Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

ต้ นแบบเครื อข่ ายเซ็นเซอร์ ไร้ สายเพื่อการเกษตร

A Prototype of Wireless Sensor Network for Agriculture

จิตติพงษ์ บุษบา, กีรติ เฮงประเสริ ฐ, นายวณัฐพงศ์ ดอกพุฒ,


เจษฎา ฤทธิ์ สนธ์, อัษฎา จันต๊ะนาขต, ศุภฤกษ์ มานิตพรสุ ทธ์
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และมัลติมีเดีย คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 126/1 ถ.วิภาวดีรังสิ ต ดินแดง กรุ งเทพฯ 10400
jittipong607@gmail.com, aitkirati@hotmail.com, bas10664@gmail.com,
wanphn@windowslive.com, term.aj13@gmail.com, suparerk_manutcc.ac.th

บทคัดย่อ
โครงงานนี้ ได้นาเสนอต้นแบบเครื อข่ายเซ็ นเซอร์ ไร้ ส ายส าหรั บ การเกษตร ที่ ส ามารถ
ควบคุ ม การจ่ ายน้ าในแปลงเกษตร สามารถวัดค่ า ความชื้ น ของดิ น ความชื้ น และอุ ณ หภู มิ ของ
สภาพแวดล้อ ม ในเครื อ ข่ า ยไร้ ส ายแบ่ ง โหนดออกเป็ น 2 กลุ่ ม ได้แก่ โหนดเซ็ น เซอร์ (Sensor
Nodes) และโหนดรวบรวมข้อมู ล (Aggregator Nodes) ได้มีก ารใช้โปรโตคอล AODV (Ad Hoc
On-Demand Distance Vector) ซึ่ งเป็ นโปรโตคอลค้นหาเส้ นทางสื่ อสารไร้ ส ายเพื่ อส่ งต่ อข้อมู ล
แบบหลายช่วง (Multi-Hops Routing Protocol) ลงบนโหนดเซ็นเซอร์ เพื่อให้สามารถส่ งข้อมูลที่วดั
ได้ไปยังโหนดรวบรวมข้อมูล ในขณะที่โหนดรวบรวมข้อมูลได้ ใช้โปรโตคอลแถวคอยข้อความ
MQTT (Message Queue Telemetry Transport) เป็ นตัว กลาง (Broker) ในการส่ ง ข้อ มู ล ออกจาก
เครื อข่ายไร้ สายไปยังระบบฐานข้อมูล นอกจากนั้นในโครงงานนี้ ยงั ได้พฒั นาโปรแกรมประยุกต์
บนเว็บแบบตอบสนองต่อขนาดของการแสดงผล (Responsive Web Application) เพื่อนาเสนอค่า
ความชื้ นและอุณหภูมิที่วดั ได้ในรู ปแบบกราฟฟิ ก และยังสามารถควบคุ มการเปิ ดปิ ดของการจ่าย
น้ าได้แบบอัตโนมัติหรื อสั่งจากโดยตรงจากโปรแกรม
คาสาคัญ
เครื อข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สาย โปรโตคอลค้นหาเส้นทางแบบหลายช่วง แถวคอยข้อความ
Abstract
This project proposes a prototyping system of wireless sensor network (WSN) for
agriculture. The system provides watering control, soil moisture measurement, as well as the
atmosphere humidity and temperature. In WSN, there are two node types: sensor nodes and
aggregator nodes. AODV (Ad Hoc On-Demand Distance Vector) is implemented on sensor
nodes as the multi-hop routing protocol to deliver all measured data to the pre-defined
aggregator nodes. On the aggregator nodes, MQTT (Message Queue Telemetry Transport)
service, as the broker, is deployed to manage the incoming traffics from sensor nodes and then
forward them to the database. The responsive web-based application has been developed as a
graphical tool to monitor the measured data. In addition, it allows user to manually or
automatically control the watering pump.
Keywords
Wireless Sensor Network (WSN), Routing Protocol, Message Queue
1. ความสาคัญและทีม่ าของปัญหาวิจัย
เกษตรกรรมมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็ นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม อัตรา
การขยายตัวด้านการผลิตในภาคเกษตรกลับมีปริ มาณลดลงอย่างต่อเนื่ อง [1] นอกจากนั้น รายได้
ของเกษตรกรยังมีแนวโน้มลดลงด้วยเช่นกัน [2]
วิธีในการบรรเทาปั ญหาข้างต้นสามารถทาได้หลายวิธี เช่ น การปรับโครงสร้างมหาภาค
ทางเศรษฐกิจ การส่ งเสริ มให้มีการขยายตัวของการผลิตโดยเฉพาะพืชเศรษฐกิจสาคัญ เป็ นต้น ใน
โครงการวิจยั นี้ ผูว้ ิจยั นาเสนอวิธีการทางวิศวกรรมการเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการผลิ ตทางด้วย
การสร้างต้นแบบของเครื อข่ายเซ็ นเซอร์ ไร้สายเพื่อการเกษตร ซึ่ งเป็ นศาสตร์ หนึ่งในสหวิทยาการ
ทางการเกษตรแบบแม่นยา (Precision Agriculture)
ในงานวิจยั นี้ ได้อภิ ป รายหลัก การเบื้ อ งต้น ของการเกษตรแบบแม่ น ย าและงานวิจยั ที่
เกี่ ยวข้องในหัวข้อถัดไป ระบบที่ นาเสนอและผลการทดสอบได้อธิ บายไว้ในหัวข้อที่ 3 และ 4
ตามลาดับ และในหัวข้อสุ ดท้ายได้สรุ ปและกล่าวถึงข้อจากัดของงานวิจยั รวมทั้งอภิปรายแผนการ
วิจยั ต่อไปในอนาคต
2. งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง

