก็มีส่วน
ทาให้เกิดเสียงได้ด้วย อวัยวะต่าง ๆ เหล่านี้ทางานประสานกัน ทาให้เกิดเสียงในภาษาขึ้น เราจะสังเกตได้ว่า
อวัยวะที่ทาให้เกิดเสียงต่าง ๆ ยังทาหน้าที่สาคัญอย่างอื่น ในการดารงชีวิตอีกด้วย เช่น ปากเรามีไว้รับประทาน
อาหาร หลอดลม ปอด มีหน้าที่เกี่ยวกับหายใจ เป็นต้น
ชนิดและลักษณะของเสียงสระในภำษำไทย
โดยทั่วไป เสียงในภาษามีอยู่ ๓ ชนิด ได้แก่ เสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์
เสียงสระ หมายถึง เสียงที่เกิดจากลมที่ออกจากปอดผ่านหลอดลม และกล่องเสียง ที่ลาคอออกมา พ้น
ช่องปาก หรือช่องจมูก โดยไม่ถูกสกัดกั้น ณ ที่หนึ่งที่ใดในช่องทางของลม แต่ในขณะที่เราออกเสียงสระ สาย
เสียงที่อยู่ในกล่องเสียงจะปิดและเปิดอย่างรวดเร็ว สายเสียงจึงมีความสั่นสะเทือน บังเกิดความกังวานหรือ
ความก้อง และออกเสียงได้นาน เช่น อา อี อัว ฯลฯ
เสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกได้ ๒๑ เสียง แบ่งเป็นเสียงสระเดี่ยว ๑๘ เสียง และเป็นเสียงสระ
ประสม ๓ เสียง ดังนี้
เสียงสระเดี่ยว มีเสียงสระ ๑๘ เสียง แบ่งเป็นเสียงสั้น ๙ เสียง และเสียงยาว ๙ เสียงดังนี้
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว
/อะ/ /อา/
/อิ/ /อี/
/อึ/ /อื/
/อุ/ /อู/
/เอะ/ /เอ/
/แอะ/ /แอ/
/เออะ/ /เออ/
/โอะ/ /โอ/
/เอาะ/ /ออ/
สระเดี่ยว คือสระที่เปล่งออกมาเป็นเสียงเดียว เกิดจากลมผ่านเส้นเสียง ซึ่งมีการสะบัดแล้วผ่านเลยไป
ทางช่องปาก โดยไม่ถูกกัก ณ อวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง แต่จะถูกลิ้นและริมฝีปากทาให้เกิดเสียงในลักษณะใด
ลักษณะหนึ่ง เมื่อนักเรียนออกเสียงสระเดี่ยวจึงมีอวัยวะสาคัญ ได้แก่ ลิ้นและริมฝีปาก ที่ร่วมกันสร้างเสียงสระ
ให้แตกต่างกันออกไป การยกระดับลิ้น ระดับสูง กลาง ต่า ส่วนของลิ้น ลิ้นส่วนหน้า ส่วนกลาง ส่วนหลัง
ลักษณะของริมฝีปากเหยียด ปกติ ห่อกลม และลักษณะช่องปาก แคบ ปานกลาง กว้าง ล้วนแต่ทาให้นักเรียน
ออกเสียงสระข้างต้นได้แตกต่างกัน ลักษณะอวัยวะในการออกเสียงสระ สรุปได้ดังนี้
สระเสียงสั้น สระเสียงยำว ช่องปำก ระดับลิ้น ริมฝีปำก
อิ อี แคบ ส่วนหน้ากระดกขึ้นสูง เหยียดออก
เอะ เอ ปานกลาง ส่วนหน้ากระดกปานกลาง เหยียดออก
แอะ แอ กว้าง ส่วนหน้าอยู่ในระดับต่า เหยียดออก
อี อือ แคบ ส่วนกลางกระดกขึ้นสูง ปกติ
เออะ เออ ปานกลาง ส่วนกลางกระดกปานกลาง ปกติ
อะ อา กว้าง ส่วนกลางอยู่ในระดับต่า ปกติ
อุ อู แคบ ส่วนหลังกระดกขึ้นสูง ห่อกลม
โอะ โอ ปานกลาง ส่วนหลังกระดกปานกลาง ห่อกลม
เอาะ ออ กว้าง ส่วนหลังอยู่ในระดับต่า ห่อกลม
สระประสมหรือสระเลื่อน
เสียงในภาษาไทยนอกจากจะจาแนกเป็นเสียงสระเดี่ยวหรือสระแท้ ๑๘ เสียงแล้ว ยังจาแนกเป็น
เสียงสระประสมหรือสระเลื่อนอีก ๓ เสียง ที่เรียกว่าสระเลื่อนหรือสระประสมเพราะที่เกิดจากลมซึ่งเคลื่อนที่
ผ่านอวัยวะในช่องปากที่มีการเปลี่ยนหรือเลื่อนเสียง ระหว่างสระเดี่ยว
สระประสม (สระเลื่อน) มี ๓ เสียง คือ
เอีย (อี + อา)
เอือ (อือ + อา)
อัว (อู + อา)
ข้อสังเกต
อนึ่งตาราหลักภาษาไทยบางตารานับเสียงสระมี ๒๔ เสียง โดยนับสระเดี่ยว ๑๘ เสียง เสียงสระ
ประสม ๖ เสียง ซึ่งนอกจาก เอีย เอือ อัว แล้วยังมีสระเสียงสั้นอีก ๓ เสียง เอียะ เอือะ และอัวะ แต่คาที่ใช้
สระเหล่านี้พบน้อยมาก ส่วนใหญ่เป็นคาเลียนเสียงธรรมชาติ และคาที่มาจากภาษาถิ่นหรือภาษาต่างประเทศ
เช่น ผัวะ ยัวะ เกี๊ยะ เจี๊ยะ มะเมีย เป็นต้น นักภาษาศาสตร์จึงไม่นับว่าสระเหล่านี้เป็นเสียงสาคัญในภาษา
บางตาราก็นับเสียงสระว่ามี ๓๒ เสียงโดยนับสระเดี่ยว ๑๘ เสียง ได้แก่ /อะ/ /อา/ /อิ/ /อี/ /อึ/
/อื/ /อุ/ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /เออะ/ /เออ/ /โอะ/ /โอ/ /เอาะ/ /ออ/ สระประสม ๖ เสียง
ได้แก่ เอียะ เอีย เอือะ เอือ อัวะ อัว
สระเกิน ๘ เสียง ได้แก่ /อา/ /ไอ/ /ใอ/ /เอา/ /ฤ/ /ฤๅ/ /ฦ/ /ฦๅ/
บางตาราไม่นับสระเกินเพราะถือว่าเป็นสระที่ไม่ใช่สระแท้ๆ มีพยัญชนะมาประสม เช่น
อา (อะ+ม) มีเสียงตัว ม เป็นตัวสะกด
ไอ (อะ+ย) มีเสียงตัว ย เป็นตัวสะกด
ใอ (อะ+ย) มีเสียงตัว ย เป็นตัวสะกด
เอา (อะ+ว) มีเสียง ว เป็นตัวสะกด
ฤ (รึ) (ร + ื) มีเสียงพยัญชนะ ร
ฤๅ (รือ) (ร + ื) มีเสียงพยัญชนะ ร
ฦ (ลึ) (ล + ื) มีเสียงพยัญชนะ ล
ฦๅ (ลือ) (ล + ื) มีเสียงพยัญชนะ ล
ฉะนั้นบางตาราจึงนับเสียงสระว่า มีเพียง ๒๑ เสียง โดยไม่นับสระเกิน เพราะถือว่าไม่ใช่เสียงสระ
แท้ ๆ มีเสียงพยัญชนะประสมอยู่และไม่นับสระประสม /เอียะ/ /เอือะ/ /อัวะ/ เพราะคาประสมสระเหล่านี้
มีน้อยและเป็นคายืมจากภาษาอื่น
@naog eg-oeorerto t stzo rETST T E Rtno-roxta-trpg g sg opnpgepnptnrotopygnzt n g -smnzgnpso.org
แผนภำพอวัยวะที่เกี่ยงข้องกับกำรออกเสียง
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงสระ)
รำยวิชำภำษำไทย รหัสวิชำ ท๒๑๑๐๑ ภำคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑
ฏุ่
owwmrara
ความหมาย
ใบความรู้ เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงพยัญชนะ)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง เสียงในภาษาไทย (เสียงพยัญชนะ)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

เสียงพยัญชนะ (เสียงแปร) หมายถึง เสียงที่เกิดจากลมที่ออกจาก ปอด แต่ขณะที่ลมผ่านหลอดลม


