Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 117

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา
๒๕๖๕

หน่วยการเรียนรู้ : พระบรมราโชวาท

นายพงศธร อมรกุล
ครูวิทยฐานะครูชำนาญการ
โรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ฉะเชิงเทรา เขต ๑
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

แผนผังความคิดการบูรณาการการเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้ : พระบรมราโชวาท

-ดูภาพประกอบ
-ฟังการอธิบาย- ฟังทำนองเสนาะ
-พูดแสดงความคิดเห็น
-การพูดเล่าเรื่อง ตอบคำถาม

-เขียนวิเคราะห์ -ใช้ศิลปะในการประพันธ์
-เขียนอธิบาย -การใช้คำสัมผัส
-เขียนแผนผังความคิด -นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
ฟัง ดู พูด

พระบรมราโชวาท
เขียน การใช้ภาษา

-การอ่านในใจ
-อ่านบทร้อยกรอง -วิเคราะห์วรรณกรรมและวรรณคดี
-อ่านทำนองเสนาะ -คุณค่าวรรณกรรมและวรรณคดี
อ่าน วรรณกรรมและวรรณคดี
แผนผังความคิดการบูรณาการการเรียนรู้นอกกลุ่ม
สาระ
หน่วยการเรียนรู้ : พระบรมราโชวาท

กลุ่มสาระการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้
– การสืบค้นข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์
อินเตอร์เน็ต – ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ
– การใช้คอมพิวเตอร์ – การวิเคราะห์เรื่องด้วยการ
ตั้งสมมติฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ฯ
-สะท้อนสภาพสังคมไทย
-มารยาทและนิสัยรักการ
อ่าน
– หลักเศรษฐกิจพอเพียง
-กระบวนการกลุ่ม
พระบรม
พระบรม
ราโชวาท
ราโชวาท

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ อังกฤษ
-ความหมายของคำในบทเรียน
ศิลปะฯ
– การเรียนรู้วัฒนธรรม
- วาดภาพประกอบ
– การออกแบบแผนภาพความ
คิด
-แผนผังคำประพันธ์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง ฟั งคิดวิเคราะห์วิจารณ์ เวลา
๑ ชั่วโมง
.....................................................
สาระที่ ๓ การฟั ง การดูและการพูด
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมี
วิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและความรู้สึกใน
โอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด
ท ๓.๑ ม ๓/๑ แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการ
ฟั งและการดู
ท ๓.๑ ม ๓/๒วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟั งและดูเพื่อนำ
ข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
ท ๓.๑ ม ๓/๖ มีมารยาทในการฟั ง การดู และการพูด

ตัวชี้วัด (รายวิชา สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น


พื้นฐาน) ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ
กระบวนการ ( A)
(P)
ท ๓.๑ ม ๓/๑ หลักการแสดง ฝึ กแสดงความ มีมารยาทใน
แสดงความคิดเห็น ความคิดเห็น คิดเห็นและ การพูด
และประเมินเรื่อง และประเมิน ประเมินเรื่อง
จากการฟั งและ เรื่องจากการ จากการฟั งและ
การดู ฟั งและการดู การดู
ท ๓.๑ ม หลักการ ฝึ กวิเคราะห์และ -มีมารยาทใน
๓/๒วิเคราะห์และ วิเคราะห์และ วิจารณ์เรื่องที่ฟั ง การพูด
วิจารณ์เรื่องที่ฟั ง วิจารณ์เรื่องที่ และดู -มี
และดูเพื่อนำ ฟั งและดู วิจารณญาณ
ข้อคิดมาประยุกต์ ในการพูด
ใช้ในการดำเนิน
ชีวิต
ท ๓.๑ ม ๓/๖มี มารยาทใน ฝึ กมารยาทใน มารยาทใน
มารยาทในการฟั ง การฟั ง การดู การฟั ง การดู การฟั ง การดู
การดู และการพูด และการพูด และการพูด และการพูด

สาระสำคัญ
การฟั งเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ หมายถึง การฟั งสารด้วยความ
เอาใจใส่พิจารณาไตร่ตรอง แยกแยะสารออกเป็ นส่วน ๆ อย่างถี่ถ้วน
เพื่อให้เข้าใจเรื่องในหลายแง่หลายมุมโดยแยก ข้อเท็จจริง
และข้อคิดเห็นออกจากกันแล้วติ – ชม หรือประเมินค่าสิ่งที่ได้ฟั งนั้น
เพื่อนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน

สาระการเรียนรู้
การฟั ง บทวิเคราะห์ เรื่อง คำพ่อสอนลูก

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑ ) ครูแจ้งตัวชี้วัดแล้วให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนการ
เรียนรู้ (ภาคผนวก)
๒) ครูนำพระบรมราโชวาทมาอ่านให้นักเรียนฟั ง สนทนากับ
นักเรียนเรื่อง “ พระบรมราโชวาท” ว่ามีความหมายอย่างไร มีความ
เป็ นมาอย่างไร ควรอ่านอย่างไรจึงจะเข้าใจลึกซึ้ง
๓ ) นั ก เ รี ย น ค น ใ ด ค น ห นึ่ ง ห รื อ ห ล า ย ค น อ่ า น เ รื่ อ ง
“พระบรมราโชวาท” ให้เพื่อน ฟั ง หรือครูเปิ ดเครื่องบันทึกเสียง
หรือครูเล่าพระบรมราโชวาท ตอนคำพ่อสอนลูก ให้นักเรียนฟั ง
๔ ) ครูนำแผนภูมิความหมายของศัพท์ และถ้อยคำ สำนวน
จากเรื่อง “พระบรมราโชวาท” มาติดบนกระดำ ให้นักเรียนอ่าน
และศึกษาความหมายของคำศัพท์
๕ ) แบ่งนักเรียนออกเป็ น ๔ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาเรื่อง
ต่อไปนี้
กลุ่ม ๑ จับประเด็นสำคัญของเรื่อง
กลุ่ม ๒ บอกจุดประสงค์ของเรื่อง
กลุ่ม ๓ จัดลำดับเหตุการณ์ของเรื่อง
กลุ่ม ๔ สรุปเนื้อเรื่อง
๖ ) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมารายงานหน้าชั้น
พร้อมส่งเอกสารที่ครู เพื่อเก็บไว้ในแฟ้ มสะสมงาน
๗ ) นักเรียนช่วยกันซักถามเรื่องราวทั้งหมดจากกลุ่มต่าง ๆ
เพื่อเป็ นการสรุปบทเรียน
๘) นักเรียนทำใบงาน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดับ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


ที่ มา
๑ แถบภาษิต เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๒ แบบทดสอบก่อน– นักเรียนทำแบบ ครูจัดทำ
หลังเรียน ทดสอบก่อนเรียน
๓ ใบงาน นักเรียนทำใบงาน ครูจัดทำ
๔ หนังสือเรียน ชุด นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วรรณคดี อ่าน
วิจักษณ์ ชั้น ม. ๓
๕ เฉลยแบบทดสอบ ตรวจสอบแบบทดสอบ ครูจัดทำ
ก่อนเรียน

๖ แบบประเมินการ บันทึกการสังเกต ครูจัดทำ


สังเกต พฤติกรรม
พฤติกรรม
การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๓.๑ ม ๓/๑ -สังเกตรายบุคคล -แบบประเมินการ ร้อยละ
แสดงความคิดเห็น -ตรวจใบงาน สังเกต ๗๐
และประเมินเรื่อง พฤติกรรม และ
จากการฟั งและการ แบบประเมินผล
ดู งาน
-ใบงาน
ท ๓.๑ ม -นำเสนอหน้าชั้น -แบบบันทึกการ ร้อยละ
๓/๒วิเคราะห์และ -ตรวจแบบ สังเกตพฤติกรรม ๗๐
วิจารณ์เรื่องที่ฟั ง ทดสอบก่อนการ และผลงาน
และดูเพื่อนำข้อคิด เรียนรู้ ระหว่างเรียน
มาประยุกต์ใช้ใน -แบบทดสอบก่อน
การดำเนินชีวิต การเรียนรู้
ท ๓.๑ ม ๓/๖มี มารยาทขณะฟั ง -แบบบันทึกการ ร้อยละ
มารยาทในการฟั ง สังเกตพฤติกรรม ๗๐
การดู และการพูด และผลงาน
ระหว่างเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้
นักเรียนใช้ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีก
ทั้งให้มีความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
แบบทดสอบก่อน-หลังการเรียนรู้
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำสั่ง จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกา x ลงใน


กระดาษคำตอบ
๑. คำว่า “His Royal Highness Prince” มีความหมายว่าอย่างไร
ก. เป็ นคำนำหน้าพระนามพระราชโอรส
ข. เป็ นคำนำหน้าพระนามพระราชธิดา ค. เป็ นคำตาม
หลังพระนามพระราชโอรส ง. เป็ นคำตามหลังพระนามพระราชธิดา
๒. พระราชโอรสทั้ง ๔ พระองค์ ใครเป็ นพระบิดาแห่งกฎหมายไทย
ก. กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ข.
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ค. กรมหลวงปราจิณกิติบดี
ง. กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช

๓. จากคำตอบในข้อ ๒ พระราชโอรสพระองค์ใดทรงเป็ นต้นราชสกุล


“กิติยากร”
คำสั่ง อ่านข้อความนี้แล้ว ตอบคำถามข้อ ๔ – ๕

“การซึ่งให้โอกาสและให้ทุนทรัพย์ซึ่งจะได้เล่าเรียนวิชานี้ เป็ น
ทรัพย์มรดกอันประเสริฐกว่าทรัพย์สิน เงินทองอื่นๆ ด้วยเป็ นของ
ติดตัวอยู่ได้ไม่มีอันตรายที่จะเสื่อมสูญ”
๔. คำกล่าวนี้มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. ความรู้ดูยิ่งล้ำ สินทรัพย์
ข. ความรู้คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
ค. รู้ธรรมเทียบเท่าผู้ ทรงไตร
ง. ลูกร้ายอย่าพึงปอง มอบทรัพย์ ให้นา
๕. ข้อความนี้แสดงทรรศนะใดชัดเจนที่สุด
ก. หน้าที่ของบิดามารดาคือจัดเตรียมมรดก
ไว้ให้ลูกด้วยการให้การศึกษา ข. วิชาประเสริฐกว่าทรัพย์
เพราะไม่มีวันสูญหาย ค. สังคม
ยกย่องคนมีความรู้มากกว่าคนมีทรัพย์
ง. มีวิชาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน
๖. จากการศึกษาเรื่อง พระบรมราโชวาท นักเรียนคิดว่า พระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็ นบุคคลที่มี ลักษณะเด่นที่สุดใน
ข้อใด
ก. ร่ำรวยและใช้เงินอย่างประหยัด
ข. มองการณ์ไกลและรอบคอบ
ค. มีความรักในเกียรติยศสูง
ง. ให้ค่าเล่าเรียนอย่างเต็มที่
เพราะเห็นความสำคัญของการศึกษา
๗. “พระบรมราโชวาท” มีคุณค่าทางด้านใดเด่นชัดที่สุด
ก. คุณค่าด้านเนื้อหา ข. คุณค่า
ทางด้านวรรณศิลป์ ค. คุณค่าด้านสังคม
ง. คุณค่าด้านประวัติศาสตร์
๘. ข้อใดใช้คำราชาศัพท์ ไม่ถูกต้อง
ก. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออก ณ พระตำหนัก
จิตรลดารโหฐาน ข. สมาคมแม่บ้านทุกเหล่าทัพ จัด
อาหารเลี้ยงเด็กถวายเป็ นพระราชกุศล วันเฉลิมพระชนมพรรษา
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
ค.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมาลี เสด็จ
พระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่จังหวัดสมุทรสงคราม
ง. สมเด็จพระสังฆราชเสด็จพระราชดำเนินในพิธีเปิ ดโครงการ
พัฒนาเด็กของมูลนิธิเด็กแห่งประเทศไทย
๙. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน
ก. ประสูติ ข. พระราชสมภพ
ค. สมภพ ง. ทรงเกิด
๑๐. ชีวิตสังขารของมนุษย์ไม่ยั่งยืนยาว “เหมือนเหล็กเหมือนศิลา”
คำที่ขีดเส้นใต้

ใช้วิธี เขียนในข้อใด
ก. ถากถาง ข. เยาะเย้ย

ง. ตักเตือน ง. เปรียบเทียบ

ใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. นักเรียนจุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดใน“พระบรมราโชวาท”
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………

๒. นักเรียนคิดว่า“พระบรมราโชวาท”มีกลวิธีการเขียนอย่างไร
บ้าง
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………
………………………………………..
……………………………………………………………..
…..…………………………………………………………………..
………………………………

เฉลยใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. นักเรียนจุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดใน“พระบรมราโชวาท”

เพื่อพระราชทานแก่พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๔ พระองค์ที่เสด็จไป
ทรงศึกษาวิชาการ
ณ ต่างประเทศในทวีปยุโรป
๒. นักเรียนคิดว่า“พระบรมราโชวาท”มีกลวิธีการเขียนอย่างไร
บ้าง

เป็ นรูปแบบการเขียนเป็ นจดหมายร้อยแก้ว ใช้เทศนาโวหาร


เป็ นหลักในการเรียบเรียงและผสมผสานกับอุปมาโวหารได้อย่าง
กลมกลืน และมีการออกคำสั่งให้ปฏิบัติอย่างชัดเจน

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน -หลังเรียน
.
๑. ก ๒. ข ๓. ก ๔. ก ๕. ข
๖. ข ๗. ค ๘. ง ๙. ค ๑๐. ง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง อ่านคิดวิเคราะห์เรื่อง เวลา
๑ ชั่วโมง
.............................................
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้
และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน

ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน)
ท ๑.๑ ม ๓/๓ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูล
ที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
ท ๑.๑ ม ๓/๕ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดย
ใช้กลวิธีการเปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้น
ฐาน) ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ (
กระบวนการ A)
(P)
ท ๑.๑ ม ๓/๓ระบุ หลักการอ่าน ฝึ กทักษะการ -อ่านจับใจ
ใจความสำคัญและ จับใจความ อ่านจับใจ ความได้ถูก
รายละเอียดของ สำคัญ ความสำคัญ ต้อง
ข้อมูลที่สนับสนุนจาก
เรื่องที่อ่าน
ท ๑.๑ ม หลักการ ฝึ กทักษะการ มีนิสัยรักการ
๓/๕วิเคราะห์ วิจารณ์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ อ่าน
และประเมินเรื่องที่ วิจารณ์ และ วิจารณ์ และ มีมารยาทใน
อ่านโดยใช้กลวิธีการ ประเมินเรื่อง ประเมินเรื่องที่ การอ่าน
เปรียบเทียบ เพื่อให้ผู้ ที่อ่าน อ่าน
อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น

สาระสำคัญ
การอ่านวิเคราะห์เนื้อหาจากบทเรียน เป็ นการเพื่อจับใจความ
สำคัญแล้วแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์และประเมินค่า เป็ นพื้น
ฐานที่จำ เป็ นในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึ กฝนให้เกิดความ
ชำนาญ จนสามารถวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น ในงานเขียนทุก
ประเภทได้

สาระการเรียนรู้
การอ่านบทวิเคราะห์จากบทเรียนเรื่อง “พระบรมราโชวาท”
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์และประเมินค่า

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑ ) ครูให้ดูบัตรคำและสนทนาทบทวนถึงความหมายของคำ
ของคำศัพท์จากเรื่อง
๒ ) แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ๒ กลุ่ม (ตามความเหมาะ
สม) แล้วให้แต่ละกลุ่มอ่านบทวิเคราะห์แล้วสรุปใจความสำคัญ
และแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์จากเรื่อง “พระบรมราโชวาท”
๓ ) ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้
เพื่อนฟั ง โดยใช้วิธีจับสลาก เมื่อเสนอด้วยการพูดจบแล้ว ให้
ทุกกลุ่มส่งรายงานที่ครู
๔ ) ครูเติมเติมความรู้และข้อคิดในสิ่งที่เหมือนกัน และแตก
ต่างกัน ของแต่ละกลุ่มมาแสดงให้นักเรียนเห็นถึงความหลากหลาย
ของความคิด ซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุผล
๕ ) ให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง “พระบรมราโชวาท” เสร็จ
แล้วส่งให้ครูตรวจ
๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน
๗) มอบหมายให้นักเรียนไปทำ สืบค้นพระบรมราโชวาท
คนละ ๑ เรื่อง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


บที่ มา
๑ บัตรคำ เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๒ ใบงาน เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๓ หนังสือเรียน นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วรรณคดีวิจักษณ์ อ่าน
ชั้น ม. ๓
๔ แบบบันทึกการ สังเกตพฤติกรรม และ ครูจัดทำ
สังเกตพฤติกรรม ผลงานระหว่างเรียน
และผลงานระหว่าง
เรียน

การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๑.๑ ม -สังเกตรายบุคคล -แบบประเมินการ ร้อยละ
๓/๓ระบุใจความ -ตรวจใบงาน สังเกต ๗๐
สำคัญและราย พฤติกรรม และ
ละเอียดของข้อมูลที่ แบบประเมินผล
สนับสนุนจากเรื่อง งาน
ที่อ่าน -แบบสังเกตการ
อ่าน
-ใบงาน
ท ๑.๑ ม -การนำเสนอหน้า แบบบันทึกการ ร้อยละ
๓/๕วิเคราะห์ ชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรม ๗๐
วิจารณ์ และ และผลงาน
ประเมินเรื่องที่อ่าน ระหว่างเรียน
โดยใช้กลวิธีการ
เปรียบเทียบ เพื่อให้
เข้าใจได้ดีขึ้น

กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้นักเรียนใช้
ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีกทั้งให้มี
ความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
ใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. พระบรมราโชวาท มีลักษณะดีอย่างไร
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….

๒. พระบรมราโชวาท ให้ข้อคิดอะไรบ้างแก่นักเรียน
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
เฉลยใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. พระบรมราโชวาท มีลักษณะดีอย่างไร
คำสั่งสอนที่ดีเป็ นแบบอย่างแก่พ่อควรสอนลูก
การใช้ภาษาได้ดี ทำให้มองเห็นภาพพจน์ มีการใช้เทศนา
โวหารและอุปมาโวหาร

๒. พระบรมราโชวาท ให้ข้อคิดอะไรบ้างแก่นักเรียน
๑. คำสอนของรัชกาลที่ ๕ มุ่งเห็นประโยชน์ของประเทศ
มากกว่าประโยชน์ตน
๒. ทำให้เกิดความมานะอดทนในการเรียนหนังสือและ
ประพฤติตนให้ถูกต้อง
ชี้ให้เห็นว่าพระองค์ไม่ถือพระองค์ มีความยุติธรรม
อ่อนน้อมถ่อมตน
๔. มีสำนวนภาษาที่ประทับใจ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง อ่านคิดพินิจภาษา เวลา
๑ ชั่วโมง
.....................................
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้
และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน

ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน)
ท ๑.๑ ม ๓/๓ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดของข้อมูลที่
สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน
ท ๑.๑ ม ๓/๗วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลำดับความ
และความเป็ นไปได้ของเรื่อง
ท ๑.๑ ม ๓/๙ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงาน
เขียนอย่างหลากหลาย เพื่อนำไปใช้แก้ปั ญหาในชีวิต

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้น
ฐาน) ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ
กระบวนการ ( A)
(P)
ท ๑.๑ ม ๓/๓ระบุ หลักการอ่าน ฝึ กทักษะการ -อ่านจับใจ
ใจความสำคัญและ จับใจความ อ่านจับใจความ ความได้ถูก
รายละเอียดของ สำคัญ สำคัญ ต้อง
ข้อมูลที่สนับสนุนจาก
เรื่องที่อ่าน
ท ๑.๑ ม หลักการ ฝึ กทักษะการ มีมารยาทใน
๓/๗วิจารณ์ความสม วิจารณ์เรื่อง วิจารณ์ความสม การอ่าน
เหตุสมผล การลำดับ เหตุสมผล การ
ความ และความเป็ น ลำดับความ
ไปได้ของเรื่อง และความเป็ น
ไปได้ของเรื่อง
ท ๑.๑ ม หลักการ ฝึ กทักษะการ มีมารยาทใน
๓/๙ตีความและ ตีความและ ตีความและ การอ่าน
ประเมินคุณค่า ประเมิน ประเมินคุณค่า
แนวคิดที่ได้จากงาน คุณค่า แนวคิดที่ได้จาก
เขียนอย่างหลาก งานเขียน
หลาย เพื่อนำไปใช้แก้
ปั ญหาในชีวิต