2.1 การเกษตรแบบแม่ นยา


การเกษตรแบบแม่นยา เป็ นสหวิทยาการที่ ครอบคลุ มศาสตร์ ที่หลากหลาย เช่ น ด้านการ
เพาะปลูก ด้านวิศวกรรมการเกษตร ด้านการบริ หารจัดการ ด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่ งแวดล้อม [3]
ในด้า นการเพาะปลู ก หมายถึ ง การรู ้ ถึ งสภาพของทรั พ ยากรทางธรรมชาติ ของแปลง
เพาะปลูก ไม่ว่าปริ มาณน้ า ปริ มาณฝน คุณภาพของดิน คุณลักษณะของพืชที่เพาะปลูก การใส่ ปุ๋ย
ศัตรู พืช เป็ นต้น ในด้านวิศวกรรมการเกษตร ได้แก่ การใช้เทคโนโลยี ระบบเซ็นเซอร์ เทคนิ คการ
คานวณ ระบบตรวจจับตาแหน่ งและโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการผลิ ต
ส่ วนด้านการบริ หารจัดการ เศรษฐกิจ และสิ่ งแวดล้อม ได้แก่ การส่ งเสริ มพืชเศรษฐกิจ การบริ หาร
จัดการน้ าชลประทาน การจัดการสิ่ งแวดล้อม การจัดการน้ าเสี ย การบริ หารพื้นที่และปริ มาณการ
เพาะปลูก การบริ หารจัดการตลาดในการซื้ อผลิตผลทางการเกษตร เป็ นต้น
อย่างไรก็ตาม การเกษตรแบบแม่นยามักถู กมองในมุมมองของเทคโนโลยี หรื อเรี ยกว่า
การท าฟาร์ ม อย่างแม่ นยา [4] ซึ่ งพึ่ งพาเทคโนโลยีต่างๆ ในการเพิ่ ม ผลผลิ ตทางการเกษตร เช่ น
ระบบระบุตาแหน่งความแม่นยาสู ง ระบบขับเคลื่อนรถเพาะปลูกอัตโนมัติ การสร้างแผนที่คุณภาพ
ของดิ น การตรวจวัด สภาพแวดล้ อ มโดยใช้ เซ็ น เซอร์ (เช่ น ความชื้ นและอุ ณ หภู มิ ข อง
สภาพแวดล้อม น้ าและแร่ ธาตุในดิน เป็ นต้น) ระบบการสื่ อสารข้อมูล และเทคโนโลยีอตั ราแปรผัน
(Variable Rate Technology) ที่สามารถปรับการให้ปุ๋ยตามชนิดของพืชและคุณภาพของดินได้ เป็ น
ต้น
2.2 เครื อข่ ายเซ็นเซอร์ ไร้ สาย
จากความรู ้ เบื้ องต้น เกี่ ยวกับ การเกษตรแบบแม่ นยาที่ อภิ ป รายไว้ในหัวข้อที่ ผ่านมา ใน
งานวิจยั ฉบับนี้ ผูว้ ิจยั มี ความสนใจในการนาเซ็ นเซอร์ ที่ใช้ในการวัดความชื้ นและอุ ณหภู มิ ของ
สภาพแวดล้อม และปริ มาณน้ าในดินมาใช้สร้างเป็ นต้นแบบ โดยใช้เครื อข่ายไร้สายในการสื่ อสาร
ข้อมูล
รู ปที่ 1 แสดงตัวอย่างของเครื อข่ายเซ็ นเซอร์ ไร้ สายอย่างง่ ายที่ ประกอบไปด้วยโหนด 2
ชนิดได้แก่ โหนดเซ็นเซอร์ (Sensor Nodes) และโหนดรวบรวมข้อมูล (Aggregator Nodes)