หรือออกมาทางช่องทางเดินของลมจะถูกสกัดกั้น ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตั้งแต่ในลาคอ ในช่องปาก หรือในช่องจมูก
และลมอาจถูกสกัดกั้นไว้ทั้งหมด หรือถูกสกัดกั้นเป็นบางส่วน แล้ว จึงผ่านออกมาภายนอก ทาให้เกิดเสียง
พยัญชนะต่าง ๆ เสียงชนิดนี้ได้แก่เสียงที่อยู่ต้นพยางค์ เช่น กะ โค งู ฯลฯ เสียงพยัญชนะในภาษาไทยมี
๒๑ เสียง ๔๔ รูป ดังนี้
เสียงพยัญชนะไทย ๒๑ เสียง รูปพยัญชนะไทย ๔๔ รูป
๑. /ก/ ก
๒. /ค/ ขฃคฅฆ
๓. /ง/ ง
๔. /จ/ จ
๕. /ช/ ชฌฉ
๖. /ซ/ ซสศษ
๗. /ด/ ดฎ
๘. /ต/ ตฏ
๙. /ท/ ทธฑฒถฐ
๑๐. /น/ นณ
๑๑. /บ/ บ
๑๒. /ป/ ป
๑๓. /พ/ พภผ
๑๔. /ฟ/ ฟฝ
๑๕. /ม/ ม
๑๖. /ย/ ยญ
๑๗. /ร/ ร
๑๘. /ล/ ลฬ
๑๙. /ว/ ว
๒๐. /ฮ/ ฮห
๒๑. /อ/ อ
ข้อสั งเกต บางครั้ งเสี ย งพยั ญชนะเสี ยงเดียวมีรูปพยัญชนะมากที่สุ ดถึง ๖ ตัว เช่น เสี ยง ท มีรูป
พยัญชนะ ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ เป็นต้น แต่บางเสียงก็มีรูปพยัญชนะเพียงรูปเดียวเท่านั้น
เสียงพยัญชนะต้น
เสียงพยัญชนะต้น แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ
๑. เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว เช่น กัน ขาน คิด ฉาน ชอบ /ก/ /ข/ /ค/ /ช/ เป็นเสียงพยัญชนะต้น
๒. เสียงพยัญชนะควบกล้า หมายถึง พยัญชนะ ๒ เสียง ที่ออกเสียงพร้อมกัน เสียงพยัญชนะควบกล้า
ในภาษาไทยอยู่ได้ในตาแหน่งต้นพยางค์เท่านั้น เช่น กราบ ขรึม โคลง ความ /กร/ /คล/ /คว/ เป็นต้น และ
ยังมีพยัญชนะควบกล้าซึ่งอยู่ในต้นพยางค์ในคาที่เรารับมาจากภาษาอื่น เช่น อินทรา /ทร/ ฟรี /ฟร/ ฟลุก /
ฟล/ เป็นต้น

พยัญชนะท้ายพยางค์
ในภาษาไทยเสียงพยัญชนะทั้ง ๒๑ เสียง ใช้เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ไม่ได้ทั้งหมด เรามีเสียง
พยัญชนะท้ายพยางค์ เพียง ๘ มาตราเท่านั้น ส่วนพยางค์ที่ไม่มีเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์จัดอยู่ในมาตราแม่ ก
กา เช่น จะ มา ตี ครู เหาะ พอ แกะ เตะ
เสียงพยัญชนะท้า ยพยางค์ มี ๘ มาตรา หรือ ๘ แม่ ในแต่ล ะมาตราอาจใช้พยัญชนะตัวเดียว
พยัญชนะควบกล้าหรือพยัญชนะที่มีสระกากับก็ได้ดังนี้
๑. แม่ กก มีเสียง ก เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ก กร ข ค คร ฆ ออกเสียงเหมือน ก
สะกด เช่น ลูก จักร เลข นาค สมัคร เมฆ
๒. แม่ กด มีเสียง ด เป็นเสียงพยัญชนะเป็ นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ จ ช ขร ซ ฎ ฏ ฐ
ฑ ฒ ต ตร ถ ท ทร ธ ส ศ ษ ออกเสียงเหมือน ด สะกด เช่น กัด นิจ ราช เพชร ก๊าซ กฎ
ปรากฏ รัฐ ครุฑ พัฒนา รัตน์ ฉัตร รถ พุทธ ภัทร โกรธ รส อากาศ
๓. แม่ กบ มีเสียง บ เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ บ ป พ ฟ ภ ออกเสียงเหมือน บ สะกด
เช่น บาป ภาพ กราฟ ลาภ
๔. แม่ กง มีเสียง ง เป็นตัวสะกดหรือพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ง สะกด เช่น จง ยิง สูง สังข์
สงฆ์
๕. แม่ กน มีเสียง น เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ น ญ ณ ร ล ฬ ออกเสียงเหมือน น
สะกด เช่น เงิน เข็ญ คุณ พร กล จุฬ
๖. แม่ กม มีเสียง ม เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ม สะกด เช่น ผม เค็ม
๗. แม่ เกย มีเสียง ย เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ย สะกด เช่น คุย พาย สวย โอย
๘. แม่ เกอว มีเสียง ว เป็นเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ ใช้ ว สะกด เช่น สาว ฉิว เร็ว เปลว แล้ว
นอกจากนั้นยังมีคาที่ประสมสระเสียงสั้นหรือเสียงยาว แต่ไม่มีตัวสะกดเรียกว่า แม่ ก กา เช่น กา จะตี ดุ
เสือ หนี
ความหมาย
เสียงวรรณยุกต์ หมายถึง เสียงที่มีระดับสูงต่่า และเราจะได้ยินไปพร้อมกับเสียงสระบางทีเป็นเสียงสูง
บางทีก็เป็นเสียงต่่า บางทีก็เป็นเสียงที่อยู่ระหว่างเสียงสูงกับเสียงต่่า บางทีก็เป็นเสียงต่่าแล้วค่อย ๆ เลื่อนขึ้น
ไปสู่เสียงสูง
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยนับว่ามีความส่าคัญ เพราะท่าให้ความหมายของค่าเปลี่ยนแปลงไปได้ เช่น
เสื อ มีความหมายอย่ างหนึ่ ง เสื้ อ มีความหมายอย่างหนึ่ง แต่เสี ยงที่มี ระดับสู งต่่าในบางภาษาไม่ได้ท่าให้
ความหมายของค่าเปลี่ยนไป
วรรณยุกต์ในภาษาไทย มี ๔ รูป มี ๕ เสียง ดังนี้
รูปวรรณยุกต์
๑. รูปเอก ( ่ ) เช่น ค่าที่รูปวรรณยุกต์เอก ในค่า ไข่ บ่อ พล่า
๒. รูปโท ( ้ ) เช่น ค่าที่มีรูปวรรณยุกต์โท ในค่า กล้า ค้า ม้า
๓. รูปตรี ( ) เช่น ค่าที่มีรูปเสียงวรรณยุกต์ตรี ในค่า โตะ เปรี๊ยะ กั๊ก
๔. รูปจัตวา ( ) เช่น ค่าที่มีรูปเสียงวรรณยุกต์จัตวา ในค่า เกง แจว กวยเตี๋ยว
เสียงวรรณยุกต์
๑. เสียงสามัญ เช่น ค่าที่มีเสียงวรรณยุกต์ในค่า คลอง จาน ดาว เฟือง
๒. เสียงเอก เช่น ค่าที่มีเสียงวรรณยุกต์ในค่า ไข่ บ่อ กัด จิต
๓. เสียงโท เช่น ค่าที่มีเสียงวรรณยุกต์ในค่า กล้า พล่า มาก เมฆ
๔. เสียงตรี เช่น ค่าที่มีเสียงวรรณยุกต์ในค่า ค้า ม้า ลัด เปรี๊ยะ
๕. เสียงจัตวา เช่น ค่าที่มีเสียงวรรณยุกต์ในค่า จ่า ขอ หมอ เกง
ข้อสังเกต เสียงวรรณยุกต์ที่มีอยู่ในพยางค์หรือค่าต่าง ๆ ที่เราออกเสียงนั้นมิได้ตรงกับรูปวรรณยุกต์ที่
เห็นในตัวเขียนเสมอไป เช่น รู้ เป็นค่าที่มีรูปวรรณยุกต์โท แต่ออกเสียงวรรณยุกต์ตรี
ระบบวรรณยุกต์ของไทยมีความสัมพันธ์กับอักษรสูง กลาง ต่่า และค่าเป็น – ค่าตาย มาก การศึกษา
เรื่องวรรณยุกต์จึงต้องศึกษาไปพร้อม ๆ กับ อักษร ๓ หมู่ หรือไตรยางศ์
อักษรสูง มี ๑๑ ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห ผี ฝาก ถุง ข้าว (ฃ) สาร เศรษฐี ให้ ฉัน
อักษรกลาง มี ๙ ตัว ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ไก่ จิก เด็ก (ฎ) ตาย (ฏ) บน ปาก โอ่ง
อักษรต่่า มี ๒๔ ตัว แบ่งเป็นอักษรต่่าเดี่ยว มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ง ญ น ณ ม ย ร ล ฬ ว งู ใหญ่ นอน อยู่
ณ ริม วัด โม ฬี โลก
อักษรต่่าคู่ มี ๑๔ ตัว ได้แก่
อักษรต่่า อักษรสูง
คฅ ขฃ
ชฌ ฉ
ซ ศษส
ฑฒทธ ฐถ
พภ ผ
ฟ ฝ
ฮ ห
tkaagprasr ใบความรู เรื่อง ไตรยางศ
หนวยการเรียนรูที่ ๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรือง ไตรยางศ์
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

ไตรยางศ คือ อักษร ๓ หมูซึ่งจัดแยกออกมาเปนพวกๆ จากพยัญชนะ ๔๔ ตัว ไดแก อักษรสูง อักษรกลาง อักษร
ต่ํา
อักษรสูงมี ๑๑ ตัวคือ ข ฅ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
อักษรกลางมี ๙ ตัวคือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
อักษรต่ํามี ๒๔ ตัวคือ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฒ ฑ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
การที่จัดแยกพยัญชนะออกเปนอักษร ๓ หมู (ไตรยางศ) นั้นก็โดยถือเอาเสียงเปนสําคัญ คือ พยัญชนะตัวใด
พื้นเสียงที่ยังมิไดผันดวยรูปวรรณยุกต มีสําเนียงอยูในระดับสูงก็จัดเปนพวกอักษรสูง พยัญชนะตัวใดพื้นเสียงที่ ยังมิได
ผันดวยรูปวรรณยุกต มีสําเนียงอยูในระดับกลางก็จัดเปนพวกอักษรกลาง พยัญชนะตัวใดพื้นเสียงที่ ยังมิไดผันดวยรูป
วรรณยุกต มีสําเนียงอยูในระดับต่ําก็จัดเปนพวกอักษรต่ํา ที่เรียกตัวอักษรต่ํานาจะหมายถึงเสียงต่ํากวาอักษรพวก
ขางตน ลองออกเสียงอักษรกลางกับอักษรต่ําเทียบกันจะรูสึกในขอนี้ เพราะลิ้นทําหนาที่ตางกัน