สาระสำคัญ
การอ่านเพื่ อจับใจความสำ คัญ เป็ นพื้นฐานที่จำ เป็ นในการ
ศึกษาหาความรู้ จึงควรฝึ กฝนให้เกิดความชำนาญจนสามารถจับใจ
ความสำคัญในงานเขียนทุกประเภท
สาระการเรียนรู้
การอ่านบทวิเคราะห์จากบทเรียนเรื่อง “พระบรมราโชวาท”
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์และประเมินค่า
กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑ ) ครูเปิ ดซีดี พระบรมราโชวาทจากเรื่องสำคัญๆที่เกี่ยวกับ
การศึกษาให้นักเรียนฟั งและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนจาก
ชั่วโมงที่ผ่านมา
๒ ) แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔ - ๖ คน
(หรือตามความเหมาะสม) แล้วให้แต่ละกลุ่มอ่านในใจแล้วสรุป
ใจความสำคัญและแสดงความคิดเห็นจากเรื่อง “พระบรม
ราโชวาท”
๓ ) ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลของการระดมสมองให้
เพื่อนฟั ง โดยใช้วิธีจับสลาก เมื่อเสนอด้วยการพูดจบแล้ว ให้ทุก
กลุ่มส่งรายงานที่ครู
๔ ) นำสิ่งที่เหมือนกัน และแตกต่างกัน ของแต่ละกลุ่มมา
แสดงให้นักเรียนเห็นถึงความหลากหลายของความคิด ซึ่งขึ้นอยู่กับ
เหตุผล
๕ ) ให้นักเรียนทำใบงานเรื่อง “พระบรมราโชวาท” เสร็จ
แล้วส่งให้ครูตรวจ
๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดับ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


ที่ มา
๑ ซีดี พระบรม เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
ราโชวาท เนื้อหา เตรียม
๓ ใบงาน นักเรียนทำใบงาน ครูจัดทำ
๔ หนังสือเรียน ชุด นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วรรณคดี อ่าน
วิจักษณ์ ชั้น ม. ๓
๕ แบบประเมินการ ประเมินพฤติกรรมและ ครูจัดทำ
สังเกต ผลงานนักเรียน
พฤติกรรม และแบบ
ประเมินผลงาน

การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


สอบ ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๑.๑ ม ๓/๓ระบุ -สังเกตราย -แบบประเมิน ร้อยละ
ใจความสำคัญและราย บุคคล การสังเกต ๗๐
ละเอียดของข้อมูลที่ -การซักถาม พฤติกรรม และ
สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน -การร่วม แบบประเมินผล
กิจกรรม งาน
ท ๑.๑ ม ๓/๗วิจารณ์ -ตรวจใบ แบบบันทึกการ ร้อยละ
ความสมเหตุสมผล การ งาน สังเกตพฤติกรรม ๗๐
ลำดับความ และความเป็ น และผลงาน
ไปได้ของเรื่อง ระหว่างเรียน
-ใบงาน
ท ๑.๑ ม ๓/๙ตีความ -ตรวจใบ แบบบันทึกการ ร้อยละ
และประเมินคุณค่าแนวคิด งาน สังเกตพฤติกรรม ๗๐
ที่ได้จากงานเขียนอย่าง และผลงาน
หลากหลาย เพื่อนำไปใช้ ระหว่างเรียน
แก้ปั ญหาในชีวิต -ใบงาน

กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้นักเรียนใช้
ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีกทั้งให้มี
ความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
ใบงานที่ ๑
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำสั่ง จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกา x ลงใน


กระดาษคำตอบ

๑. การที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรม
ราโชวาทว่า “...การที่จะไปครั้งนี้ อย่าให้ไว้ยศว่า เป็ นเจ้า ให้ถือเอา
บรรดาศักดิ์เสมอลูกผู้มีตระกูลในกรุงสยาม คืออย่าให้ใช้คำ “His
Royal Highness Prince” ให้ใช้แต่ชื่อเดิมของตัวเฉยๆ” ทรงมี
พระราชประสงค์ใด
ก. จะได้ไม่ลืมหน้าที่ว่าไปศึกษาหาความรู้ มิใช่ไปวางตัวให้โก้หรู
ข. การได้ชื่อว่าเป็ นเจ้าทำให้วางตัวลำบาก
และส่งผลเสียมากกว่าผลดี ค. เมื่อทำความผิด
แล้ว จะได้ไม่มีใครตำหนิมาถึงประเทศชาติและพระราชวงศ์
ง. การอยู่อย่างสามัญชน จะทำให้เข้าใจความทุกข์ยากของ
ราษฎรยิ่งขึ้น
๒. ข้อใดไม่มีความสัมพันธ์กัน
ก. เขม็ดแขม่ ใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง
ข. ดิรัจฉาน ผู้มีความเจริญทางขวาง
ค. เบี้ยหวัด เงินที่จ่าย
เป็ นงวด ๆ แก่เจ้านายหรือข้าราชการ ง.
เอสไควร์ (Esquire) เป็ นคำนำหน้าชื่อคนอังกฤษที่ฐานะร่ำรวย
๓. “วิชาที่จะออกไปเรียนนั้น ก็คงต้องเรียนภาษาและหนังสือในสาม
ภาษา” คือภาษาใดบ้าง ก. อังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน
ข. อังกฤษ เยอรมัน อิตาเลี่ยน ค. อังกฤษ
ฝรั่งเศส เยอรมัน ง. ฝรั่งเศส เยอรมัน สเปน
๔. พระบรมราโชวาทตอนใดสะท้อนบทบาทสำคัญที่สุดของบิดา
มารดา ก. อย่าได้ถือตัวว่าเป็ นลูกเจ้าแผ่นดิน
ข. จงอุตสาหะเล่าเรียนโดย
ความเพียรอย่างยิ่ง ค. จงนำวิชา
ความรู้มาพัฒนาชาติบ้านเมืองของตน
ง. ทุนทรัพย์ซึ่งจะให้เล่าเรียนวิชานี้เป็ นทรัพย์มรดกอันประเสริฐ
กว่าทรัพย์สินเงินทองอื่น ๆ
๕. ข้อใดใช้คำ “สิ้นชีพตักษัย” ถูกต้องตามฐานันดรศักดิ์
ก. หม่อมเจ้า ข. เจ้าฟ้ า
ค. พระองค์เจ้า ง. หม่อม
ราชวงศ์
๖. “อย่าทำใจโต มือโตสุรุ่ยสุร่าย โดยถือว่าตัวเป็ นเจ้านายมั่งมีมาก
หรือถือว่าพ่อเป็ นเจ้าแผ่นดินมีเงิน ทองถมไปขอบอกเสียให้รู้แต่
ต้นมือว่า ถ้าผู้ใดเป็ นหนี้มา จะไม่ยอมใช้หนี้ให้เลย หรือถ้าเป็ นการ
จำเป็ นจะต้องใช้ จะไม่ใช้ให้เปล่า โดยมีโทษแก่ตัวเลย” ข้อความข้าง
ต้น ผู้พูดมีจุดประสงค์เช่นใด
ก. ตักเตือน ข. แนะนำ
ค. ข่มขู่ ง. คาดโทษ
๗. ข้อใดคือคำราชาศัพท์ของ “จดหมายของพระสงฆ์”
ก. สาสน์ ข. พระ
ราชสาสน์
ค. จดหมาย ง. ลิขิต
๘. ในพระบรมราโชวาทสามารถนำไปอบรมลูกหลานให้เห็นคุณค่า
ในข้อใด ก. เงิน ความกตัญญู ข. การ
ศึกษา ความรักความสามัคคี ค. เงิน การศึกษา ความ
ประพฤติ ง. เงิน การศึกษา ความกตัญญู ความประพฤติ
๙. ข้อใดมิใช่ประโยชน์ที่ได้จากการอ่านพระบรมราโชวาท

ก. การศึกษาเป็ นสิ่งสำคัญของมนุษย์
ข. ความรู้เป็ นทรัพย์ที่ประเสริฐกว่าเงินทอง
ค. ความรู้และเกียรติยศชื่อเสียงเป็ นสิ่ง
ที่ทุกคนควรใฝ่ หา ง. การใช้จ่ายอย่าง
ประหยัดและรู้จักประมาณตนเป็ นค่านิยมที่ควรถือเป็ นแบบอย่าง
๑๐. “อย่าได้ถือว่าเป็ นลูกเจ้าแผ่นดิน พ่อมีอำนาจยิ่งใหญ่อยู่ในบ้าน
เมืองถึงจะเกะกะไม่กลัวเกรงคุมเหง ผู้ใด เขาก็คงมีความเกรงใจ
พ่อ ไม่ต่อสู้หรือไม่อาจฟ้ องร้องว่ากล่าว” ข้อความนี้มีสาระสำคัญ
ตรงกับข้อใด
ก. อย่าจองหองพองขน ข. คนดีตกน้ำไม่ไหลตกไฟไม่ไหม้
ค. ควรตัดไฟแต่ต้นลม ง. ธรรมย่อมคุ้มครอง
ผู้ประพฤติธรรม

ใบงานที่ ๒

คำชี้แจง ให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญในพระบรมราโชวาท
แล้วเรียบเรียงเป็ นถ้อยคำสำนวนของนักเรียน
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………
……….