C
F
B
D E
A
G
1 K 2

H M
J L
I

รู ปที่ 1 ตัวอย่างของเครื อข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สาย


โหนดเซ็นเซอร์ มีหน้าที่ในการควบคุมการอ่านข้อมูลจากเซ็ นเซอร์ ชนิ ดต่างๆ แล้วทาการ
ส่ ง ต่ อ ข้อมู ล ที่ อ่ านได้ไ ปยัง โหนดรวบรวมข้อมู ล เพื่ อ ส่ ง ข้อมู ล เหล่ า นี้ ออกไปจัด เก็ บ ที่ ระบบ
ฐานข้อมูล
จากรู ปที่ 1 เห็ นได้ว่า บางโหนดเซ็นเซอร์ สามารถส่ งข้อมูลไปยังโหนดรวบรวมข้อมูลได้
โดยตรง เช่น โหนดเซ็นเซอร์ A สามารถส่ งข้อมูลการวัดจากเซ็นเซอร์ ไปยังโหนดรวบรวมข้อมูล 1
ในขณะที่โหนดเซ็ นเซอร์ บางโหนดไม่มีการเชื่ อมต่อกับโหนดรวบรวมข้อมู ลเลย มีการเชื่ อมต่อ
เพียงเฉพาะโหนดเซ็นเซอร์ ด้วยกันเท่านั้น เช่ น โหนดเซ็ นเซอร์ B โหนดเซ็ นเซอร์ C และโหนด
เซ็นเซอร์ F เป็ นต้น ด้วยโครงสร้างของเครื อข่ายเช่ นนี้ การส่ งข้อมูลจากโหนดเหล่านี้ ไปยังโหนด
รวบรวมข้อมูล จาเป็ นต้องอาศัยสื่ อสารแบบหลายทอด ทาให้เกิดข้อดีและข้อเสี ยดังนี้
ข้อดี ได้แก่
1. โหนดเซ็นเซอร์สามารถสื่ อสารได้หลายทอด ทาให้สามารถลดจานวนโหนดรวบรวม
ข้อมูลให้มีน้อยลง ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่ อสารระหว่างเครื อข่ายเซ็ นเซอร์
ไร้สายกับระบบฐานข้อมูล
2. เมื่อโหนดรวบรวมข้อมูลโหนดใดโหนดหนึ่ งไม่สามารถสื่ อสารกับระบบฐานข้อมูล
ได้ โหนดเซ็ นเซอร์ สามารถค้นหาเส้นทางสารองไปยังโหนดรวบรวมข้อมูล อื่นที่มี
สถานะพร้อมส่ งข้อมูลได้
ข้อเสี ย ได้แก่
1. การสื่ อสารแบบหลายทอด แต่ละโหนดกิ นพลังงานไม่เท่ากัน โหนดที่ มีขอ้ มู ลผ่าน
บ่อยทาให้สิ้นเปลื องพลังงานมากกว่าโหนดอื่น การเชื่ อมต่อภายในเครื อข่ายไร้ สาย
อาจเปลี่ ย นแปลงได้ง่ายอัน เนื่ องจากโหนดที่ ข ้อ มู ล ผ่านบ่ อยดับ ไปเนื่ องจากหมด
พลังงาน
2. การค้นหาเส้นทางสารองต้องใช้โปรโตคอลในการสื่ อสารที่ซบั ซ้อน จาเป็ นต้องมีการ
ออกแบบให้เหมาะสม และอาจจาเป็ นต้องใช้อุป กรณ์ ที่ รองรับ ความซับซ้อนของ
โปรโตคอลได้
เพื่ อบรรเทาข้อเสี ยที่ ไ ด้ก ล่ าวไว้ข ้างต้น มี ก ารศึ ก ษาโปรโตคอลการค้น หาเส้ น ทางบน
เครื อข่ายไร้สายแบบหลายทอดจานวนมาก สามารถแบ่งได้ออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ได้แก่ โปรโตคอล
เชิงรุ กและโปรโตคอลเชิงรับ
โปรโตคอลเชิ ง รุ ก คื อ โปรโตคอลที่ ใ ห้โ หนดเซ็ น เซอร์ ท าการอัพ เดทตารางเส้ น ทาง
(Routing Table) อ ย่ า งส ม่ าเส ม อ เช่ น B.A.T.M.A.N [6] แ ล ะ DSDV (Destination Sequence
Distance Vector) [7] เป็ นต้น ส่ วนโปรโตคอลเชิงรับ คือ โปรโตคอลที่ทาการค้นหาเส้นทางในการ
สื่ อ สารข้อ มู ล เมื่ อ จ าเป็ นต้อ งส่ ง ต่ อ ข้อ มู ล เท่ า นั้ น เช่ น AODV (Ad Hoc On-Demand Distance
Vector) [8] และ DSR (Dynamic Source Routing) [9] เป็ นต้น
ในระบบต้นแบบที่นาเสนอใช้ AODV เป็ นโปรโตคอลในการค้นหาเส้นทางเนื่ องจากมี
ความซับซ้อนไม่มาก สามารถติ ดตั้งได้บนไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่ งได้อธิ บายรายละเอี ยดของ
ระบบที่นาเสนอในหัวข้อถัดไป