ประโยชนของการจําแนกพยัญชนะออกเปนอักษรสูง อักษรกลาง อักษรต่ํา


๑. สามารถผันคําใหมีเสียงและรูปตาง ๆ เมื่อเสียงและรูปตางกับความหมายก็ตางกันดวย เชน ไผ ไผ ไผ
ยอมแสดงความหมายคลีคลายไปจากเดิมเชนเดียวกัน
๒. สามารถนําคําบาลีและสันสกฤต มาเปนแนวสําเนียงของคนไทย ไดสนิทสนม เชน เลห สนเทห พุทโธ
สมุทร ฯลฯ
๓. ไมตองเขียนเครื่องหมายวรรณยุกตกํากับลงไปทุกคํา เชน “ชา” ไมตองเขียนเปน “คํา” ทั้งนี้นับวาชวยให
การเขียนหนังสือสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
wmaaaataao นวยก ร รยนรท
บคว มร ร ง ก รผนวรรณยกต
ผนก รจดก ร รยนรท
ร ยวช ภ ษ ทย ร วช ท ภ ค รยนท
ร ง ก รผนวรรณยกต
ชนมธยมศกษ ปท

ก รทภ ษ ทยผน ยง ล ยง ด น กจ กจ ท มค ชม กขน ลว ยงท ภ ษ ทย พ ร พร ร ดบ


ยงต ง ข งค ท กด ปน ยง ย งดนตร ก ร ล ยง ง - ต นนท คว ม ม ย ปลยน ปดวย ปน
ก รผน กษร ร ผนวรรณยกตซง ดจดร บบ ว ย งด ชง ย มยงย กทงก ร ขยน ล ก ร น พยง ตต ง
ท คว ม ข จร บบก ร ชวรรณยกต ท นน
ค ว ผนวรรณยกต มต ร ล ย ลม ชว ผน กษร ก รผนวรรณยกต ร ก รผน กษร ค
ก ร ปลยนร ดบ ยงข งค ดย ชรปวรรณยกตก กบ ร รยกค ทผน ลวนว วรรณยกตมรป ค ทยง
ม ดผนจง รยกว วรรณยกต มมรป ซงกค ค ท ปน พน ยง
พร ย ปกตศลป ร (นม ก ญจน ชว ; ) ธบ ย ร งจ นกวรรณยกต ปน ปร ภท
ดงน
. วรรณยกตมรป ค วรรณยกตทต ง ชรปวรรณยกตค ม บงคบข งบน ชน
ก ก ก ก , ข (ข ,ค ) ค ดงน ปนตน วรรณยกตมรปนม ค ยง ค ก ท ตร จตว ท นน ยง
มญ มม
. วรรณยกต มมรป ค วรรณยกตท มต ง ชรปวรรณยกตบงคบข งบน ง กต ยง
วรรณยกต ดดวยวธก นดตวพยญชน ปน ง กล ง ต ลวปร มกบ ร -พยญชน น ปน ยง
วรรณยกต ดต มพวก ชน ค ง ข ก ค ก คก ข ง ดงน ปนตน วรรณยกต มมรปน มครบทง ยง

ครบครน ร ง วรรณยกต
พศศร กมล วชช,
TttาRo-o-o--sคค_s tจคงIาoคoงrนac
กทม
กษร ม
นวยก ร รยนรท
ต ร งก รผนวรรณยกต
ผนก รจดก ร รยนรท
ร ยวช ภ ษ ทย ร วช ท
ยง
เรื่อง การผันวรรณยุกต์
ภ ค รยนท ชนมธยมศกษ ปท

มย ต
ตรย งศ มญ ก ท ตร จตว
กษรกล ง
กจฎฏดตบป
ค ปน ผน ด ยง ป ป ป ป ป ค ปน พน ยง มญ
ค ต ย ผน ด ยง - กด กด กด กด ค ต ย พน ยง ก
กษร ง
ขฃฉฐถผฝศษ
ค ปน ผน ด ยง - ข ข - ข ค ปน พน ยงจตว
ค ต ย ผน ด ยง - ขด ขด - - ค ต ย พน ยง ก
กษรต
กษรท ล ตว
ค ปน ผน ด ยง ค - ค ค - ค ปน พน ยง มญ
ถ รวมกบ กษร งจ ผน ดครบ
ยง
ค ต ย ร ยงย ว - - คบ คบ คบ ชน ค ข ข (ค ) ค ข
ค ต ย ร ยง น - - ค ค ค ค ต ย พน ยง ก

ม ย ต ค ปน ค ค ทมลกษณ ข ดข นงดงน
. ค ทปร ม ร ยงย ว มมตว กด ชน ต ม ม มย ตว
. ค ทมตว กด น ม กง กน กม กย ก ว ชน คง กน นม นย ลว
. ค ทปร มกบ ร ชน จ จ ป
ค ต ย ค ค ทมลกษณ ข ดข นงดงน
. ค ทปร ม ร ยง น มมตว กด ชน พร ด ก
. ค ทมตว กด น ม กก กบ กด ( ม กบฏ) ชน จ ก รถ ศพ
ณ็
อื
waamrram ใบความรู เรื่อง คำมูล
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง คำมูล
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

การสรางคำในภาษาไทย
คำที่ใชในภาษาไทยดั้งเดิม สวนมากจะเปนคำพยางคเดียว เชน ดำ แดง พอ แม พี่ นอง กิน นอน
เมื่อมีการสื่อสารที่มากขึ้นภาษาไทยก็จะตองพัฒนาทั้งรูปคำและการเพิ่มจำนวนคำ เพื่อใหคำเพียงพอตอการใช
สื่อสาร คำไทยที่ใชอยูปจจุบันมีทั้งคำที่เปนคำไทยดั้งเดิม คำที่ มาจากภาษาตางประเทศ คำศัพทเฉพาะทาง
วิชาการคำที่ใชเฉพาะในภาษาพูด คำชนิดตาง ๆ เหลานี้มีชื่อเรียกตามลักษณะและแบบสรางของคำ โดย
รูปแบบของการสรางคำนั้น เชน คำมูล คำประสม คำซ้ำ คำซอน คำพอง เปนตน
คำมูล
คำมูล คือ คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณในตัวเอง เปนคำที่สรางขึ้นโดยเฉพาะ อาจเปนคำไทยแท
หรือเปนคำที่มาจากภาษาอื่นก็ได และจะเปนคำพยางคเดียวหรือหลายพยางคก็ได
๑. ชนิดของคำมูล
๑.๑ คำมูลพยางคเดียว คือ คำพยางคเดียวที่มีความหมายชัดอยูในตัว จะเปนคำที่มาจาก
ภาษาใดก็ได และเปนคำชนิดใดก็ได
ตัวอยางคำมูลพยางคเดียวที่มาจากภาษาตางๆ
ภาษาไทย  พอ แม นก แดง แกว
ภาษาอังกฤษ  บาส บอล ฟรี น็อค ชัวร
ภาษาจีน  เกี๊ยว โตะ เกง อั๋ว ปา
ภาษาเขมร  อวย ตรวจ ผลาญ เพลิง เพ็ญ
๑.๒ คำมูลหลายพยางค เปนคำหลายพยางค เมื่อแยกแตละพยางคแลว อาจมีความหมาย
หรือไมมีความหมายก็ได แตความหมายของแตละพยางคไมเกี่ยวของกับความหมายของคำมูลนั้นเลย เชน
กระดาษ ศิลปะ กำมะลอ หรือกลาวไดวา คำมูล คือคำที่มีลักษณะอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้
(๑) ประกอบดวยพยางคที่ไมมีความหมาย เชน “ขนม”
ขะ  ไมมีความหมาย
หนม  ไมมีความหมาย
ขนม  ของกินที่ไมใชกับขาว มักปรุงดวยแปงหรือขาวกับกะทิหรือนํ้าตาล
ของหวาน

(๒) ประกอบดวยพยางคที่มีความหมายเพียงบางพยางค เชน “นาิกา”


นา  พื้นที่ลักษณะคลายนาสำหรับทำการเกษตรอื่น ๆ
ิ  ไมมีความหมาย
กา  นกชนิดหนึ่ง , ภาชนะสำหรับใสน้ำหรือตมน้ำ
นาิกา  เครื่องบอกเวลา
(๓) ประกอบดวยพยางคที่มีความหมาย แตความหมายของคำนั้นไมมีเคา
ความหมายของแตละพยางคเหลืออยูเลย เชน นารี
นา  พื้นที่ลักษณะคลายนาสำหรับทำการเกษตรอื่น ๆ
รี  ลักษณะเรียว , ไมกลม
นารี  นารี
ตัวอยางคำมูลหลายพยางคที่มาจากภาษาตางๆ
ภาษาไทย  กระดาษ ประตู มะละกอ กระดุม มะมวง
ภาษาอังกฤษ  โปรแกรม เทคนิค คอมพิวเตอร เอเยน ออฟฟศ
ภาษาจีน  เกาเหลา กวยเตี๋ยว บะจาง แซยิด บะหมี่
ภาษาเขมร  เจริญ กระบือ กบาล เสด็จ ถวาย
หลักสังเกตคำมูลหลายพยางค
 เปลงเสียงหลายครั้ง
 มีความหมาย
 เมื่อแยกพยางคแลวจะมีบางพยางคที่ไมมีความหมาย หรือทุกพยางคไมมีความหมาย
ktaagamktae ใบความรู เรื่อง คำประสม
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง คำประสม
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำประสม เปนคำที่สรางขึ้นใหมจากการนำคำมูล ๒ คำขึ้นไปมารวมกัน เกิดเปนคำใหมมีความหมาย