เฉลยใบงานที่ ๑
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำสั่ง จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกา x ลงใน


กระดาษคำตอบ

๑. ข ๒. ง ๓. ค ๔. ง ๕. ก
๖. ก ๗. ก ๘. ค ๙. ค ๑๐. ก

เฉลยใบงานที่ ๒

คำชี้แจง ให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญในพระบรมราโชวาท
แล้วเรียบเรียงเป็ นถ้อยคำสำนวนของนักเรียน
( อยู่ในดุลพินิจของครู)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง อ่านเขียนเรียนสะกด เวลา ๑
ชั่วโมง
.............................................
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ
เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่าง
มีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน)
ท ๒.๑ ม ๑/๑คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
ท ๒.๑ ม ๑/๒เขียนข้อความโดยใช้ถ้อยคำได้ถูกต้องตาม
ระดับภาษา
ท ๒.๑ ม ๑/๖ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้
แย้งอย่างมีเหตุผล

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด (รายวิชา
พื้นฐาน) ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ ( A)
กระบวนการ
(P)
ท ๒.๑ ม ๑/๑คัด หลักการ ฝึ กทักษะคัด เขียนได้ถูกต้อง
ลายมือตัวบรรจงครึ่ง เขียนตัว ลายมือตัว สวยงาม
บรรทัด อักษรไทย บรรจงครึ่ง
และเลขไทย บรรทัด
ท ๒.๑ ม ระดับภาษา ฝึ กเขียน -ใช้คำได้ถูกต้อง
๑/๒เขียนข้อความ ข้อความให้ถูก ชัดเจนและสละ
โดยใช้ถ้อยคำได้ถูก ต้องตามระดับ สลวย
ต้องตามระดับภาษา ภาษา -มีมารยาทในการ
เขียน
ท ๒.๑ ม ๑/๖ หลักการ ฝึ กเขียนอธิบาย ใช้คำได้ถูกต้อง
เขียนอธิบาย ชี้แจง เขียนอธิบาย ชี้แจง ชัดเจนและสละ
แสดงความคิดเห็น ชี้แจง แสดงความคิด สลวย
และโต้แย้งอย่างมี แสดงความ เห็น และโต้แย้ง มีมารยาทในการ
เหตุผล คิดเห็น และ เขียน
โต้แย้ง

สาระสำคัญ
การเรียนรู้คำ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาไทยในบท
เรียนและนำไปใช้ให้ถูกต้อง ถือเป็ นการพัฒนาทักษะทางภาษาที่ผู้
เรียนควรได้รับการฝึ กฝน เพื่อพัฒนาทักษะให้ถูกต้อง จึงจะทำให้
การเรียนรู้ภาษาเป็ นไปด้วยดีและเกิดการพัฒนาตามมา
สาระการเรียนรู้
๑. อ่าน และเขียนคำ คำยาก ข้อความ และสำนวนในบทเรียน
๒. การนำคำ คำยาก ข้อความและสำนวนภาษาในบทเรียนไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์

กระบวนการเรียนรู้
1. ครูนำพระบรมราโชวาทมาอ่านหรือให้นักเรียนศึกษาแล้ว
แข่งขันการตอบความหมาย
ของคำ
๒. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ นกลุ่มตามความสมัครใจ (ตาม
ความเหมาะสม)
๓. นำบัตรคำใหม่และคำยากในบทเรียน ติดที่กระเป๋ าผนังและ
ให้นักเรียนทุกคนฝึ กอ่าน
ร่วมกันอภิปรายความหมายบันทึกลงสมุด
๔. แจกบัตรคำใหม่คำยากในบทเรียนให้นักเรียนแต่ละกลุ่มได้
ศึกษาและฝึ กอ่าน
๕. นักเรียนทุกกลุ่มหาคำใหม่ศัพท์จากเรื่อง แล้วช่วยกันแต่ง
ประโยคใหม่ โดยไม่ให้ซ้ำกัน กลุ่มละ ๕ คำ แล้วบันทึกลงสมุด
แล้วส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
๖. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจผลงานของแต่ละกลุ่ม
พร้อมทั้งอภิปรายสรุป การเลือกใช้คำให้ถูกต้องตามความหมาย
ปรบมือและกล่าวให้คำชมเชยกลุ่ม ที่แต่งประโยค ได้ถูกต้อง
๗. นักเรียนเกมแข่งขันกันเขียนคำ กลุ่มคำ สำนวนภาษา บน
กระดานดำกลุ่มใดเขียนได้มาก
เขียนถูกต้อง เป็ นฝ่ ายชนะ
๘. มอบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรมนอกเวลา โดยการรวบรวม
พระบรมราโชวาท จัดทำเป็ น
เล่มแล้วนำผลงานส่งให้ครูตรวจ
๙. นักเรียนทำใบงาน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


บที่ มา
๑ พระบรมราโชวาท เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๒ เกม เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๓ ใบงาน เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๔ หนังสือเรียน นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วรรณคดีวิจักษณ์ อ่าน
ชั้น ม. ๓
๕ พจนานุกรม นักเรียนค้นความหมาย ครูจัดหา
ของศัพท์
๖ แบบบันทึกการ สังเกตพฤติกรรม และ ครูจัดทำ
สังเกตพฤติกรรม ผลงานระหว่างเรียน
และผลงานระหว่าง
เรียน

การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๒.๑ ม ๑/๑คัด -สังเกตรายบุคคล -แบบประเมินการ ร้อยละ
ลายมือตัวบรรจง -ตรวจใบงาน สังเกต ๗๐
ครึ่งบรรทัด พฤติกรรม และ
แบบประเมินผล
งาน
-ใบงาน
ท ๒.๑ ม -การนำเสนอหน้า แบบบันทึกการ ร้อยละ
๑/๒เขียนข้อความ ชั้นเรียน สังเกตพฤติกรรม ๗๐
โดยใช้ถ้อยคำได้ถูก -การแข่งขันเขียน และผลงาน
ต้องตามระดับ คำ ระหว่างเรียน
ภาษา
ท ๒.๑ ม ๑/๖ -ตรวจใบงาน แบบบันทึกการ ร้อยละ
เขียนอธิบาย ชี้แจง -การร่วมกิจกรรม สังเกตพฤติกรรม ๗๐
แสดงความคิดเห็น -การสรุปบทเรียน และผลงาน
และโต้แย้งอย่างมี ระหว่างเรียน
เหตุผล -ใบงาน

กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้นักเรียนใช้
ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีกทั้งให้มี
ความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
ใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำอ่านและความหมายของคำจากบท
เรียนเรื่อง “พระบรมราโชวาท”

โอวาท ……………………………………………………………
………………

……………………………………………………………………………

เงินพระคลังข้างที่
……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

นายรองหุ้มแพร
……………………………………………………………………………

เบี้ยหวัด
……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

เป็ นการเก๋การกี๋
……………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………

สุรุ่ยสุร่าย ………………………………………………………………………
……

……………………………………………………………………………

รับปฏิญาณ
……………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………

เฉลยใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนคำอ่านและความหมายของคำจากบท
เรียนเรื่อง “พระบรมราโชวาท”

โอวาท คำสอน

เงินพระคลังข้างที่ เงินส่วนพระองค์

นายรองหุ้มแพร ตำแหน่ง ยศมหาดเล็กรองจ่าลงมา

เบี้ยหวัด เงินที่กำหนดจ่ายรายปี แก่พระบรมวงศานุวงศ์


หรือข้าราชบริพาร

เป็ นการเก๋การกี๋ ทันสมัย

สุรุ่ยสุร่าย ฟุ่มเฟื อย

ปฏิญาณ ไหวพริบ ฉลาดหลักแเหลม


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง อ่านออกเสียงสื่อสารความคิด เวลา
๑ ชั่วโมง
......................................
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และ
ความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิตและมี
นิสัยรักการอ่าน
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลัก
ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปั ญญา
ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็ นสมบัติของชาติ

ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน)
ท ๑.๑ ม ๑/๑อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้
ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
ท ๔.๑ ม ๑/๕ อธิบายความหมายคำศัพท์ทางวิชาการและ
วิชาชีพ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด (รายวิชา
พื้นฐาน) ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ (
กระบวนการ (P) A)
ท ๑.๑ ม หลักการอ่าน ฝึ กทักษะการ -มีมารยาทใน
๑/๑อ่านออก ออกเสียงบท อ่านออกเสียง การอ่าน
เสียงบทร้อยแก้ว ร้อยแก้วและ บทร้อยแก้วและ -อ่านได้ถูก
และบทร้อยกรอง บทร้อยกรอง บทร้อยกรอง ต้องชัดตาม
ได้ถูกต้องและ หลักการอ่าน
เหมาะสมกับเรื่อง
ที่อ่าน
ท ๔.๑ ม ๑/๕ คำศัพท์ทาง ศึกษาคำศัพท์ ใช้คำศัพท์ทาง
อธิบายความ วิชาการและ ทางวิชาการและ วิชาการและ
หมายคำศัพท์ทาง วิชาชีพ วิชาชีพ วิชาชีพ
วิชาการและ ได้ถูกต้อง
วิชาชีพ
สาระสำคัญ
การอ่านออกเสียงเป็ นการสื่ อสารที่มีความสำ คัญ เพราะ
เป็ นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกและอารมณ์ของผู้ส่ง
สารไปผู้รับสาร ดังนั้น หากรู้หลักการอ่านและมีทักษะในการอ่าน
ย่อมจะทำให้การสื่อสารเกิดสัมฤทธิ์ผล

สาระการเรียนรู้
การอ่านออกเสียงบทเรียนเรื่อง “พระบรมราโชวาท” การ
เล่าเรื่อง การย่อเรื่อง

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑ ) ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาบทเรียน แล้วครูอธิบาย
ประกอบเพื่อให้นักเรียนเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น ในหัวข้อต่อไปนี้
- ความหมายของการอ่าน
- วัตถุประสงค์ในการอ่าน
- หลักการอ่าน
- ประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่าน
๒ ) ครูสาธิตการอ่าน พระบรมราโชวาท ให้นักเรียนฟั ง
พร้อมทั้งให้นักเรียนสังเกตท่วงทำนองการอ่าน แล้วให้ นักเรียนทำ
กิจกรรมการอ่านตามลำดับ ดังนี้
- อ่านออกเสียงธรรมดาให้ถูกต้องตามอักขรวิธี พร้อม
ทั้งแบ่งวรรคตอนให้
ถูกต้อง
- ให้อ่านพร้อม ๆ กัน ตามครู
- ให้อ่านพร้อม ๆ กัน ทั้งชั้น
- แบ่งกลุ่มให้อ่านต่อกันจนจบเรื่อง
- ให้อ่านเป็ นรายบุคคล
๓ ) ครูและนักเรียนช่วยวิจารณ์การอ่านของแต่ละคนว่าถูก
ต้อง และมีความชัดเจนเพียงใด
๔ ) แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม (จำนวนกลุ่มและสมาชิกกลุ่ม
ตามความเหมาะสม) แล้ว
ให้ทำกิจกรรมดังหาความหมายของคำจากพจนานุกรม
๕ ) ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาเสนอผลการค้นคว้าหน้าชั้น
เรียน พร้อมส่งเอกสาร
ประกอบการรายงาน
๖) ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามจากเรื่อง
๗) นักเรียนทำใบงาน
๘) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