3. ระบบต้ นแบบ
องค์ประกอบของระบบต้นแบบที่นาเสนอเป็ นดังรู ปที่ 2 มีองค์ประกอบ 2 ส่ วนใหญ่คือ
ส่ วนเครื อข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สาย และส่ วนบันทึกข้อมูลและโปรแกรมประยุกต์
Aggregator Nodes Node-RED

Mosquitto
Internet
MQTT Server

Sensor Nodes Web Server


Database
Server
Wireless Sensor Networks

Web Browser

รู ปที่ 2 องค์ประกอบของระบบต้นแบบ
3.1 เครื อข่ ายเซ็นเซอร์ ไร้ สาย
ในระบบต้นแบบที่นาเสนอ ระบบฮาร์ดแวร์สาหรับเครื อข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สายมีดงั นี้
- NodeMCU เป็ นไมโครคอนโทรลเลอร์ สาหรับทั้งโหนดเซ็นเซอร์ และโหนดรวบรวม
ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถใช้ ชุ ดซ อฟ ต์ แ วร์ ใน การพั ฒ น าเดี ยวกั น กั บ Arduino [10]
ไมโครคอนโทรลเลอร์ น้ ี มีระบบสื่ อสารไร้สายด้วยชิ พ ESP8266 [11] ใช้คลื่นความถี่
2.4 GHz และรองรับมาตรฐาน IEEE802.11b/g/n
- เซ็ น เซอร์ SEN-13322 [12] ดังรู ป ที่ 3(a) ส าหรั บ วัด ความชื้ น ของดิ น ติ ด ตั้ง ไว้บ น
โหนดเซ็นเซอร์
- เซ็ นเซอร์ DHT22 [13] ดังรู ปที่ 3(b) สาหรับวัดอุ ณ หภู มิ และความชื้ นภายในอากาศ
ติดตั้งไว้บนโหนดเซ็นเซอร์
- ชุ ดควบคุ มประตูน้ า ติ ดตั้งไว้บนโหนดรวบรวมข้อมู ล สามารถเปิ ดเปิ ดประตู น้ าได้
หลายอัน เปิ ดปิ ดตามคาสั่งทั้งแบบอัตโนมัติเมื่อความชื้ นในดิ นที่ วดั ได้มากกว่าหรื อ
น้อยกว่าค่าที่กาหนดไว้ หรื อเปิ ดปิ ดโดยผูใ้ ช้ส่ังงานผ่านโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
(a) SEN-13322 เซ็นเซอร์ วดั ความชื้นของดิน (b) DHT22 เซ็นเซอร์ วดั อุณหภูมิและความชื้น
รู ปที่ 3 เซ็นเซอร์ ที่เชื่อมต่อเข้ากับโหนดเซ็นเซอร์
การวัด และการส่ ง ต่ อ ข้อ มู ล รวมถึ ง การควบคุ ม ประตู น้ า ถู ก ควบคุ ม ด้วยซอฟต์แ วร์ ที่
พัฒนาขึ้นโดยอาศัย APIs จากซอฟต์แวร์ แบบเปิ ดเผยโค้ดดังต่อไปนี้
- ไลบรารี AODV สาหรับ Arduino [14] ซึ่ งเป็ นโปรโตคอลการสื่ อสารเพื่อหาเส้นทาง
สาหรับเครื อข่ายไร้ สาย ไลบรารี น้ ี ถูกติดตั้งเข้ากับทุกโหนดในระบบ ทาให้สามารถ