ใหม ทำใหมีคำใชในภาษาไทยมากขึ้น
ลักษณะของคำประสม
๑. คำประสมเกิดจากคำมูลตั้งแตสองคำขึ้นไปมาประสมกัน แลวเกิดความหมายใหม แตยังมีเคา
ความหมายเดิมอยู เชน
พอ หมายถึง สามีของแม
ตา หมายถึง พอของแม
พอตา หมายถึง พอของภรรยา
๒. คำประสมสามารถแยกเปนคำ ๆ ได และคำที่แยกไดแตละคำมีความหมายตางกัน เมื่อนำมา
รวมกันความหมายตางจากคำเดิม เชน
ปาก หมายถึง อวัยวะของคนและสัตวสำหรับกินอาหาร และใชออกเสียง.
กา หมายถึง นกชนิดหนึ่ง หรือภาชนะสำหรับใสน้ำหรือตมน้ำ
ปากกา หมายถึง เครื่องสำหรับขีดเขียน
๓. คำที่มาประสมกันจะเปนคำมูลในภาษาใดก็ได เชน
เข็มทิศ (ไทย + สันสกฤต)
รถเกง (บาลี + จีน)
ตูโชว (จีน + อังกฤษ)
๔. คำประสมที่เกิดจากคำมูล ซึ่งมีลักษณะเปนการยอคำหลาย ๆ คำ สวนมากมักจะขึ้นตนดวย คำ
วา นัก ชาว ชาง หมอ การ ความ ผู ของ เครื่อง ที่ เชน
นัก  นักรอง นักเขียน นักเรียน นักสู
ชาว  ชาวบาน ชาวเมือง ชาวนา ชาววัง
ชาง  ชางไม ชางเสริมสวย ชางไฟฟา
หมอ  หมอดู หมอความ หมอผี หมอนวด
การ  การบาน การเมือง การไฟฟา การคลัง
ความ  ความดี ความชั่ว ความสุข ความทุกข
ผู  ผูใหญ ผูดี ผูอำนวยการ ผูนอย ผูราย
ของ  ของใช ของไหว ของเลน ของชำรวย
เครื่อง  เครื่องหมาย เครื่องบิน เครื่องมือ
ที่  ที่นอน ที่ดิน ที่เขี่ยบุหรี่ ที่เที่ยว ที่พัก
๕. คำประสม เปนคำชนิดใดประสมกันก็ได เชน
นาม + นาม เชน แมน้ำ พอบาน แปรงสีฟน
นาม + กริยา เชน แบบเรียน เข็มกลัด ยาดม
กริยา + นาม เชน กินใจ เลนตัว เขาใจ ได
นาม + วิเศษณ เชน น้ำแข็ง ถั่วเขียว หัวหอม
กริยา + กริยา เชน ตมยำ พิมพดีด จดจำ
บุพบท + นาม เชน ขางถนน นอกคอก ตอหนา
วิเศษณ + วิเศษณ เชน ออนหวาน หวานเย็น
วิเศษณ + คำนาม เชน ออนขอ สองหัว
หลักการสังเกตคำประสม
คำมูลตั้งแตสองคำขึ้นไปรวมกัน เกิดคำใหม มีความหมายใหม เปนคำประสม
พัดลม หมายถึง เครื่องพัดใหเย็นดวยแรงไฟฟา
มือแข็ง หมายถึง ไมคอยไหวคนงายๆ
เสื้อกลาม หมายถึง เสื้อชั้นในชาย
ลูกนอง หมายถึง ผูที่คอยติดสอยหอยตาม
คำมูลตั้งแตสองคำขึ้นไปรวมกัน ไมเกิดความหมายใหม ไมใชคำประสม
ลมพัด หมายถึง ลมโชยมา
มือขาด หมายถึง มือถูกสิ่งใดสิ่งหนึ่งตัดขาด
คอเจ็บ หมายถึง คออักเสบ
เสื้อเปอน หมายถึง เสื้อติดสิ่งที่ทำใหเกิดความสกปรก
มรดกตกทอด ใบความรู เรื่อง คำซ้ำ
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง คำซ้ำ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำซ้ำ เปนการสรางคำขึ้นใหมจากคำมูล โดยการนำคำมูลคำเดียวกันมากลาวซ้ำ ความหมายของคำ


ซ้ำอาจเหมือนคำมูลเดิม หรืออาจมีน้ำหนักมากขึ้นหรือเบาลง หรือแสดงความเปนพหูพจน
ลักษณะของคำซ้ำ
๑. นำคำมากลาวซ้ำกัน โดยใชเครื่องหมาย ไมยมก (ๆ) เชน
ฉันมีเพื่อน ๆ เปนคนตางจังหวัด
ฉันเห็นเธอพูด ๆ อยูนั่นแหละ
๒. นำคำซ้ำกัน โดยเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต เพื่อเนนความหมาย เชน ซวยสวย ดี๊ดี เจ็บใจเจ็บใจ
คุณแมของฉันใจดี๊ใจดี
อยูๆ ก็โดนเทเจ็บใจเจ็บใจ
ชนิดของคำซ้ำ
คำนาม เชน สาว ๆ หลาน ๆ เด็ก ๆ เพื่อน ๆ
คำสรรพนาม เชน เรา ๆ ทาน ๆ เขาๆ เธอ ๆ
คำกริยา เชน นั่ง ๆ นอน ๆ เดิน ๆ ดู ๆ
คำวิเศษณ เชน แดง ๆ สูง ๆ หลอ ๆ หวาน ๆ
คำบุพบท เชน ใต ๆ ไกล ๆ บน ๆ ขางๆ
คำสันธาน เชน ทั้ง ๆ ที่ ราว ๆ กับ เหมือน ๆ อยางไร ๆ
คำอุทาน เชน โถ ๆ เฮย ๆ โฮ ๆ โอะ ๆ
ความหมายของคำซ้ำ
๑. บอกความหมายเปนพหูพจน แสดงถึงจำนวนมากกวาหนึ่ง เชน
เด็ก ๆ ไปโรงเรียน
หนุมๆ กำลังเลนฟุตบอล
๒. บอกความหมายแยกจำนวน แยกเปนสวน เชน
ทำใหเสร็จเปนอยาง ๆ ไป
ครูตรวจการบานนักเรียนเปนคน ๆ
๓. บอกความหมายเนน เชน
ผาดี ๆ อยางนี้หาซื้อไมได
ไขเจียวจานนี้รสชาติเคมเค็ม
๔. บอกความหมายเบาลง เชน
ฉันไมไดตั้งใจมอง รูแตวาเขาหนาตาคลายๆ ดารา
เขายังโกรธๆ ฉันอยูกับเรื่องเมื่อวานนี้
๕. บอกความหมายไมแนนอน เชน
เธอมาหาฉันแตเชาๆ หนอย
เขาเดินอยูแถวๆ โรงเรียน
๖. ซ้ำคำทำใหเกิดความหมายใหม เชน
อยู ๆ ก็ลุกขึ้นกระโดด (ไมมีสาเหตุ)
ของพื้น ๆ อยางนี้ใครก็ทำได (ของธรรมดา)

ขอยกเวน

คำที่มีเสียงซ้ำกันบางคำก็ไมใชคำซ้ำ เชน
นานา จะจะ เวลาเขียนจะใชไมยมกซ้ำ
ไมได
 เรื่องแบบนี้ตางคนตางคิดมันนานาจิตตัง
 ฉันเห็นจะจะวาเธอกำลังขโมยของ
Bttmtapmmmaae ใบความรู เรื่อง คำซอน
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง คำซอน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำซอน เปนการสรางคำขึ้นใหมจากคำมูล โดยการนำคำมูลที่มีความหมายเหมือนกัน หรือใกลเคียง


กัน หรือตรงขามกันมารวมกัน แบงออกเปน ๒ ชนิด คือ คำซอนเพื่อความหมาย และคำซอนเพื่อเสียง
ลักษณะของความหมายที่เกิดจากคำซอน
๑. ความหมายคงเดิม ความหมายก็ยังคงไมเปลี่ยนแปลง เชน ซากศพ อวนพี โตแยง สูญหาย
๒. ความหมายกวางออก ความหมายจะกวางกวาความหมายในคำเดิม
ขนมนมเนย หมายถึง ขนมหลายอยาง
หมูเห็ดเปดไก หมายถึง อาหารหลายชนิด
ถวยโถโอชาม หมายถึง ภาชนะที่ใชในครัว
๓. ความหมายยายที่ คือ ความหมายจะเปนอยางอื่นซึ่งไมตรงกับความหมายของคำเดิม
เหลียวแล หมายถึง การเอาใจใสเปนธุระ
เยือกเย็น หมายถึง หนักแนน สุขุม
เบิกบาน หมายถึง ความรูสึกราเริงแจมใส
๔. ความหมายอยูที่คำหนา โดยที่คำหลังจะซอนเพื่อเสริมความเทานั้น
เปนลมเปนแลง อายุอานาม
ความคิดความอาน นิสัยใจคอ
๕. ความหมายอยูที่คำหลัง โดยที่คำหนาจะซอนเพื่อเสริมความเทานั้น
เสียอกเสียใจ ดีอกดีใจ
วานอนสอนงาย เครื่องไมเครื่องมือ
๖. ความหมายอยูที่คำตนและคำทาย โดยทำที่อยูตรงกลางจะซอนเพื่อเสริมความเทานั้น
ผลหมากรากไม อดตาหลับขับตานอน
ติดสอยหอยตาม ชอบมาพากล
๗. ไดความหมายทั้งสองคำ โยทำทุกคำที่นำมาซอนกันจะสื่อความหมายได
ดินฟาอากาศ เอวบางรางนอย
ปูยาตายาย เอื้อเฟอเผื่อแผ

