Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 165

การสั มมนา

คู่มือการติดตังระบบไฟฟ้ าอย่ างมืออาชีพ


ตามมาตรฐาน วสท. พ.ศ. 2564
หัวข้ อ
การคํานวณโหลด การต่ อลงดิน
แผงสวิตช์ และการติดตัง แรงดันตก
และกระแสลัดวงจร
โดย สุ ธี ปิ2 นไพสิ ฐ
ที2ปรึกษากรรมการสาขาไฟฟ้ า วสท. 1

 ชื อ นายสุ ธี ปิ นไพสิ ฐ ประวัติวิทยากร


อดีตผู้อาํ นวยการสํานัก วิศวกรรมโครงสร้ างและงานระบบ
กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย
 การศึกษา อสบ.(ไฟฟ้ า)สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ
 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒิวศ ิ วกร เลขทะเบียน วฟก. 885 ของสภาวิศวกร
 ประสบการทํางาน/กิจกรรมทางวิชาการ
- คณะอนุกรรมการแก้ ไขและปรั บปรุ งกฎกระทรวงว่ าด้ วยการกําหนดระบบไฟฟ้ าและระบบการ
จัดการแสงสว่ างตามมาตรา 8(4)และ(6) ตาม พรบ.ควบคุมอาคาร
- ทีปรึ กษากรรมการวิชาการสาขาไฟฟ้ า : สมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชู ปถัมภ์ (วสท.)
- วิทยากรบรรยายมาตรฐานการติดตั@งทางไฟฟ้าฯ ของ วสท.
- คณะอนุกรรมการและผู้ชํานาญการพิเศษ เพือทดสอบความรู้ ความชํานาญการประกอบวิชาชีพระดับ
วุฒิวิศวกร ระดับสามัญวิศวกร และภาคีพเิ ศษไฟฟ้า สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ของสภาวิศวกร
-
องค์ ประกอบพืนฐานของระบบไฟฟ้ า
ประตูนํา
SW ก๊ อก V =Voltage
I = Current
Protective Device W= Watt
I
ปริมาณนํา สุ ขภัณฑ์

V Source Load
W
แรงดันนํา ปัมนํา

Conductor ท่ อนํา

บทที2 5 การคํานวณโหลดทางไฟฟ้ า การไฟฟ้ าฯ


kWh

สายเมนแรงสูง
หม้อ แปลงไฟฟ้ า
วงจรไฟฟ้ าภายในอาคาร สายเมนแรงตํา(สายประธาน)
สายเมนหรื อสายประธาน เมนสวิ ต ช์
(บริภณ
ั ฑ์ประธาน)
(service conductors)
สายป้อน (Feeder)
วงจรย่ อย (Branch สายป้ อ น
circuit)

โหลดไฟฟ้า
รู ปที2 5.1 วงจรการจ่ ายไฟฟ้ าทัว2 ไป วงจรย่อ ย คู่มือ หน้ า 127
ระบบไฟฟ้าในอาคาร โหลดไฟฟ้า

ท่ อสายป้อน ท่ อสายวงจรย่ อย ชันที2 3


สวิตช์ เกียร์
แรงสู ง

แผงย่ อย ชันที2 2

เมนสวิตช์ RISER DIAGRAM ชันที2 1

หม้ อแปลง ท่ อสายเมน


ตัวอยางไดอะแกรมแนวตั้ง 5

วงจรย่ อย

วงจรย่ อย หมายถึง ตัวนํ าของวงจรระหว่าง


อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินจุดสุดท้ายกับจุด
จ่ายไฟหรือจุดใช้ไฟ ระหว่างนั#นอาจมีสวิตช์
หรือเครื'องปลดวงจร หรือเครื'องป้ องกัน
ที'ใช้เฉพาะตัวของอุปกรณ์อกี ก็ได้

คู่มือ หน้ า 128


6
- วงจรย่ อยแสงสว่ าง
(Lighting Branch Circuit )
- วงจรย่ อยเต้ ารับ
(Receptacle Branch Circuit)
- วงจรย่ อยเฉพาะ(โหลดเฉพาะตัว)
- วงจรย่ อยมอเตอร์

คู่มือ หน้า 128


7

การไฟฟ้ าฯ
5.1 การคํานวณโหลดสํ าหรับทั2วไป kWh

5.1.1 การคํานวณวงจรย่ อยแบ่งโหลดออกเป็


สายเมนแรงสูง น 3 กลุม่ และคํานวณดังนี#
1. โหลดแสงสว่ าง คํสายเมนแรงตํ
านวณตามโหลดที
หม้ อ แปลงไฟฟ้ า
า(สาย 2ติดตังจริงในวงจร
ประธาน)
เมนสวิ ต ช์
(บริภณ
ั ฑ์ประธาน) L b ≥  L bi

สายป้ อ น • L b = โหลดวงจรย่ อย( A , VA )