บที่ มา
๑ ใบงาน เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๒ พจนานุกรม ฉบับ เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
ราชบัณฑิตยสถาน เนื้อหา เตรียม
พ.ศ. ๒๕๒๕
๓ หนังสือเรียน นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วรรณคดีวิจักษณ์ อ่าน
ชั้น ม. ๓
๔ แบบบันทึกการ สังเกตพฤติกรรม และ ครูจัดทำ
สังเกตพฤติกรรม ผลงานระหว่างเรียน
และผลงานระหว่าง
เรียน

การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๑.๑ ม -สังเกตรายบุคคล -แบบประเมินการ ร้อยละ
๑/๑อ่านออกเสียง การอ่าน สังเกต ๗๐
บทร้อยแก้วและบท -การร่วมกิจกรรม พฤติกรรม และ
ร้อยกรองได้ถูกต้อง แบบประเมินผล
และเหมาะสมกับ งาน
เรื่องที่อ่าน
ท ๔.๑ ม ๑/๕ -ให้นำเสนอหน้า -แบบประเมินการ ร้อยละ
อธิบายความหมาย ชั้น สังเกต ๗๐
คำศัพท์ทางวิชาการ -ตรวจใบงาน พฤติกรรม และ
และวิชาชีพ แบบประเมินผล
งาน
-ใบงาน

กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้นักเรียนใช้
ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีกทั้งให้มี
ความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ
ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
ใบงาน

ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

๑. ให้นักเรียนนำคำศัพท์ที่กำหนดให้มาใส่ลงในช่องให้ถูกต้อง
เรี่ยไร
เรี่ยไร สยมภูมิ
สยมภูมิ ธาตุ
ธาตุ ดิรัจฉาน
ดิรัจฉาน
เอสไควร์
เอสไควร์ บรรดาศักดิ์ ราชการ
บรรดาศักดิ์ ราชการ รามา
รามา
สังขาร
สังขาร เขม็ดแขม่
เขม็ดแขม่ วารสาร
วารสาร มาตุภูมิ
มาตุภูมิ
หุ้นส่วน
หุ้นส่วน ใจภักดิ์
ใจภักดิ์ ราษฎร
ราษฎร หุ้มแพร
หุ้มแพร
ษมาษมา
เฉลยใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

๑. ให้นักเรียนนำคำศัพท์ที่กำหนดให้มาใส่ลงในช่องให้ถูกต้อง

เรี่ยไร
เรี่ยไร สยมภูมิ
สยมภูมิ ธาตุ
ธาตุ ดิรัจฉาน
ดิรัจฉาน
เอสไควร์
เอสไควร์ บรรดาศักดิ์
บรรดาศักดิ์ ราชการ
ราชการ รามา
รามา
สังขาร
สังขาร เขม็ดแขม่
เขม็ดแขม่ วารสาร
วารสาร มาตุภูมิ
มาตุภูมิ
หุ้นส่วน
หุ้นส่วน ใจภักดิ์
ใจภักดิ์ ราษฎร
ราษฎร หุ้มแพร
หุ้มแพร
ษมาษมา


เ รี่ ย ไ ร ธ ย
สั ง ข า ร า ม
ม็ ม า ตุ ภู มิ
ด บ า
มิ
หุ้ ม แ พ ร
น ข ร เ ดิ
ส่ ม่ ด อ รั
ว ว า ร ส า ร จ
น ศั ไ า ฉ
ก ค ษ ม า
ใ จ ภั ก ดิ์ ว ฎ น
ร์ ร
ร า ช ก า ร

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง แผนภาพความคิดพิชิตเรื่อง
เวลาที่ใช้ ๑ ชั่วโมง

สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้
และความคิด เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต
และมีนิสัยรักการอ่าน

ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน)
ท ๑.๑ ม ๓/๔อ่านเรื่องต่างๆและเขียนกรอบแนวคิด ผังความ
คิด บันทึก ย่อความ และรายงาน
สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้น
ฐาน) ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ (
กระบวนการ A)
(P)
ท ๑.๑ ม ๓/๔อ่าน หลักการอ่าน ฝึ กทักษะการ มีนิสัยรักการ
เรื่องต่างๆและเขียน เรื่องต่างๆ เขียนกรอบ อ่าน
กรอบแนวคิด ผัง แนวคิด ผัง
ความคิด บันทึก ย่อ ความคิด
ความ และรายงาน บันทึก ย่อ
ความ และ
รายงาน

สาระสำคัญ
การเล่าเรื่องและการเขียนแผนภาพความคิด ทำให้จำเนื้อเรื่อง
ได้แม่นยำ อีกทั้งยังเป็ นการช่วยฝึ กทักษะ และพัฒนาในด้านการ
เขียน การพูดต่อไป

สาระการเรียนรู้
การเขียนแผนภาพความคิดหรือผังมโนภาพหรือผังมโนทัศน์

กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑ ) ครูและนักเรียนสนทนาทบทวนบทเรียนจากชั่วโมงที่ผ่าน
มา
๒) ครูนำแผนภาพความคิดหรือผังมโนภาพเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
มาให้นักเรียนดู แล้วสนทนากับนักเรียน เรื่องการพัฒนาความคิด
โดยใช้แผนภาพความคิด
๓ ) แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม แล้วศึกษาใบความรู้ที่ครูแจก
ให้และแต่ละกลุ่ม กำหนดคำแทนมโนภาพ และคำที่กำหนดนั้น
ควรเป็ นมโนภาพใกล้เคียงกัน เมื่อกำหนดคำได้แล้ว ให้เชื่อมโยง
มโนภาพให้สัมพันธ์กัน
๔ ) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างผังมโนภาพ เรื่ อง
พระบรมราโชวาท อย่างเสรีให้ประกอบด้วยมโนภาพต่าง ๆ ที่
สัมพันธ์กันประมาณ ๑๐ มโนภาพ เขียนให้ชัดเจนแล้วนำมา
ส่งครูตรวจ
๕) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างผังมโนภาพในใบงาน
๖ ) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


บที่ มา
๑ ตัวอย่างแผนผัง เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
ความคิด เนื้อหา เตรียม

๒ ใบความรู้ เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด


เนื้อหา เตรียม
๓ ใบงาน เพิ่มเติมความชัดเจนใน ครูจัด
เนื้อหา เตรียม
๔ หนังสือเรียน นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วรรณคดีวิจักษณ์ อ่าน
ชั้น ม. ๓

๕ แบบบันทึกการ สังเกตพฤติกรรม และ ครูจัดทำ


สังเกตพฤติกรรม ผลงานระหว่างเรียน
และผลงานระหว่าง
เรียน

การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๑.๑ ม -สังเกตรายบุคคล -แบบประเมินการ ร้อยละ
๓/๔อ่านเรื่องต่างๆ -ตรวจใบงาน สังเกต ๗๐
และเขียนกรอบ -การร่วมกิจกรรม พฤติกรรม และ
แนวคิด ผังความคิด แบบประเมินผล
บันทึก ย่อความ งาน
และรายงาน -ใบงาน

กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้นักเรียนใช้
ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีกทั้งให้มี
ความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้

๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
ใบความรู้
เรื่อง “ การเขียนแผนผังความคิด หรือ ผังมโนภาพ หรือ ผัง
มโนทัศน์ ”
……………………………………………………………………………………………
…………
๑. ความจริงที่เกี่ยวกับความคิดของมนุษย์
ความจริงมีอยู่ว่า บุคคลทุกคนสามารถเพิ่มกำ ลังความ
สามารถในการคิดของตนเองให้สูงขึ้น เร็วขึ้น กว้างไกลขึ้น และ
มีคุณภาพยิ่งขึ้นได้ เมื่อมีโอกาสได้เรียนรู้หลักการฝึ กฝนความคิด
ความตั้งใจจริง
๒. องค์ประกอบของความคิด
ความคิดของคนเราประกอบขึ้นจากมโนภาพ คือ ภาพที่
ปรากฏภายในใจของแต่ละคน แม้จะมองไม่เห็นแตะต้องไม่ได้ แต่
ทุกคนก็ทราบดีภายในใจของตนมีภาพต่าง ๆ ปรากฏอยู่ เช่น
ภาพของป่ าไม้ รถยนต์ ภูเขา ท้องนา ความอดอยาก
ความสนุกสนาน ความกล้าหาญ ความอดทน เป็ นต้น
๓. สาเหตุที่คนเราเกิดมีมโนภาพ
การที่คนเราเกิดมีมโนภาพขึ้นนั้น เนื่องมาแต่สาเหตุที่สำคัญ
๒ ประการ ประกอบกัน ได้แก่
๑ ) คนเรามีประสาทสัมผัสทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น
และกาย ได้สัมผัสกับสิ่งรอบตัว และได้รับรู้สิ่งเหล่านั้นตลอดมา
๒ ) คนเราได้เรียนรู้ภาษาและสามารถใช้คำพูดเรียกสิ่งที่ได้
สัมผัสมาอย่างสม่ำเสมอ เราอาจกล่าวได้ว่า มโนภาพของคนเรา
แยกไม่ออกจากคำพูดในภาษา
๔. ประเภทของมโนภาพ
มโนภาพที่คนเราก็มีเหมือน ๆ กัน เมื่อผ่านพ้นระยะหนึ่ง
ของชีวิตมาแล้ว มี ๒ ประเภท ได้แก่
๑ ) มโนภาพของวัตถุ ได้แก่ สิ่งที่เป็ นรูปภาพต่าง ๆ
เช่น ปากกา สมุด ดินสอ โต๊ะ เก้าอี้ โรงเรียน นาฬิกา
รถจักรยาน ฯลฯ วัตถุเป็ นสิ่งที่ทรงตัวอยู่เช่นนั้น ไม่หายไป
ไหน มีความสม่ำเสมออยู่อย่างนั้น ตลอดระยะเวลาหนึ่ง
๒ )มโนภาพของเหตุการณ์ เช่น การต่อสู้ การแข่งขัน การ
เรียน การสอบ ความโกรธ ฟ้ าผ่า ฝนตก ไฟดับ ฯลฯ
เหตุการณ์นั้นเป็ นสิ่งที่เปลี่ยนไป เคลื่อนไหว ไม่ทรงตัวอยู่
๕. ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในใจของเรานั้นมีสภาพอย่างวัตถุหรือ
เหตุการณ์
ค ว า ม รู้ สึ ก นั้น มี ส ภ า พ ไ ม่ ท ร ง ตั ว อ ยู่ ต ล อ ด ไ ป มี ค ว า ม
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น เดี๋ยวรัก เดี๋ยวโกรธ เดี๋ยว
ดีใจ เดี๋ยวเสียใจ ความรู้สึกจึงพออนุโลมได้ว่าเป็ นเหตุการณ์
๖. มโนภาพที่ใกล้เคียงกัน
มโนภาพที่ใกล้เคียงกันซึ่งอยู่ในใจของเรานั้นมีอยู่มากมายและ
มโนภาพแต่ละอย่างต่างอยู่อย่างเอกเทศแต่อาจนำมาเชื่อมโยง เข้า
ด้วยกันได้
ต่อไปนี้เป็ นมโนภาพที่ใกล้เคยเคียงกัน ซึ่งแต่มโนภาพอยู่กัน
อย่างเอกเทศ