๘. ความหมายของคำคูหนากับคูหลังตรงกันขาม เชน
หนาไหวหลังหลอก ปากหวานกนเปรี้ยว
หนาเนื้อใจเสือ หนาชื่นอกตรม

จำนวนคำในคำซอน
๑. คำซอน ๒ คำ คำซอนที่ประกอบดวยคำ ๒ คำ
ชางมา บานเมือง คุกตะราง บานเรือน
๒. คำซอน ๔ คำ คำซอนที่ประกอบดวยคำ ๔ คำ
เขาอกเขาใจ บานชองหองหอ เย็บปกถักรอย เสือสิงหกระทิงแรด
๓. คำซอน ๖ คำ คำซอนที่ประกอบดวยคำ ๖ คำ
คดในของอในกระดูก เลือกที่รักมักที่ชัง จับไมไดไลไมทัน กำแพงมีหูประตูมีชอง
ชนิดของคำซอน
๑. คำซอนเพื่อความหมาย เกิดจากคำมูลที่มีความหมายอยางเดียวกัน ตางกันเล็กนอยหรือไปในทำนอง
เดียวกัน หรือตางกันในลักษณะตรงขาม เมื่อประกอบเปนคำซอนจะมีความหมายอยางใดอยางหนึ่ง
๑) ความหมายเหมือนกัน คำที่นำมาซอนกันนั้นหมายถึงสิ่งเดียวกันหรือเปนอยางเดียวกัน เชน
เร็วไว ทรัพยสิน ใหญโต สูญหาย ดูแล หยาบชา นุมนิ่ม เลือกสรร
๒) ความหมายคลายกัน คำที่นำมาซอนกันนั้นมีความหมายใกลเคียงกันหรือเปนไปในทำนองเดียวกัน
พอที่จะจัดเขากลุมเดียวกันได เชน ยักษมาร ไรนา ถวยโถโอชาม
๓) ความหมายตรงกันขาม คำที่นำมาซอนกันนั้นมีความหมายเปนคนละลักษณะหรือคนละฝายกัน
เชน ใกลไกล สูงต่ำดำขาว ผิดถูก ชั่วดี ทีหนาทีหลัง
๒. คำซอนเพื่อเสียง เปนการนำคำที่มีความหมายคลายคลึงกันมาซอนกัน เพื่อใหออกเสียงงายขึ้น และมีเสียง
คลองจองกัน ทำใหเกิดความไพเราะขึ้น คำซอนเพื่อเสียงนี้บางทีเรียกวาคำคู หรือคำควบคู
๑) นำคำที่มีพยัญชนะตนเดียวกัน แตแตกตางกันที่เสียงสระ นำมาซอนหรือควบคูกัน เชน เรอรา
เซอซา ออแอ จูจี้ เงอะงะ จอแจ รอแร จริงจัง ทึกทัก ตึงตัง
๒) นำคำแรกที่มีความหมายมาซอนกับคำหลัง ซึ่งไมมีความหมาย เพื่อใหคลองจองและออกเสียงได
สะดวก เชน กวาดแกวด มองเมิง ดีเด ไปเปย เดินแดน บาบอ หัวเหอ
๓) นำคำที่มีเสียงสระเดียวมาซอนกันหรือควบคูกัน เชน เบอเรอ อางวางแรนแคน จิ้มลิ้ม ออมชอม
เรื่อยเจื้อย ราบคาบ
B ETE OET T TRAT T OT ATAOATAOA ETRT EBOMOATAT TATSOTSETBEL
ใบความรูเรื่อง ฉันคือผูเชี่ยวชาญเรื่องคำพองรูป
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง คำพอง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำพองรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน ออกเสียงตางกันและความหมายก็ตางกัน การอานคำพองรูปให


ถูกตองควรดูขอความอื่น ๆ ประกอบดวยวาคำพองรูปนั้นหมายถึงอะไรเเลวจึงอานใหถูก
ตัวอยาง ในเพลานี้ฉันวาควรจะเพลา ๆ เรื่องการทะเลาะกันไดแลว
 เพลา ( เพ-ลา) คำแรกเปนคำนาม หมายถึง กาล , คราว
เพลา (เพลา) คำที่สองเปนคำวิเศษณ หมายถึง เบาลง
คำ อานวา ความหมาย
คฺรุ ภาชนะสานชนิดหนึ่ง
ครุ
คะ-รุ ครู, หนึ่ง
ปฺรา-มาด ดูถูก
ปรามาส
ปะ-รา-มาด การจับตอง การลูบคลำ
พะ-ยา-ธิ ความเจ็บไข
พยาธิ
พะ-ยาด ชื่อสัตวไมมีกระดูกสันหลังชนิดหนึ่ง
เพลา แกน, ดุมลอ, เบาลง
เพลา
เพ-ลา เวลา
สะ แองน้ำขนาดใหญ, ชำระลาง
สระ
สะ-หระ อักษรแทนเสียงสระ
จารกรรม ใบความรูเรื่อง ฉันคือผูเชี่ยวชาญเรื่องคำพองเสียง
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง คำพอง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำพองเสียง คือ คำที่ออกเสียงเหมือนกัน แตรูปตางกัน ความหมายตอกัน


ตัวอยาง เขาเอาน้ำที่ใชลางรถไปรดน้ำตนไม
 รถ คำแรกเปนคำนาม หมายถึง ยานพาหนะ
 รด คำที่สองเปนคำกริยา หมายถึง เท ราด หรือสาดน้ำ

คำ อานวา ความหมาย
กัน กีดขวางไวไมใหเขามาหรือออกไป
กัลป กัน ระยะหนึ่งในชวงเวลาอันยาวนาน
กรรณ หู
ครรภ ทอง เชน หญิงมีครรภ
คัน
คันธ กลิ่นหอม
พรรณ สีของผิว ชนิด
พัน
พันธุ พวกพอง พี่นอง วงศวาน เหลากอ
จันทร ดวงเดือน
จัน
จันทน ชื่อพรรณไม ใชทำยาเเละปรุงเครื่องหอม
ฆา ทำใหสิ้นไป
คา คา ราคา
ขา ฉัน
หนองกรด ใบความรูเรื่อง ฉันคือผูเชี่ยวชาญเรื่องคำพองทั้งรูปและเสียง
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง คำพอง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำพองทั้งรูปและเสียง คือ คำที่มีรูปเหมือนกัน อานออกเสียงอยางเดียวกัน เเตมีความหมายหลายอยางขึ้นอยู


กับบริบทในประโยค
ตัวอยาง ตาเตือนฉันวาไมควรเอำมือขยี้ตาจะทำใหเปนโรคตาแดง
ตา คำแรกเปนคำนาม หมายถึง ญาติผูใหญ
ตา คำที่สองเปนคำนาม หมายถึง อวัยวะที่ใชในการดู
ตา คำที่สาม หมายถึง โรคชนิดหนึ่ง

คำ อานวา ความหมาย
ฉัน คำที่ใชแทนผูพูด
ฉัน ฉัน กิน ใชกับภิกษุสามเณร
ฉัน เชน, อยาง
ชื่อเรียกไมเถาหรือไมตนที่ใชหัวเปนอาหาร
มัน
ได
มัน เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดหนึ่งในคน สัตวมี
มัน
ลักษณะนุมๆ หยุน ๆ มีไขมันอยูในตัว
มัน คำที่เราใชแทนผูที่เราพูดถึง
กา ชื่อนกตัวดำ รองกา ๆ
ภาชนะสำหรับใสนํ้าหรือตมนํ้ามีพวยและหูสำหรับ
กา กา
หิ้วหรือจับ
กา ทำเครื่องหมายเปนรูปกากบาท
เขา เนินที่นูนสูงขนเปนจอมเดน
เขา สิ่งที่งอกออกมาจากหัวสัตวบางพวก มีลักษณะแข็ง
เขา
เขา ชื่อนกชนิดหนึ่ง
เขา คำที่ใชแทนผูที่เราพูดถึง
แอนตรา ใบความรูเรื่อง ฉันคือผูเชี่ยวชาญเรื่องคำพองความหมาย
หนวยที่ ๔ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง คำพอง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

คำพองความหมาย คือ คำที่มีความหมายเหมือนกันหรือคลายคลึงกัน แตเขียนและออกเสียงไมเหมือนกัน


หรือเรียกวา“คำพองความ” “คำไวพจน” “การหลากคำ” มักใชในการแตงคำประพันธ ซึ่งการรูจักคำและ
ความหมายของคำจำนวนมาก นับเปนองคประกอบสำคัญอีกประการที่ทำคำประพันธใหความหมายลึกซึ้งและ
เกิดความไพเราะงดงามทางภาษา