รับส่ งข้อมูลระหว่างโหนดเซ็นเซอร์ กบั โหนดรวบรวมข้อมูลแบบหลายทอดได้
- Eclipse Mosquitto [15] เป็ นตัว กลางแถวคอยข้อ ความ (Message Queue Broker) ที่
รองรั บ โปรโตคอล MQTT มี โมเดลในการรั บ ส่ ง ข้อความแบบ Publish/Subscribe
สามารถติดตั้งได้บนโหนดรวบรวมข้อมูลเพื่อส่ งข้อมูลที่วดั ได้จากโหนดเซ็นเซอร์ ไป
ยัง Mosquitto MQTT Server และยังใช้รับคาสั่งในการเปิ ดปิ ดประตูน้ าที่ Publish มา
จาก Mosquitto MQTT Server โดยสั่งผ่านโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
- Node-RED [16] เป็ นบริ การเว็บ (Web Service) ที่ นาข้อความจาก Mosquitto MQTT
Server มาสกัด ให้ ไ ด้ค าสั่ ง SQL เพื่ อ บัน ทึ ก ข้อ มู ล การวัด จากเซ็ น เซอร์ ใ นระบบ
ฐานข้อมูล
3.2 โปรแกรมประยุกต์ บนเว็บ (Web Application)
โปรแกรมประยุกต์บ นเว็บ ได้ถูกพัฒนาขึ้ นเพื่อให้ส ามารถดู ขอ้ มู ลที่ วดั ได้จากเซ็ นเซอร์
ต่างๆในรู ปของกราฟ และยังอนุ ญาตให้ผูใ้ ช้เลื อกรู ปแบบของการควบคุ มประตูน้ าว่า ให้เปิ ดปิ ด
แบบอัตโนมัติ หรื อว่าให้ควบคุมเปิ ดปิ ดเองผ่านโปรแกรม
องค์ประกอบของซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วนดังต่อไปนี้
- โปรแกรมประยุก ต์บ นเว็บ พัฒ นาโดยใช้ PHP และติ ด ตั้ง เพื่ อ ใช้ ง านบน Apache
HTTP Server
- บริ การบนเว็บ (Web Service) พัฒนาโดยใช้ JavaScript และทางานด้วย NodeJS ใช้
เพื่ อส่ งต่ อค าสั่ งจากโปรแกรมประยุก ต์บ นเว็บ ผ่านไปยัง Mosquitto MQTT Server
แล้วส่ งต่อกลับไปยังโหนดรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ควบคุมประตูน้ า
4. ผลการทดสอบ

4.1 เครื อข่ ายเซ็นเซอร์ ไร้ สาย


การสื่ อสารของเครื อข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สายในระบบต้นแบบได้ถูกทดสอบด้านระยะทางใน
การสื่ อสารระหว่างโหนด 2 โหนดเพื่อหาระยะการสื่ อสารอ้างอิงแสดงดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 อัตราความสาเร็ จในการรับข้อมูล
ระยะ (เมตร) อัตราความสาเร็ จในการรับข้อมูล
15 100 %
20 69 %
25 68 %
30 0%