แผงย่อ ย
•  L bi =ผลรวมของโหลด ( A , VA )
L bi
Ib
วงจรย่อ ย

โหลดไฟฟ้า คู่มือ หน้ า 129


2. โหลดเต้ารับ แบ่งเป็ น
- เต้ ารับใช้ งานทั2วไป หมายถึงเต้ ารับที2ติดตังไว้ ทั2วไปในอาคารโดยยังไม่ ทราบว่ า
จะใช้ กับโหลดอะไร วิธีคิดโหลด
- กรณี เต้าเดียว เต้าคู่ และ
ชนิดสามเต้า คิด 180 VA.
- กรณี มากกว่าสามเต้า คิด
360 VA.
รูปที' 5.2 โหลดของเต้ารับใช้งานทัวไป
'
- เต้ารับที'ทราบโหลดแน่ นอนแล้วเช่น เต้ารับสําหรับเครื'องซักผ้า หม้อหุงข้าวและตูเ้ ย็น เป็ นต้น
ให้ใช้ขนาดโหลดตามขนาดเครื'องใช้ไฟฟ้ านั#น
3. โหลดอืน' ๆ คิดโหลดตามขนาดเครื'องใช้ฟ้าที'ตอ่ ใช้งานอย่างถาวรจากวงจรนั#น เช่น เครื'องทํานํ# าอุน่
เครื'องปรับอากาศ และเครื'องจักร เป็ นต้น ขนาดโหลดคิดตามขนาดเครื'องใช้ฟฟ้ านั#น คู่มือ หน้ า 129
9

ขนาดของวงจรย่อยกําหนดเป็ น ampere แต่ในการคํานวณจะนิ ยม


ทําเป็ น VA เพื'อความสะดวกในการรวมโหลดเข้าด้วยกัน จากสูตร ดังนี#
โหลดระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย โหลดระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย

L b (VA) = V LN Ib L b (VA) =  3 V L Ib
กําล งั ไฟฟ้ า กําล งั ไฟฟ้ า
ปรากฎ(S) ปรากฎ(S)

• Lb = โหลดของบริภัณฑ์ไฟฟ้ า (VA)

กําหนดให้ • VL = แรงดันสายเฟสกับเฟส (V)


• VLN = แรงดันสายเฟสกับนิวทรัล (V)
• Ib = กระแสโหลด (A)

VLN = 230 V. 1 เฟส 2 สาย VL = 400 V. 3 เฟส 4 สาย คู่มือ หน้ า 130
องค์ป ระกอบของกําล งั ไฟฟ้ า
กําลังไฟฟ้าจริ ง
(Real Power ; P) ในรูป ของ POWER TRIANGLE
กําล งั ไฟฟ้ ารีแ อกทีฟ
P = kWหรือ W หรือ P = S cos∅ (Reactive Power ; Q)
∅1
∅2
kvar2
Q = kvar หรือ var หรือ Q = Ssin ∅
∅ มุมเฟส(Phase Angle)
กําลังไฟฟ้าปรากฏ kvar1 ระหว่ างกระแสและแรงดัน
(Apparent Power ; S)
or S =P + jQ
ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า(PF) การกําหนดขนาดคาปาซิเตอร์
= กําลังไฟฟ้ าจริง(W),P
กําลังไฟฟ้ าปรากฎ(VA) kvar = kW(tan∅1 ∅2
= cos. ∅ 11

1.การกําหนดขนาดเครื2 องป้ องกันกระแสเกินวงจรย่ อย


วงจรย่ อยมีการป้องกันกระแสเกิน โดยขนาดเครื2 องป้องกันกระแสเกิน
ต้ องไม่ ตาํ2 กว่ าผลรวมของโหลดทีค2 าํ นวณได้

• Circuit Breaker ( CB ) ต้ องได้ ตาม


เครื องป้ องกัน มาตรฐาน IEC 60898
กระแสเกิน • ขนาดพิกัดของ CB ที*นิยมใช้ คอื 10 A,
16A 20 A , 25 A , 32 A , 40 A , 50 A
ขนาดทีเกิน 50 Aจะใช้ กบั โหลดเฉพาะตัว
คู่มือ หน้า 130
12
การป้ อ งกัน กระแสเกิน วงจรย่อ ย Iz = พิกดั กระแสตัวนํา ( A )
Ib =โหลดสู งสุ ดของสาย (A)
เครื2 องป้องกันกระแสเกินวงจรย่ อย Step 2 In = พิกดั เครื.องป้องกันกระแสเกิน ( A )
ต้ องไม่ตํ2ากว่ าผลรวมของโหลด กําหนดขนาด OCPD
ที2คาํ นวณได้ Step 1
In ≥ Ib
In I
กําหนด b
Cable
Iz
เลือกชนิดของสาย OCPD คํานวณ
และวิธีการเดินสาย Load

Step 3
Step 4
หากระแสตามวิธีติดตัง
It ≥ In / ( Ca x Cg ) เลือกขนาด I z (ตามตาราง)I z ≥ I t