คำ คำไวพจน
ใจ กมล , มโน , ดวงหทัย , ดวงแด , ฤทัย , ฤดี , หฤทัย , ทรวง ,
ผูหญิง นงเยาว , พนิดา , นุช , นารี , บังอร , สมร , นงคราญ , สตรี , สุดา , ดรุณี
ทองฟา คนานต , เวหา , เวหาส , อัมพร , นภาลัย , โพยม , นภา , ทิฆัมพร , คัคนางค , คัคนานต
ดอกไม กุสุมาลย , ผกา , บุษบา , บุปผา , มาลย , สุมาลี , บุปชาติ , บุหงา , โกสุม , มาลี
น้ำ กระแสสินธุ , คงคา , ชลธี , ชลธาร , ธารา , ชลสินธุ , อุทก , วาริน , วารี , อาโป
ตาย สิ้นชีพ , เสีย , อาสัญ , มรณะ , วายปราณ , ถึงแกกรรม , สิ้นชีพตักษัย , สวรรคต , ดับจิต ,
บรรลัย
BT TBET TAT AT TAT A-TA T T AOAT TST-otDETAotoaonosas-a-osoao s-pzasamno.E
ใบความรู้เรื่อง นิราศภูเขาทอง (ซองนักปราชญ์)
หน่วยที่ ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ ๒ เรื่อง นิราศภูเขาทอง
รายวิชาภาษาไทย รหัส ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

ที่มาและจุดประสงค์ในการแต่งนิราศภูเขาทอง
สุนทรภู่แต่งเรื่องนิราศภูเขาทองเมื่อปี 2373 หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จ
สวรรคตไปแล้ ว 6 ปี (สวรรคตปี 2367) เพื่ อ เล่ า เรื่ อ งการเดิ น ทางจากวั ด ราชบุ ร ณะหรื อ วั ด เลี ย บ
ไปนมัสการพระเจดีย์ภูเขาทองที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาหลังจากออกพรรษาแล้ว (กระทรวงศึกษาธิการ, 2554: 13)
ประวัติสุนทรภู่โดยสังเขป
สุ น ทรภู่เป็ น กวีเอกแห่งกรุ งรัตนโกสินทร์ซึ่งได้รับการยกย่องจากองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และ
วัฒ นธรรมแห่ งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือ
ยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็นบุคคลที่มีผลงานดีเด่นด้านวรรณกรรม ประวัติของท่านโดยสังเขป มีดังนี้
(ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต, 2551)
สุนทรภู่เป็นกวีที่มีช่วงชีวิตอยู่ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ท่านเป็นสามัญ
ชน แต่มีชีวิตที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับราชสานักตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงปัจฉิมวัย ชื่อ สุนทรภู่ เป็นชื่อที่คนทั่วไปเรียกกวีท่าน
นี้ โดยน าค า สุ น ทร จากบรรดาศั ก ดิ์ "ขุ น สุ น ทรโวหาร" "หลวงสุ น ทรโวหาร" และ "พระสุ น ทรโวหาร"
ที่ท่านได้รับพระราชทานในรัชกาลที่ 2 และรัชกาลที่ 4 มารวมกับคาว่า ภู่ ซึ่งเป็นชื่อเดิม และเรียกมาแต่ครั้งท่าน
ยังมีชีวิตอยู่
สุนทรภู่เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ที่บ้านของบิดามารดาริมคลองบางกอกน้อย ธนบุรี
ใกล้บริเวณพระราชวังหลัง (ปัจจุบันสถานที่บริเวณพระราชวังหลัง คือ บริเวณที่เป็นสถานีรถไฟบางกอกน้อย
โรงพยาบาลศิริราช และบริเวณใกล้เคียง) ท่านมีใจรักด้านกาพย์กลอนมาตั้ง แต่วัยเด็ก เมื่อเติบโตขึ้นก็ได้รับการ
ถ่ายทอดวิชาวรรณคดีและการประพันธ์จากพระภิกษุที่เป็นอาจารย์ ทั้งนี้ท่านยังศึกษาและเพิ่มพูนประสบการณ์ใน
การประพันธ์ โดยการรับจ้างแต่งเพลงยาวและบทดอกสร้อยสักวา ด้วยลีลากลอนที่มีลักษณะเฉพาะตัวและคารมที่
คมคาย จึงทาให้สุนทรภู่เริ่มเป็นที่รู้จักในวงกวี
ช่ ว งชี วิ ต ที่ รุ่ ง เรื อ งของสุ น ทรภู่ คื อ ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภ าลั ย
เมื่อพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการในกรมพระอาลักษณ์ สุนทรภู่ได้แสดงความสามารถในเชิงกลอน จนเป็น
ที่พอพระราชหฤทัยหลายครั้ง ด้วยความดีความชอบดังกล่า ว สุนทรภู่จึงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นขุน
สุนทรโวหาร มีหน้าที่เป็นกวีที่ทรงปรึกษาในการทรงพระราชนิพนธ์บทกวีเรื่องต่าง ๆ และโปรดเกล้าฯ ให้ตามเสด็จ
อย่ า งใกล้ ชิ ด แต่ ด้ ว ยนิ สั ย ที่ ช อบดื่ ม สุ ร าอยู่ เ ป็ น นิ จ จึ ง ท าให้ ชี วิ ต บางช่ ว งตกต่ าและชี วิ ต ครอบครั ว ไม่ ร าบรื่ น
เช่น ครั้ งหนึ่ งสุ น ทรภู่เมาสุ ร า แล้ ว ไปทาร้ ายญาติผู้ ใหญ่ของภรรยา จึงถูกนาตัว ไปขังคุก แต่ไม่นานก็พ้นโทษ
และตอนปลายรัชกาลสุนทรภู่ได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสุนทรโวหาร
ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทาให้สุนทรภู่จงรักภักดี เทิดทูน
และร าลึ ก ถึ ง พระองค์ อ ยู่ เ สมอ ดั ง ปรากฏในงานนิ พ นธ์ ห ลายเรื่ อ งของท่ า น ทั้ ง โดยตรงและโดยอ้ อ ม
เช่น ในนิ ร าศพระประธม นิ ร าศภูเขาทอง ตอนผ่ านตาบลสามโคก และในเรื่องพระอภั ยมณี โดยกาหนดให้
วันสวรรคตของท้าวสุทัศน์ และพระมเหสี ซึ่งเป็นพระบิดาและพระมารดา ของพระอภัยมณีและศรีสุวรรณ ตรงกับ
วันสวรรคตของ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อีกทั้งยังได้บรรยายความโศกสลดของพระอภัยมณี
ไว้อย่างสะเทือนใจ
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต และพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสด็จขึ้นครองราชย์ ชีวิตราชการของสุนทรภู่ในฐานะกวีที่ ทรงปรึกษาก็สิ้นสุดลง สุนทรภู่ออกจากราชการและออก
บวช ด้วยเห็นว่าตนไม่มีที่พึ่งและเกรง "ราชภัย" จากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากสุนทรภู่เคย
ท้ ว งติ ง และแก้ ก ลอนพระราชนิ พ นธ์ พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว เมื่ อ ครั้ ง ด ารงพระราชอิ ส ริยยศ
เป็นสมเด็จพระเจ้ าลูกยาเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ในที่ประชุมกวีราชสานัก จนทาให้ไม่พอพระราชหฤทัย
ในรัชกาลที่ 3 เป็นช่วงที่สุนทรภู่ออกบวช และลาสิกขา แล้วออกบวชอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งได้รับการอุปการะจากเจ้านาย
หลายพระองค์จนกระทั่งถึงแก่กรรมใน พ.ศ. 2398 ขณะมีอายุ 69 ปี
ความเป็นนิราศ
นิราศ ตามความหมายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ หมายถึง ไปจากระเหระหน
ปราศจากและเรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่างๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น
นิราศนรินทร์ นิราศเมืองแกลง
นิราศเป็นวรรณกรรมที่นิยมแต่งมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เดิมนิยมแต่งเป็นโคลง ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์
นิยมแต่งเป็นกลอน ลักษณะเด่นของนิราศอยู่ที่ “การพรากจากคนรัก ” ซึ่งอาจจะจากกันจริงหรือสมมุติขึ้นก็ได้
และมี “การคร่าครวญ” รวมทั้ง “การเดินทาง”
การตั้งชื่อเรื่องนิราศ มักตามผู้แต่ง เช่น นิราศนรินทร์ หรือตั้งตามสถานที่ที่เป็นจุดหมายปลายทาง เช่น
“นิ ร าศลอนดอน” นิ ร าศเมืองแกลง เป็ น ต้น หรือเรียกตามเนื้อหาที่พรรณนา เช่น นิราศอิเหนา นิราศเดือน
(พรรณนาตามเดือนต่าง ๆ)เป็นต้น
ลักษณะคาประพันธ์
ลั ก ษณะค าประพั น ธ์ ใ นนิ ร าศภู เ ขาทองคื อ กลอนนิ ร าศ ซึ่ ง ก็ คื อ กลอนสุ ภ าพ หากแต่ ต่ า งกั น
ที่ ก ลอนนิ ร าศจะขึ้ น ต้ น ด้ ว ยวรรคที่ ส อง แล้ ว แต่ ง ไปเรื่ อ ยๆ จนจบบท วรรคสุ ด ท้ า ยจะลงท้ า ยด้ ว ยค าว่ า
“เอย” มักบรรยายและพรรณนาถึงสถานที่ อารมณ์รัก และคร่าครวญถึงสตรีอั นเป็น ที่รัก โดยเอาไปผู ก พั น
กับธรรมชาติหรือสถานที่ที่พบเห็น
เรื่องย่อ
นิราศภูเขาทองมีความยาว 176 คากลอน เป็นนิราศเรื่องที่สั้นที่สุดของสุนทรภู่ เริ่มเรื่องด้วยการปรารภถึง
สาเหตุ ที่ ต้ อ งออกจากวั ด ราชบุ ร ณะและการเดิ น ทางโดยเรื อ พร้ อ มหนู พั ด ซึ่ ง เป็ น บุ ต รชาย ล่ อ งไปตามล าน้ า
เจ้าพระยาผ่านพระบรมมหาราชวัง จนมาถึงวัดประโคนปัก ผ่านโรงเหล้า บางจาก บางพลู บางพลัด บางโพ
บ้านญวน วัดเขมา ตลาดแก้ว ตลาดขวัญ บางธรณี เกาะเกร็ด บางพูด บางเดื่อ บางหลวงเชิงราก สามโคก บ้านงิ้ว
เกาะราชคราม จนถึงกรุงเก่าเมื่อเวลาเย็น โดยจอดเรือพักทีท่าน้าวัดพระเมรุ ครั้นรุ่งเช้า จึงไปนมัสการเจดีย์ภูเขา
ทอง ส่วนขากลับสุนทรภู่กล่ าวแต่เพีย งว่า เมื่อถึงกรุงเทพได้จอดเรือเทียบที่ท่าน้าหน้าวัดอรุณราชวรรามราช
วรมหาวิหาร (ฟองจันทร์ สุขยิ่ง และคณะ, 2554: 6)
คุณค่าที่ปรากฏ
1) คุณค่าด้านเนื้อหา
เ นื้ อ ห า ที่ ป ร า ก ฏ ใ น นิ ร า ศ ภู เ ข า ท อ ง แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ร อ บ รู้ แ ล ะ ค ว า ม ช่ า ง สั ง เ ก ต
ของสุนทรภู่ได้เป็นอย่างดี เนื่องจากสุนทรภู่ได้บันทึกเรื่องราวและเหตุการณ์ต่างๆ ที่ตนได้พบเห็นตลอดเส้นทาง
ตั้ ง แต่ อ อกจากวั ด ราชบุ ร ณะจนถึ งจั ง หวัด ซึ่ ง สะท้ อ นสภาพบ้ านเมื อ งและสั ง คมของวิถี ชี วิตผู้ ค นริ ม ฝั่ ง แม่น้า
เจ้าพระยาในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น อาทิ การติดต่อค้าขาย การตั้งบ้านเรือน ชุมชนชาวต่างชาติ การละเล่น
และงานมหรสพเป็นต้นทั้งยังแทรกตานานสถานที่ ความเชื่อของคนไทย และแง่คิดเกี่ยวกับความจริงของชีวิต
2) คุณค่าด้านวรรณศิลป์
นิราศภูเขาทองมีความดีเด่นทางวรรณศิลป์อย่างงดงาม แม้สุนทรภู่จะใช้ถ้อยคาธรรมดาสามัญในการ
ประพันธ์ แต่ทว่าก็มีความลึกซึ้ง สะเทือนอารมณ์ และสร้างจินตภาพได้อย่างชัดเจน ทั้งการเล่นเสียงสัมผัส การใช้
ความเปรียบกินใจ การใช้คาเพื่อสร้างจินตภาพ