จากตารางที่ 1 เห็ นได้ว่า ระยะทางในการสื่ อสารสู งสุ ดที่ สามารถรับส่ งข้อมู ลได้ถูกต้อง
ทั้งหมดคือที่ระยะ 15 เมตร หากนาไปติ ดตั้งในไร่ หรื อสวนที่ มีการกระจายของโหนดเซ็ นเซอร์
อย่างสม่ าเสมอ สามารถใช้โหนดเซ็ นเซอร์ 9 โหนดเพื่อครอบคลุ มพื้นที่ 1,600 ตารางเมตร (หนึ่ ง
ไร่ ) ดังรู ปที่ 4
15 m 15 m

15 m
15 m

รู ปที่ 4 การกระจายของโหนดเซ็นเซอร์ แบบสม่าเสมอบนพื้นที่ 1,600 ตารางเมตร


เนื่ องจากความแตกต่ างของโหนดเซ็ น เซอร์ ก ับ โหนดรวบรวมข้อมู ล มี เฉพาะด้านการ
สื่ อสารข้อมูลที่ควบคุมด้วยซอฟต์แวร์ ดังนั้น ในทางปฏิบตั ิสามารถให้บางโหนดทาหน้าที่เป็ นทั้ง
โหนดเซ็นเซอร์ และโหนดรวบรวมข้อมูลได้พร้อมกัน
4.2 โปรแกรมประยุกต์ บนเว็บ
โปรแกรมประยุกต์บ นเว็บ ได้พฒั นาโดยใช้เทคนิ ค ให้สามารถตอบสนองต่อขนาดของ
จอแสดงผลที่แตกต่างกัน (Responsive) หน้าแรกของโปรแกรมประยุกต์บนเว็บแสดงถึงอุณหภูมิ
ของอากาศ และความชื้ น ของดิ น ในลัก ษณะกล่ องข้อ ความที่ น าเสนอสี สั น ที่ แตกต่ างกัน แบ่ ง
ออกเป็ น 3 ช่วง ได้แก่ ต่า (สี เขียว) ปานกลาง (สี ฟ้า) และสู ง (สี แดง) นอกจากนั้นยังนาเสนอข้อมูล
เหล่ านี้ อยู่ในรู ปของกราฟเพื่อให้เห็ นแนวโน้มของการเปลี่ ยนแปลง และแสดงผลในรู ป ตาราง
เพื่อให้ดูค่าที่วดั ได้และเวลาที่บนั ทึ กที่ ละเอียดมากขึ้น รู ปที่ 5 แสดงตัวอย่างของการแสดงผลบน
เว็บบราวเซอร์ บนคอมพิวเตอร์ ซ่ ึงมีขอ้ มูลจากโหนดเซ็นเซอร์เพียง 2 โหนด
รู ปที่ 5 หน้าแรกของโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
5. สรุ ปและอภิปราย
ระบบต้นแบบที่นาเสนอ สามารถตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้ นของอากาศ และความชื้ น
ของดิ นได้ โดยข้อมู ลเหล่ านี้ ถูกส่ งมาจากเซ็ นเซอร์ ในโหนดเซ็ นเซอร์ และถู กส่ งต่อมายังโหนด
รวบรวมข้อมูลเพื่ อส่ งออกจากเครื อข่ายเซ็ นเซอร์ ไร้ สายมาบันทึ กไว้ยงั ระบบฐานข้อมู ล เพื่ อให้
สามารถรองรับการครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ ไลบรารี สาหรับโปรโตคอล AODV ได้ถูกนามาใช้
ให้โหนดเซ็นเซอร์ สามารถส่ งข้อมูลได้แบบหลายทอด นอกจากนั้นระบบยังได้ติดตั้ง Mosquitto
MQTT Server และ Node-Red เพื่อใช้บริ หารข้อความแถวคอย เป็ นการรองรับการเชื่ อมต่อแบบ
สายข้อมูลของโหนดรวบรวมข้อมูลจานวนมากให้เชื่ อมต่อกับระบบฐานข้อมูลได้
อย่างไรก็ตาม ระบบต้นแบบนี้ ยงั มีประเด็นที่สามารถพัฒนาเพิ่มเติมได้อีกหลายประเด็น
เช่ น รู ปแบบการสื่ อสารในโหนดรวบรวมข้อมู ลและโหนดเซ็ นเซอร์ ชนิ ดของเซ็ นเซอร์ ที่ใช้ใน
การเกษตรมีหลากหลาย ความยืดหยุ่นของการเพิ่มลดจานวนเซ็ นเซอร์ ในโปรแกรมประยุกต์ การ
ผนวกข้อมู ลของตาแหน่ งเซ็ นเซอร์ เข้ากับแผนที่ ภูมิศาสตร์ พลังงานและวงจรควบคุ มในโหนด
เป็ นต้น
6. บรรณานุกรม