อาหาร ร่างกาย มนุษย์ ปลา ผัก วิตามิ


ผลไม้ ไข เกลือ คาร์โบไฮเดร น้ำ


มัน แร่ ต

กระดู ฟั โปรตี ตา
ก น น

เราอาจนำมโนภาพข้างต้นมาเชื่อมโยงกัน ดังผังต่อไปนี้
ปลา
มี

อาหาร
ผัก มี

มี
ผลไม้

เราจะเห็นว่า มโนภาพของ อาหาร เชื่ อมโยงกับ ปลา


ผัก ผลไม้ เครื่องเชื่อมโยงได้แก่ “ มี ”
นอกจากนี้ มโนภาพทั้งสาม คือ ปลา ผัก ผลไม้
อาจเชื่อมโยงถึงกันด้วย “ และ ” ทั้งโยงต่อไปยังมโนภาพวิตามิน
ด้วยเครื่องเชื่อม “ ให้ ” ดังผังข้างล่างนี้

ปลา

ให้
และ
ผัก วิตามิน
ให้

และ
ให้
ผลไม้
ฉะนั้นจึงสรุปได้ว่า มโนภาพที่สัมพันธ์กันนั้นคือความคิดของ
มนุษย์นั่นเอง
๗. มโนภาพที่เชื่อมโยงกัน
มโนภาพที่เชื่อมโยงกัน เรียกว่า มโนภาพสัมพันธ์ และ
เมื่ อเขียนลงไว้ให้ชัดเจนบนแผ่นกระดาษ เรียกว่า ผังมโนภาพ
หรือ แผนผังความคิด หรือ ผังมโนทัศน์
๘. ประโยชน์ของผังมโนภาพสัมพันธ์ หรือ แผนผังความคิด
การแสดงมโนภา พสัมพันธ์ออกมาในรู ปของผังมโนภาพ
เป็ นการเปลี่ยนสิ่งไม่มีตัวตนให้มีตัวตน เห็นได้ชัดเจน ทั้งแก่
เจ้าของมโนภาพเองและบุคคลอื่ น เป็ นประโยชน์ในการพัฒนา
ความคิด ให้มีความเชื่อมโยงกันอย่างเป็ นระเบียบ
๙. การเชื่อมโยงผังมโนภาพ
มโนภาพต่อไปนี้ อาจเชื่อมโยงเข้าด้วยกันกับมโนภาพอื่นได้
จักจั่น เพลง ความเพียร ความรู้ ความตาย การ
อบรม ความชำนาญ สุภาษิต จดหมาย

จักจั่น เพลง ร้อง

นำไปสู่
การต่อสู้ ความตาย

ต้ อ ง ใ ช้
ความชำนาญ
ทำให้เกิด

การอบรม ความเพียร

มี
จดหมาย สุภาษิต
ใบงานที่ ๑
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนภาพความคิด (Mind Mapping )


“เรื่องพระบรมราโชวาท”
พระบรม
ราโชวาท

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ท ๒๓๑๐๒
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ พระบรมราโชวาท
จำนวนครั้งที่สอน ๗ ครั้ง
เรื่อง สรุปองค์ความรู้
เวลาที่ใช้ ๑ ชั่วโมง
.................................

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร
เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียน
รายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมี
ประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟั ง การดูและการพูด
มาตรฐานการเรียนรู้ : ท ๓.๑ สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมี
วิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิดและความรู้สึกในโอกาส
ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ตัวชี้วัด (รายวิชาพื้นฐาน)
ท ๒.๑ ม ๑/๔ เขียนย่อความ
ท ๓.๑ ม ๓/๔ พูดในโอกาสต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ท ๓.๑ ม ๓/๕พูดโน้มน้าวโดยนำเสนอหลักฐานตามลำดับ
เนื้อหาอย่างมีเหตุผล และน่าเชื่อถือ

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง/ท้องถิ่น
(รายวิชาพื้น ความรู้ ( K) ทักษะ/ คุณลักษณะ (
ฐาน) กระบวนการ A)
(P)
ท ๒.๑ ม ๑/๔ หลักการเขียน ฝึ กเขียนย่อ -ใช้คำได้ถูก
เขียนย่อความ ย่อความ ความ ต้องและสละ
สลวย
-มีมารยาทใน
การเขียน
ท ๓.๑ ม หลักการพูด ฝึ กพูดโน้มน้าว มีมารยาทใน
๓/๕พูดโน้มน้าว โน้มน้าว การพูด
โดยนำเสนอหลัก
ฐานตามลำดับ
เนื้อหาอย่างมี
เหตุผล และน่า
เชื่อถือ

สาระสำคัญ
การอภิปรายบทเรียน แสดงเหตุผลประกอบการพูด เป็ นการ
เพิ่มทักษะด้านการวิเคราะห์
ทำให้สรุปข้อคิดจากบทเรียนได้ง่ายและตรงประเด็น

สาระการเรียนรู้
การอภิปรายข้อคิดจากบทเรียน

กระบวนการเรียนรู้
๑. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาทบทวนเนื้อหาสาระการเรียน
รู้จากชั่วโมงที่ผ่านมา
๒. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม (ตามความเหมาะสม) โดยให้
นักเรียนร่วมกันศึกษา
วิเคราะห์ เนื้อหาจากบทเรียน แล้วดำเนินการอภิปรายสรุปข้อคิด
จากบทเรียน แล้วเขียนสรุปข้อคิด ลงในสมุดแบบฝึ กหัด
และนักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนย่อความกับเพื่อนในกลุ่มแล้ว
เขียนย่อความจากบทเรียนลงในสมุดและส่งตัวแทนกลุ่มนำเสนอผล
งานการเขียนสรุปข้อคิดจากบทเรียน ของตนเองหน้าชั้น
เรียน
๓. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุปข้อคิดจากบทเรียน
เสนอแนะข้อบกพร่อง และ
แนวทางปรับปรุงแก้ไข สนทนาถึง การทำงานกลุ่ม และการทำงาน
รายบุคคลของนักเรียน
๔. นักเรียนทำใบงาน
๕. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังการเรียนรู้

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่ได้


บที่ มา
๑ ใบงาน เพิ่มเติมความชัดเจน ครูจัด
ในเนื้อหา เตรียม
๒ แบบทดสอบหลังการ นักเรียนทำแบบ ครูจัดทำ
เรียนรู้ ทดสอบหลังการเรียน
รู้
๓ หนังสือเรียนวรรณคดี นักเรียนดูภาพและฝึ ก ครูจัดหา
วิจักษณ์ ชั้น ม. ๓ อ่าน
๔ แบบบันทึกการสังเกต สังเกตพฤติกรรม และ ครูจัดทำ
พฤติกรรม และผลงาน ผลงานระหว่างเรียน
ระหว่างเรียน

การตรวจสอบผลการเรียนรู้(การวัดประเมินผล)

สิ่งที่ตรวจสอบ วิธีการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้วัด การ


ประเมิน
ผล/เกณฑ์
ผ่าน
ท ๒.๑ ม ๑/๔ -สังเกตรายบุคคล -แบบประเมินการ ร้อยละ
เขียนย่อความ -ตรวจใบงาน สังเกต ๗๐
พฤติกรรม และ
แบบประเมินผล
งาน
-ใบงาน
ท ๓.๑ ม ๓/๕พูด -การอภิปราย -แบบบันทึกการ ร้อยละ
โน้มน้าวโดยนำ -ตรวจใบงาน สังเกตพฤติกรรม ๗๐
เสนอหลักฐานตาม และผลงาน
ลำดับเนื้อหาอย่างมี ระหว่างเรียน
เหตุผล และน่าเชื่อ -ใบงาน
ถือ
กิจกรรมเสนอแนะ/กิจกรรมเสริมประสบการณ์
ในกิจกรรมการสอนภาษาไทยทุกชั่วโมง ครูต้องกวดขันให้นักเรียนใช้
ตัวเลขไทย เพื่อให้เกิดความเคยชินและติดเป็ นนิสัย อีกทั้งให้มี
ความภูมิใจในการใช้ตัวเลขไทย อันเป็ นสมบัติของชาติ

บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
๑. ด้านแผนการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
..........................................................................................
๒. ด้านพฤติกรรมการสอน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...........................................................................................
๓ ด้านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................
๔. ด้านผลการดำเนินงานการจัดการเรียนรู้
๔.๑
อุปสรรค/ปั ญหา...................................................................
........................................................................
.............................................................................................................
....................................................
๔.๒ ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................
.............................................................................................................
.................................................................................................

ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
( นายพงศธร อมรกุล )
ครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การ

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
.............................................................................................................
...................................................................................