แผนทีก่ ารเดินทางเรื่องนิราศภูเขาทอง
Boaoaaeaamaae
ใบความรู 1 เรื่องเกร็ดความรู
หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่องระหวางทางบันทึก
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๙ เรื่องมุมมองสุนทรีย
รายวิชาภาษาไทย ๑ รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

นิ ร าศภู เ ขาทองจะสอดแทรกเกร็ ด ความรู ใ ห ผู อ า นนึ ก เห็ น ภาพและเข า ใจสภาพสั ง คม


สมั ย รั ต นโกสิ น ทร ดั ง เช น การกล า วถึ ง การประกอบอาชี พ ของชาวต า งชาติ ใ นช ว งที่ สุ น ทรภูเ ดิ นทาง
ผานบานญวนชาวญวน เขามาอาศัยในยุครัตนโกสินทรตอนตนรอบเกาะรัตนโกสินทร ซึ่งแสดงให เห็นวา
ชาวญวนในสมัยนั้นเลี้ยงชีพดวยการทําประมงน้ําจืดเพื่อการคา เชน

ถึงบานญวนลวนแตโรงแลสะพรั่ง มีของขังกุงปลาไวคาขาย
ตรงหนาโรงโพงพางเขาวางราย พวกหญิงชายพรอมเพรียงมาเมียงมอง

สุนทรภูเมื่อเดินทางผานสถานที่ อาทิ วัดประโคนปก สุนทรภูไดบอกเลาเรื่องราวที่มาของชื่อวัด


แหงนี้ไววาบริเวณนี้เปนที่ปกเสาประโคนเพื่อปนเขตแดน เชน

ถึงอารามนามวัดประโคนปก ไมเห็นหลักลือเลาวาเสาหิน
เปนสําคัญปนแดนในแผนดิน มิรูสิ้นสุดชื่อที่ลือชา

นอกจากนี้ สุนทรภูยังไดกลาวถึง สามโคก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยพระราชทาน


เปลี่ยนชื่อเปน ปทุมธานี เพราะมีพระราชดําริวาเมืองนี้เปนบริเวณที่มีดอกบัวขึ้น อยูเปนจํานวนมาก เชน

ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปนเกลา พระพุทธเจาหลวงบํารุงซึ่งกรุงศรี
ประทานนามสามโคกเปนเมืองตรี ชื่อปทุมธานีเพราะมีบัว
wsaogmaarg ใบความรูที่ 2 เรื่องบันทึกเรื่องราวชีวิต
หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่องระหวางทางบันทึก
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๙ เรื่องมุมมองสุนทรีย
รายวิชาภาษาไทย ๑ รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

นิราศภูเขาทองไดบันทึกเรื่องราว วิถีชีวิตและวัฒนธรรมของผูคนรวมสมัย ดังเชน วิถีชีวิต


ของชาวบาน วัฒนธรรมในแตละทองถิ่น และศิลปะแขนงตาง ๆ
ในทัศนะของสุ น ทรภูจ ะมองวาแมวาการดําเนินชีวิตจะยากลํ าบากแตก็ไมปฏิเสธวาสังคมไทย
ร ม เย็ น และสงบสุ ข ดั ง จะเห็ น ได จ ากการพรรณนาภาพบ านเมือ งที่ มี ภูมิ ป ระเทศงดงาม คงความเปน
ธรรมชาติ เชน

จนแจมแจงแสงตะวันเห็นพันธุผัก ดูนารักบรรจงสงเกสร
เหลาบัวเผื่อนแลสลางริมทางจร กามกุงซอนเสียดสาหรายใตคงคา

การติ ด ต อ ค า ขาย สุ น ทรภู มั ก ถ า ยทอดภาพสั ง คมสองฝ ง แม น้ํ า เจ า พระยาไว ใ นบทประพั น ธ
เรื่องตาง ๆ ที่แตงอยูเสมอ เชนเดียวกับในนิราศภูเขาทองที่สุนทรภูไดบรรยายสภาพบานเมือง และวิถีชีวิต
ของผูคน ตลอดจนบรรยากาศของสถานที่ อาทิ ภาพการคาขายที่ดําเนินไปอยางคึกคัก มีการนําสินคา
หลากหลายประเภทที่บรรทุกมากับเรือสําเภาวางขายในแพที่จอดเรียงรายอยูตามริมน้ํา

ไปพนวัดทัศนาริมทาน้ํา แพประจําจอดรายเขาขายของ
มีแพรผาสารพัดสีมวงตอง ทั้งสิ่งของขาวเหลืองเครื่องสําเภา

สุนทรภูกลาวถึงหญิงสาวชาวมอญ ซึ่งอาศัยอยูในยานปากเกร็ด (เขตจังหวัดนนทบุรี ) ในสมัยนั้น


นิยมแตงหนาและแตงผมตามอยางหญิงสาวชาวไทย เชน การผัดหนา ถอนไรจุก คือ ถอนผมรอบ ๆ ผมจุก
ใหเปนแนวเล็ก ๆ จนเปนวงกลมรอบผมจุกและจับเขมา ซึ่งเปนวิธีการแตงผมเพื่อใหผมมีสีดําเปนมัน โดยใช
เขมาผสมกับน้ํามันหอม เชน

ถึงเกร็ดยานบานมอญแตกอนเกา ผูหญิงเกลามวยงามตามภาษา
เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุกตา ทั้งผัดหนาจับเขมาเหมือนชาวไทย
T TBTOTBT T BOOOBTE T OSTE RE AAEAETAEAREANEARAATEAAT AHB
ใบความรูที่ ๓ เรื่องเลือกสรรคํา
หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่องระหวางทางบันทึก
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๙ เรื่องมุมมองสุนทรีย
รายวิชาภาษาไทย ๑ รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

นิ ร าศภูเขาทอง นอกจากจะมีคุณคาดานเนื้อหาแล ว ในดานวรรณศิล ปก็ไดรับการยอมรั บ ว า