[1] “GDP ไตรมาสที่สี่ ทั้งปี 2560 และแนวโน้มปี 2561,” สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ


เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, พ.ศ. 2561.
[2] บรรณาธิการ, “สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดจีดีพีเกษตรปี 59 พลิกโต สวนทางรายได้
ชาวนาไทยจนสุ ด,” ฐานเศรษฐกิจ, 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559. [Online]. Available:
http://www.thansettakij.com/content/28930. [Accessed 10 Jan 2018].
[3] “Precision Agriculture,” Springer, [Online]. Available:
https://link.springer.com/journal/11119. [Accessed 11 Jan 2018].
[4] “Precision Farming: key technologies and concepts,” CEMA, [Online]. http://cema-
agri.org/page/precision-farming-key-technologies-concepts. [Accessed 11 Jan 2018].
[5] David Schimmelpfennig, “Precision Agriculture Technologies and Factors Affecting Their
Adoption,” United States Department of Agriculture, [Online].
https://www.ers.usda.gov/amber-waves/2016/december/precision-agriculture-technologies-
and-factors-affecting-their-adoption/ [Accessed 11 Jan 2018].
[6] “B.A.T.M.A.N. (better approach to mobile ad-hoc networking),” Open Mesh, [Online].
https://www.open-mesh.org/projects/open-mesh/wiki [Accessed 11 Jan 2018].
[7] Charles E. Perkins and Pravin Bhagwat, “Highly Dynamic Destination-Sequenced Distance-
Vector Routing (DSDV) for Mobile Computers,” ACM SIGCOMM’94, London, UK, pp. 234-
244, 1994. doi 10.1145/190314.190336
[8] Perkins, C. and Belding-Royer, E. and Das, S., “Ad Hoc On-Demand Distance Vector
(AODV) Routing,” RFC Editor, USA. 2003. [Online].
https://dl.acm.org/citation.cfm?id=RFC3561 [Accessed 15 Sep 17].
[9] Johnson, D., Hu, Y., Maltz, D., “RFC 4728 - The Dynamic Source Routing Protocol (DSR)
for Mobile Ad Hoc Networks for IPv4,” IETF, 2007. [Online].
https://tools.ietf.org/html/rfc4728 [Accessed 15 Sep 17].
[10] “Arduino Products,” Arduino. [Online]. https://www.arduino.cc/en/Main/Products [Accessed
15 Sep 17].
[11] "ESP8266 Overview". Espressif Systems. [Online].
https://www.espressif.com/en/products/hardware/esp8266ex/overview [Accessed 15 Sep 17].
[12] “SparkFun Soil Moisture Sensor,” SparkFun. [Online].
https://cdn.sparkfun.com/datasheets/Sensors/Biometric/SparkFun_Soil_Moisture_ Sensor.pdf
[Accessed 15 Sep 17].
[13] “Digital Relative Humidity and Temperature Sensor DHT22,” Adafruit. [Online]. https://cdn-
shop.adafruit.com/datasheets/Digital+humidity+and+temperature+ sensor+AM2302.pdf
[Accessed 15 Sep 17].
[14] “An Aodv Network Layer for nRF4l01+ (or similar) chips for Arduino,” Github. [Online].
https://github.com/jeremyno/AodvNetwork [Accessed 15 Nov 17].
[15] “Eclipse Mosquitto: An Open Source MQTT Broker,” Mosquitto. [Online].
https://mosquitto.org/ [Accessed 15 Sep 17].

You might also like