ลงชื่อ.........................................................
( นางสาวศิวิไล ใจหาญ )
ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบางวัว (สายเสริมวิทย์)
ใบงานที่ ๑
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

ให้นักเรียนเลือกสำนวนไทยที่มีความสอดคล้องกับข้อความเติมลงใน
ช่องว่าง

ใช้เงินเป็นเบี้ย
ใช้เงินเป็ นเบี้ย นั่งกินนอนกิน
นั่งกินนอนกิน ยกตนข่มท่าน
ยกตนข่มท่าน มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
เป็เป็นเงาตามตัว
นเงาตามตัว เงาหัวไม่มี
เงาหัวไม่มี ผิดเป็นครู
ผิดเป็ นครู รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา
รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา ความชั่วความดีเป็นตรา
ความชั่วความดีเป็ นตรา

๑. จึงขอห้ามว่าอย่าได้ไปอวดอ้างเอง หรืออย่าให้คนใช้สอยอวดอ้างว่า เป็นเจ้านาย


อันใด ................................................

๒. ก็จะต้องส่งไปเรียนวิชาทุกคนตลอดโอกาสที่จะเป็นไปได้เหมือนหนึ่งได้แบ่ง
ทรัพย์มรดกให้แก่ลูกๆ เสมอกันทุกคน .............................................

๓. แต่สัตว์บางอย่างยังมีหนังมีเขามีกระดูกเป็นประโยชน์ได้บ้าง แต่ถ้าคนประพฤติ
อย่างเช่นสัตว์ดิรัจฉานแล้วจะไม่มีประโยชน์อันใดยิ่งกว่าสัตว์ดิรัจฉานบางพวกไป
อีก ....................................................
๔. ถ้าประพฤติความชั่วเสียแต่ในเวลามีพ่ออยู่แล้วโดยจะปิ ดบังซ่อนเร้นอยู่ได้ด้วย
อย่างหนึ่งอย่างใด เวลาไม่มีพ่อ ความชั่วนั้นคงจะปรากฏเป็นโทษติดตัว
เหมือน
เงาตามหลังอยู่ไม่ขาด .....................................................................

๕. อย่าให้มีความกลัวความกระดากว่าจะผิด ให้ทำตามที่เต็มความอุตสาหะความแน่ใจ
ว่า เป็นถูกแล้ว เมื่อผิดก็แก้ไขไม่เสียหายอันใด ..................................................

๖. เงินทองที่จะใช้สอยในค่ากินอยู่นุ่งห่มหรือใช้สอยเบ็ดเสร็จทั้งปวง อย่าทำใจ
โตมือโตสุรุ่ยสุร่าย โดยถือตัวว่าเป็นเจ้านายมั่งมีมาก
......................................

ใบงานที่ ๒
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

๑. คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวจึงทรง
สั่งสอนพระเจ้าลูกยาเธอขณะทรงศึกษาวิชาการในยุโรป ดังคำ
กล่าวต่อไปนี้
“…ขอบังคับว่าให้เขียนหนังสือถึงพ่อทุกคนอย่างน้อยเดือนละ
ฉบับ เมื่อเวลาเขียนหนังสืออังกฤษไม่ได้ ก็ให้เขียนมาเป็ นหนังสือไทย
ถ้าเขียนหนังสืออังกฤษหรือภาษาหนึ่งภาษาใดได้ ให้เขียนภาษาอื่น
นั้นมาฉบับหนึ่ง ให้เขียนคำแปลเป็ นภาษาไทยอีกฉบับหนึ่ง ติดกัน
มาอย่าให้ขาด…”
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………..……

๒. คำชี้แจง นักเรียนคิดว่า ข้อความใดบ้างที่มีความหมายลึกซึ้งกิน


ใจ และกระทบใจผู้อ่าน ยกตัวอย่างและบอกเหตุผลประกอบด้วย

....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
เฉลยใบงานที่ ๑
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

ให้นักเรียนเลือกสำนวนไทยที่มีความสอดคล้องกับข้อความเติมลงใน
ช่องว่าง

ใช้เงินเป็นเบี้ย
ใช้เงินเป็ นเบี้ย นั่งกินนอนกิน
นั่งกินนอนกิน ยกตนข่มท่าน
ยกตนข่มท่าน มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
เป็เป็นเงาตามตัว
นเงาตามตัว เงาหัวไม่มี
เงาหัวไม่มี ผิดเป็นครู
ผิดเป็ นครู รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา
รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา
ความชั่วความดีเป็นตรา
ความชั่วความดีเป็ นตรา

๑. ยกตนข่มท่าน

๒. รู้อะไรไม่สู้รู้วิชา

๓. ความชั่วความดีเป็ นตรา

๔. เป็ นเงาตามตัว
๕. ผิดเป็ นครู

๖. ใช้เงินเป็ นเบี้ย

แบบทดสอบก่อน-หลังการเรียนรู้
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

คำสั่ง จงเลือกข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แล้วกา x ลงใน


กระดาษคำตอบ
๑. คำว่า “His Royal Highness Prince” มีความหมายว่าอย่างไร
ก. เป็ นคำนำหน้าพระนามพระราชโอรส
ข. เป็ นคำนำหน้าพระนามพระราชธิดา ค. เป็ นคำตาม
หลังพระนามพระราชโอรส ง. เป็ นคำตามหลังพระนามพระราชธิดา
๒. พระราชโอรสทั้ง ๔ พระองค์ ใครเป็ นพระบิดาแห่งกฎหมายไทย
ก. กรมพระจันทบุรีนฤนาถ ข.
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ค. กรมหลวงปราจิณกิติบดี
ง. กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
๓. จากคำตอบในข้อ ๒ พระราชโอรสพระองค์ใดทรงเป็ นต้นราชสกุล
“กิติยากร”
คำสั่ง อ่านข้อความนี้แล้ว ตอบคำถามข้อ ๔ – ๕

“การซึ่งให้โอกาสและให้ทุนทรัพย์ซึ่งจะได้เล่าเรียนวิชานี้ เป็ น
ทรัพย์มรดกอันประเสริฐกว่าทรัพย์สิน เงินทองอื่นๆ ด้วยเป็ นของ
ติดตัวอยู่ได้ไม่มีอันตรายที่จะเสื่อมสูญ”
๔. คำกล่าวนี้มีความหมายตรงกับข้อใด

ก. ความรู้ดูยิ่งล้ำ สินทรัพย์
ข. ความรู้คู่เปรียบด้วย กำลัง กายเฮย
ค. รู้ธรรมเทียบเท่าผู้ ทรงไตร
ง. ลูกร้ายอย่าพึงปอง มอบทรัพย์ ให้นา
๕. ข้อความนี้แสดงทรรศนะใดชัดเจนที่สุด
ก. หน้าที่ของบิดามารดาคือจัดเตรียมมรดก
ไว้ให้ลูกด้วยการให้การศึกษา ข. วิชาประเสริฐกว่าทรัพย์
เพราะไม่มีวันสูญหาย ค. สังคม
ยกย่องคนมีความรู้มากกว่าคนมีทรัพย์
ง. มีวิชาเหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน

๖. จากการศึกษาเรื่อง พระบรมราโชวาท นักเรียนคิดว่า พระบาท


สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็ นบุคคลที่มี ลักษณะเด่นที่สุดใน
ข้อใด
ก. ร่ำรวยและใช้เงินอย่างประหยัด
ข. มองการณ์ไกลและรอบคอบ
ค. มีความรักในเกียรติยศสูง
ง. ให้ค่าเล่าเรียนอย่างเต็มที่
เพราะเห็นความสำคัญของการศึกษา
๗. “พระบรมราโชวาท” มีคุณค่าทางด้านใดเด่นชัดที่สุด
ก. คุณค่าด้านเนื้อหา ข. คุณค่า
ทางด้านวรรณศิลป์ ค. คุณค่าด้านสังคม
ง. คุณค่าด้านประวัติศาสตร์
๘.ข้อใดใช้คำราชาศัพท์ ไม่ถูกต้อง
ก. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออก ณ พระตำหนัก
จิตรลดารโหฐาน ข. สมาคมแม่บ้านทุกเหล่าทัพ จัด
อาหารเลี้ยงเด็กถวายเป็ นพระราชกุศล วันเฉลิมพระชนมพรรษา
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
ค.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมาลี เสด็จ
พระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่จังหวัดสมุทรสงคราม
ง. สมเด็จพระสังฆราชเสด็จพระราชดำเนินในพิธีเปิ ดโครงการ
พัฒนาเด็กของมูลนิธิเด็กแห่งประเทศไทย
๙. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน
ก. ประสูติ ข. พระราชสมภพ
ค. สมภพ ง. ทรงเกิด

๑๐. ชีวิตสังขารของมนุษย์ไม่ยั่งยืนยาว “เหมือนเหล็กเหมือนศิลา”


คำที่ขีดเส้นใต้
ใช้วิธี เขียนในข้อใด
ก. ถากถาง ข. เยาะเย้ย

ง. ตักเตือน ง. เปรียบเทียบ
เฉลยใบงาน
ชื่อ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ ๓

๑. คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัวจึงทรง
สั่งสอนพระเจ้าลูกยาเธอขณะทรงศึกษาวิชาการในยุโรป ดังคำ
กล่าวต่อไปนี้
“…ขอบังคับว่าให้เขียนหนังสือถึงพ่อทุกคนอย่างน้อยเดือนละ
ฉบับ เมื่อเวลาเขียนหนังสืออังกฤษไม่ได้ ก็ให้เขียนมาเป็ นหนังสือ
ไทย ถ้าเขียนหนังสืออังกฤษหรือภาษาหนึ่งภาษาใดได้ ให้เขียน
ภาษาอื่นนั้นมาฉบับหนึ่ง ให้เขียนคำแปลเป็ นภาษาไทยอีกฉบับหนึ่ง
ติดกันมาอย่าให้ขาด…”

( อยู่ในดุลพินิจของครู)

๒. คำชี้แจง นักเรียนคิดว่า ข้อความใดบ้างที่มีความหมายลึกซึ้งกิน


ใจ และกระทบใจผู้อ่าน ยกตัวอย่างและบอกเหตุผลประกอบด้วย

( อยู่ในดุลพินิจของครู)

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
.
๑. ก ๒. ข ๓. ก ๔. ก ๕. ข
๖. ข ๗. ค ๘. ง ๙. ค ๑๐. ง
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓
วันที่......เดือน.......…………............ พ.ศ. ...........ครั้งที่ ........ปี การ
ศึกษา........................