มี ค วามงดงามและมี ค วามไพเราะ แม สุ น ทรภู จ ะใช ถ อ ยคํ า ธรรมดาสามั ญ ในการประพั น ธ แต ท ว า
มี ค วามหมายลึ ก ซึ้ ง สะเทื อ นอารมณ และสร า งจิ น ตภาพได อ ย า งชั ด เจน นิ ร าศภู เ ขาทองจึ ง มี คุ ณ ค า
และความดี เ ด น ในด า นวรรณศิ ล ป ดั ง การเล น เสี ย ง บทประพั น ธ ข องสุ น ทรภู ถื อ ได ว า มี ค วามดี เ ด น
เรื่องการเลนเสียงโดยเฉพาะการเลนเสียงสัมผัสภายในวรรค ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษรทําใหกลอนนิราศ
ภูเขาทองมีความไพเราะเปนอยางมาก เชน

ดูน้ําวิ่งกลิ้งเชี่ยวเปนเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน
บางพลุงพลุงวุงวงเหมือนกงเกวียน ดู เวียนเวียนควางควางเปนหวางวน
สัมผัสอักษรที่พบ คือ เกลียวกลอก ฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน กงเกวียน หวางวน

ทั้งองคฐานรานราวถึงเกาแฉก เผยอแยกยอดทรุดก็หลุดหัก
โอเจดียที่สรางยังรางรัก เสียดายนักนึกนาน้ําตากระเด็น
สัมผัสอักษรที่พบ คือ นักนึก นาน้ํา

เมื่อเคราะหรายกายเราก็เทานี้ ไมมีที่พสุธาจะอาศัย
ลวนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมือนนกไรรังเรอยูเอกา
สัมผัสอักษรที่พบ คือ คับแคบ ไรรังเร
timmogpkgpakak ใบความรูที่ ๔ เรื่องศึกษาโวหาร
หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่องระหวางทางบันทึก
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๙ เรื่องมุมมองสุนทรีย
รายวิชาภาษาไทย ๑ รหัสวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑

นิ ร าศภูเขาทองมีโ วหารที่คมคายและยัง มีความหมายที่ส รางอารมณส ะเทือนใจ และสะท อ น


สัจธรรมและความจริงของชีวิตไดอยางชัดเจน เพราะกวีแตงจากประสบการณชีวิตของตนซึ่งสวนมากเปน
สิ่งธรรมดาที่มนุษยทุกคนยอมเคยประสบ นิราศภูเขาทองจึงเปนที่ติดใจผูอานและนิยมอางอิงกันตอมา
จนถึงปจจุบัน เชน

ไมเมาเหลาแลวแตเรายังเมารัก สุดจะหักหามจิตคิดไฉน
ถึงเมาเหลาเชาสายก็หายไป แตเมาใจนี้ประจําทุกค่ําคืน
ฯลฯ
เห็นโศกใหญใกลน้ําระกําแฝง ทั้งรักแซงแซมสวาทประหลาดเหลือ
เหมือนโศกพี่ที่ช้ําระกําเจือ เพราะรักเรื้อแรมสวาทมาคลาดคลาย
ฯลฯ
เคยหมอบใกลไดกลิ่นสุคนธตรลบ ละอองอบรสรื่นชื่นนาสา
สิ้นแผนดินสิ้นรสสุคนธา วาสนาเราก็สิ้นเหมือนกลิ่นสุคนธ
ฯลฯ
เมื่อเคราะหรายกายเราก็เทานี้ ไมมีที่พสุธาจะอาศัย
ลวนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมือนนกไรรังเรอยูเอกา
ฯลฯ
Bkkkkaoopsoaosaoonoooootsott t t ssttdtoooaotox
ใบความรูที่ 1 เรื่อง การแตงกลอนนิราศ
หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง ระหวางทางบันทึก
แผนการจัดการเรียนรูที่ 21 เรื่อง บันทึกไวระหวางทาง
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑
mmkkkraaaaamaoaaaa.am
ประวัติและความเป็นมา
ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง ที่มาของโคลงโลกนิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง น่าชื่นชม น่าเชิดชู
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ตริตรองดูคาโคลง
รายวิชา ภาษาไทย ๒ รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
โคลงโลกนิติ (โคลง-โลก-กะ-นิด)

โคลงโลกนิติเป็นบทประพันธ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏนามผู้แต่งที่ชัดเจน เนื่องจาก


เป็นสุภาษิตเก่าที่ถูกนามาร้อยเรียงเป็นคาโคลง ต่อมาเมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๓)
ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์) และประสงค์ให้มีการนาโคลงโลกนิติมาจารึกลงแผ่น
ศิลาติดไว้เป็นธรรมทาน เพื่อที่ประชาชนจะได้ศึกษาคติธรรมจากบทประพันธ์

ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้นาโคลงโลกนิติมาชาระใหม่ (คัดลอก
แก้ไข/ปรับปรุง) คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร โดยท่าน
ได้ปรับปรุงโคลงโลกนิติให้ได้ใจความ ถูกต้อง และไพเราะ

โคลงโลกนิติ มีลักษณะคาประพันธ์คือเป็นโคลงสี่สุภาพ ซึ่ง


เป็นคาประพันที่แต่งยาก เนื่องจากมีการบังคับตาแหน่งคาเอก (คาที่สะกดด้วย
วรรณยุกต์เอก) ๗ แห่ง และคาโท (คาที่สะกดด้วยวรรณยุกต์โท) ๔ แห่ง

เนื้อหาของโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ มีเนื้อหาที่เป็นเรื่องราวคาสอนที่หลากหลาย เช่น การคบคน การวางตน ความรอบคอบ
ความกตัญญู ความเพียร เป็นต้น โดยมีทั้งการสอนอย่างตรงไปตรงมา และการเปรียบเทียบ

ตัวอย่างโคลงโลกกนิติ
ปลาร้าพันห่อด้วย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง
คือคนหมู่ไปหา คบเพื่อน พาลนา
ได้แต่ร้ายร้ายฟุ้ง เฟื่องให้เสียพงศ์

หมายถึง ปลาร้าหากห่อด้วยใบคา ใบคาก็จะติดกลิ่นเหม็นนั้นด้วย เช่นเดียวกับคนที่คบหากับคนพาล


ย่อมจะทาให้ตนเองเสื่อมเสียชื่อเสียงไปด้วย
ข้อสอบกลางภาค ใบความรู 32 ้ที่ ๑ ข้อ
เรื่อง ที่มาของโคลงโลกนิติ
1)เสียงในภาษาไทย หน่วยการเรียนรู(การกำเนิดของเสียงเสียงสระ
้ที่ ๔ เรื่อง น่าชื่นชม น่าเชิดชู
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ตริตรองดูคาโคลง
เสียงพยัญชนะรายวิชา ภาษาไทย เสียงวรรณยุกต์
๒ รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ภาคเรียนที การผันเสียง
่ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
วรรณยุกต์) โคลงโลกนิติ (โคลง-โลก-กะ-นิด)
ประวัติและความเป็นมา
การสร้างคำ โคลงโลกนิติเป็(คำมูล
นบทประพันธ์ที่มีมาตั คำซ้ำ
้งแต่สมัยกรุงศรีคำซ้อน คำพ้องต่างๆ)
อยุธยา ไม่ปรากฏนามผู ้แต่งที่ชัดเจน เนื่องจาก
เป็นสุภาษิตเก่าที่ถูกนามาร้อยเรียงเป็นคาโคลง ต่อมาเมื่อถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๓)
15 ทรงปฏิ
ข้อ.สังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธ์) และประสงค์ให้มีการนาโคลงโลกนิติมาจารึกลงแผ่น
ศิลาติดไว้เป็นธรรมทาน เพื่อที่ประชาชนจะได้ศึกษาคติธรรมจากบทประพันธ์
2) นิราศภูเขาทอง 8ข้อ
ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้นาโคลงโลกนิติมาชาระใหม่ (คัดลอก
3)โคลงโลกนิติ แก้7ไข/ปรัข้อ บปรุง) คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร โดยท่าน
ได้ปรับปรุงโคลงโลกนิติให้ได้ใจความ ถูกต้อง และไพเราะ
ข้อเขียน 2ข้อ
โคลงโลกนิติ มีลักษณะคาประพันธ์คือเป็นโคลงสี่สุภาพ ซึ่ง
1)อ่านบทประพันธ์และถามข้อคิดการนำไปใช้ใน
เป็นคาประพันที่แต่งยาก เนื่องจากมีการบังคับตาแหน่งคาเอก (คาที่สะกดด้วย
วรรณยุกต์เอก) ๗ แห่ง และคาโท (คาที่สะกดด้วยวรรณยุกต์โท) ๔ แห่ง
ชีวิตประจำวัน และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับบท
เนื้อหาของโคลงโลกนิติ
ประพันธ์ (โคลงโลกนิติ)1บท
โคลงโลกนิ ติ มีเนื้อหาที่เป็นเรื่องราวคาสอนที่หลากหลาย เช่เดาใจครูเอานะ
น การคบคน การวางตน ความรอบคอบ
ความกตัญญู ความเพียร เป็นต้น โดยมีทั้งการสอนอย่างตรงไปตรงมา และการเปรียบเทียบ
2)อ่านบทประพันธ์และถามข้อคิดการนำไปใช้ใน
ตัวอย่างโคลงโลกกนิติ
ชีวิตประจำวันปลาร้าพันห่อด้วย (นิราศภูเขาทอง)1บท
ใบคา เดาใจครูเอา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุ้ง
น่ะ คือคนหมู่ไปหา คบเพื่อน พาลนา
ได้แต่ร้ายร้ายฟุ้ง เฟื่องให้เสียพงศ์

หมายถึง ปลาร้าหากห่อด้วยใบคา ใบคาก็จะติดกลิ่นเหม็นนั้นด้วย เช่นเดียวกับคนที่คบหากับคนพาล


ย่อมจะทาให้ตนเองเสื่อมเสียชื่อเสียงไปด้วย

You might also like