รายการสังเกต
ที่ ชื่อ - สกุล

มารยาทใน
ความร่วม

การซัก
การฟั ง
ความ
สนใจ

ถาม
รวม

มือ
๐ ๑ ๒ ๐ ๑ ๒ ๐ ๑ ๒ ๐ ๑ ๒
แบบสังเกตพฤติกรรมการอ่าน
คำชี้แจง ให้ทำเครื่องหมาย / ลงในช่องรายการสังเกต
พฤติกรรมที่กำหนด
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่…………โรงเรียน…………………………ภาคเรียนที่……………
รายการสังเกต

ประเมินผ่าน
สรุปผลการ
ชื่อ –
ความสน

มารยาท

น้ำเสียง

กดหรือ

หนังสือ
ในเรื่อง

ถูกต้อง
มีสมาธิ

อ่านคำ

อ่านไม่
ชัดเจน

สกุล
ในการ

เล จับ
มี

ขที่
๒๑๐๒๑๐๒๑๐๒๑๐๒๑๐๒๑ ๐๒๑๐

























เกณฑ์การให้คะแนน ๒= ดี, ๑ = ปานกลาง, ๐ = ต้อง
ปรับปรุงแก้ไข
(ลงชื่อ)……………………………………….ผู้ประเมิน
วันที่……….เดือน…………………….พ.ศ………………
แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่างเรียน
ความหมาย
๑. ตั้งใจ หมายถึง ความมานะ อดทนทำงานจนเสร็จ ( A )
๒. ความร่วมมือ หมายถึง สมาชิกในกลุ่มให้ความร่วมมือ
ทำงานจนเสร็จ ( A )
๓. ความมีวินัย หมายถึง ผลงาน หรือการทำงานเป็ นระบบ
ระเบียบเรียบร้อย สะอาด สวยงาม และได้เนื้อหาครบถ้วน ทัน
หรือตรงต่อเวลา ( A,K )
๔. คุณภาพของผลงาน หมายถึง ผลงานเรียบร้อย สวยงาม
เนื้อหาครบถ้วน ภาษาที่ใช้เหมาะสม ( P – Product, K )
๕. การนำเสนอผลงาน หมายถึง การพูดอธิบายนำเสนอผล
งานได้ตามลำดับ
และเนื้อหาถูกต้อง ( P – Process, K )
เกณฑ์การประเมิน
๔ หมายถึง ทำได้ดีมาก ๓ หมายถึง
ทำได้ดี
๒ หมายถึง ทำได้พอใช้ ๑ หมายถึง ควร
ปรับปรุง

คุณภาพ การนำ
ความ ความ ความมี
ของผล เสนอผล รวม
เลขที่ ตั้งใจ ร่วมมือ วินัย
งาน (๔ งาน (๔ (๒๐)
(๔) (๔) (๔)
) )
เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการทำงานกลุ่ม

ประเด็นการ เกณฑ์การให้คะแนน/ระดับ
ประเมิน ๓ ๒ ๑
๑. การกำหนด สมาชิกทุกคน สมาชิกส่วน สมาชิกส่วน
– มีส่วนร่วมใน ใหญ่มี น้อยมี
เป้ าหมายร่วม การกำหนด ส่วนร่วมในการ ส่วนร่วมในการ
กัน เป้ าหมายการ กำหนดเป้ า กำหนดเป้ า
ทำงานอย่าง หมายในการ หมายในการ
ชัดเจน ทำงาน ทำงาน
๒. การแบ่ง กระจายงานได้ กระจายงานได้ กระจายงานไม่
หน้าที่ อย่าง ทั่วถึง แต่ไม่ ทั่วถึง
รับผิดชอบ ทั่วถึงและตรง ตรงตามความ
ตามความ สามารถของ
สามารถของ สมาชิก
สมาชิกทุกคน
๓. การปฏิบัติ ทำงานได้ ทำงานได้ ทำงานไม่
หน้าที่ สำเร็จตาม สำเร็จตาม สำเร็จตาม
ที่ได้รับมอบ เป้ าหมายที่ได้ เป้ าหมายแต่ เป้ าหมาย
หมาย รับมอบหมาย ช้ากว่าเวลาที่
ตามระยะเวลา กำหนด
ที่กำหนด
๔. การประเมิน สมาชิกทุกคน สมาชิกบาง สมาชิกบาง
และ ร่วมปรึกษา ส่วนมีส่วนร่วม ส่วนไม่มี
ปรับปรุงผล หารือ ติดตาม ปรึกษาหารือ ส่วนร่วม
งาน ตรวจสอบและ แต่ไม่ช่วย ปรึกษาหารือ
ปรับ– ปรับปรุงผล และไม่ช่วย
ปรุงผลงาน งาน ปรับปรุงผล
เป็ นระยะ งาน
แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย วิชา
ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ กลุ่มที่
…….....

คะแนน
ที่ รายการประเมิน ข้อคิดเห็น
๓ ๒ ๑
การกำหนดเป้ าหมายร่วม
๑.
กัน
๒. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
การปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับ
๓.
มอบหมาย
การประเมินและปรับปรุง
๔.
ผลงาน

รวม

ลงชื่อ
ผู้ประเมิน
(
)
เกณฑ์การประเมิน
๑๑ – ๑๒ = ดีมาก
๘ – ๑๐ = ดี
๕–๗ = พอใช้
๐–๔ = ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินการนำเสนอผลงาน
หัวข้อการพิจารณา/ระดับการปฏิบัติหรือพฤติกรรม
ระดั เนื้อหา กลวิธี ขั้นตอน การใช้ ตอบ
บ การนำ การนำ ภาษา คำถาม/
คะแ เสนอ เสนอ เวลา
นน
๔ มีการเรียง มีการนำ มีการนำ ออกเสียง ตอบ
ลำดับ เข้าสู่เนื้อ เสนอ ถูกต้องตาม คำถามได้
เนื้อหาได้ดี เรื่อง มี อย่างต่อ อักขรวิธี อย่างมี
มีความต่อ ความ เนื่องราบ และดัง ภูมิรู้
เนื่อง สัมพันธ์กับ รื่นเป็ นไป ชัดเจน ใช้ และมี
มี เนื้อเรื่อง ตามขั้น ภาษา ความ
ประโยชน์ เร้าใจผู้ฟั ง ตอน เหมาะสม ชัดเจน มี
ให้แง่คิด มีความ เข้าใจง่าย แหล่ง
มั่นใจ มีการใช้ อ้างอิง
สำนวน ใช้เวลา
โวหาร ตาม
กำหนด
๓ มีการเรียง มีการนำ การนำ ออกเสียง ตอบ
ลำดับ เข้าสู่เนื้อ เสนอต่อ ถูกต้องตาม คำถามได้
เนื้อหาได้ดี เรื่อง มี เนื่อง มี อักขรวิธี ค่อนข้าง
มีความต่อ ความ การข้าม และดัง ชัด เจน
เนื่อง สัมพันธ์กับ ขั้นตอน ชัดเจน ใช้ มีแหล่ง
มี เนื้อเรื่อง บ้าง ภาษา อ้างอิง
ประโยชน์ เร้าใจผู้ฟั ง เหมาะสม ใช้เวลา
ให้แง่คิด ไม่มีความ เข้าใจง่าย เกิน
น้อย มั่นใจใน ไม่มีการใช้ กำหนด
การนำ สำนวน ๑ นาที
เสนอ โวหาร
๒ มีการเรียง มีการนำ การนำ ออกเสียง ตอบ
ลำดับ เข้าสู่เนื้อ เสนอต่อ ถูกต้องตาม คำถามได้
เนื้อหาได้ดี เรื่อง มี เนื่อง ไม่มี อักขรวิธี ไม่ค่อย
มีความต่อ ความ ขั้นตอน และดัง ชัดเจน
เนื่อง สัมพันธ์กับ เป็ นส่วน ชัดเจน ใช้ มีแหล่ง
มี เนื้อเรื่อง ใหญ่ ภาษา อ้างอิง
ประโยชน์ ไม่ เร้าใจผู้ เข้าใจยาก เป็ นบาง
น้อยให้แง่ ฟั ง ไม่มีการใช้ ส่วน
คิดน้อย ไม่มีความ สำนวน ใช้เวลา
มั่นใจใน โวหาร เกิน
การนำ กำหนด
เสนอ ๒ นาที
๑ มีการเรียง มีการนำ การนำ ออกเสียง ตอบ
ลำดับ เข้าสู่เนื้อ เสนอ ถูกต้องตาม คำถามไม่
เนื้อหาได้ดี เรื่อง ไม่มี ไม่ต่อ อักขรวิธี ได้เป็ น
ไม่มีความ ความ เนื่องนำ และดัง ส่วนใหญ่
ต่อเนื่อง สัมพันธ์กับ เสนอ ชัดเจน ใช้ ใช้เวลา
มี เนื้อเรื่อง สับสน ภาษาไม่ เกิน
ประโยชน์ ไม่เร้าใจผู้ เหมาะสม กำหนด
น้อยให้แง่ ฟั ง เข้าใจยาก ๕ นาที
คิดน้อย ไม่มีความ ไม่มีการใช้
มั่นใจใน สำนวน
การนำ โวหาร
เสนอ

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
กลุ่มที่............................................................ห้อง.......................
เนื้อหา กลวิธี ขั้นตอน การใช้ การ รวม
๔ การนำ การนำ ภาษา ตอบ คะแ
ประเด็น
เสนอ เสนอ ๔ คำถา นน
ชื่อ – สกุล
๔ ๔ ม ๒๐
สมาชิก
/เวลา

๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.

ลงชื่อ......................................................ผู้ประเมิน
(
)
วัน
ที่......เดือน......................ปี ................

เกณฑ์การประเมิน ๔ หมายถึง ดีมาก


๓ หมายถึง ดี
๒ หมายถึง พอใช้
๑ หมายถึง ต้องปรับปรุง

You might also like