พิกดั เครื2 องป้องกันกระแสเกิน ≥ 1.25 โหลดวงจรทีค2 าํ นวณได้


ค่ าแนะนําหรื อ คู่มือหน้ า 130
ค่ าเผื2อ
13

การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า(ตัวนําวงจรย่อ ย)
Ib
OCPD I n Cable Iz
Load

ขนาดกระแสตัวนําวงจรย่ อยต้ องไม่น้อย พิกดั กระแสของสายต้ องไม่น้อยกว่ าพิกดั


กว่ าโหลดสู งสุ ดที2คาํ นวณได้ ของเครื2 องป้องกันกระแสเกินและไม่เล็ก
กว่ า 2.5 sq.mm.
Iz ≥ Ib I ≥ I ≥ 2.5 mm 2
z n

 โดยที.
ถึงแม้ว่าสายขนาดเล็กกว่ า 2.5 ตร.มม.
Iz = พิกัดกระแสตัวนําวงจรย่ อย ( A )
จะนํากระแสไม่ตํ2ากว่ าขนาด OCPD ก็ตาม
Ib =โหลดสู งสุ ดของวงจรย่อย (A)
ต้ องคํานึงถึงการทนความร้ อนจากกระแส
In = พิกัดเครื. องป้ องกันกระแสเกิน ( A ) ลัดวงจร( short time rating)ด้ วยซึ2งสาย
OCPD = Over Current Protective Devices ต้ องไม่ขาดหรื อชํารุ ด 14 คู่มือ หน้า 130
ตัวอย่ างที 5.1 วงจรย่ อยแสงสว่ างวงจรหนึงจ่ ายไฟให้ หลอด fluorescent กําหนดให้ กระแส
หลอดละ 0.4 A จํานวน 10 หลอด ต้ องการกําหนดขนาดเครื องป้ องกันกระแสเกินและสายไฟฟ้ า
กําหนดให้ สายไฟฟ้ าเป็ นชนิด IEC 01 เดินร้ อยท่ อโลหะเกาะผนัง
วิธีทาํ
โหลดแสงสว่ าง = 10 × 0.4 = 4 A
เลือกใช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ ขนาด 16 A
ตารางที 5-20 (ภาคผนวก A) สาย IEC 01 เดินร้ อยท่ อเกาะผนังขนาด 2.5 ตร.มม. (21 A)
คูมือหนา218

หมายเหตุ สามารถใช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เล็กกว่ า 16 A ก็ได้ แต่ เนื*องจากขนาดสายไฟฟ้าตามข้อกําหนดของวงจร


ย่ อยต้ องไม่ เล็กกว่ า 2.5 ตร.มม. การใช้ เซอร์ กติ เบรกเกอร์ เล็กกว่ านีFจึงไม่ มีผลให้ สายไฟฟ้าเล็กลงได้ จึงเลือกใช้ ขนาด
16 A ซึ*งมีข้อดีที*จะมีสํารองไว้ สําหรั บการเพิม* โหลดในอนาคตได้ ด้วย คู่มือ หน้า 130

3.การติดตั@งเครื องตัดไฟรัวของวงจรย่ อย ป้องกันบุคคลจากไฟฟ้าดูด


(1) เครื องตัดไฟรัวในทีอยู่อาศัยและทีคล้ ายคลึงกัน
วงจรย่ อยดังต่ อไปนีต@ ้ องมีสายดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้าและติดตั@งเครื องตัดไฟรัว
( I∆n ≤ 30 mA , break time ≤ 0.04 s at 5 In) เพิมเติมด้ วย คือ

- วงจรเต้ ารับในบริเวณห้ องนํา@ ห้ องอาบนํา@ โรงจอดรถยนต์ ห้ องครัว ห้ องใต้ ดนิ


- วงจรเต้ ารับในบริเวณ อ่ างล้ างชาม อ่ างล้ างมือ (บริเวณพื@นทีเคาน์ เตอร์ ทีมีการ
ติดตั@ง เต้ ารับภายในระยะ 1.5 เมตร ห่ างจากขอบด้ านนอกของอ่ าง)
- วงจรไฟฟ้ าเพือใช้ จ่ายภายนอกอาคารและบริภัณฑ์ ไฟฟ้ าทีอยู่ในตําแหน่ งทีบุคคล
สัมผัสได้ ทุกวงจร
- วงจรเต้ ารับในบริเวณชั@นล่ าง (ชั@น 1) รวมถึงในบริเวณทีอยู่ตากว่ ํ าระดับผิวดิน
- วงจรย่ อยสําหรับ เครื องทํานํา@ อุ่น เครื องทํานํา@ ร้ อน อ่ างอาบนํา@ สระว่ ายนํา@
16

คู่มือ หน้า 131


3.การติดตั@งเครื องตัดไฟรัวของวงจรย่ อย ป้องกันบุคคลจากไฟฟ้าดูด

เครื2 องทํานําอุ่นที2มี RCD วงจรเต้ ารับ ห้ องนํา@ ห้ องอาบนํา@ ห้ องครัว


ติดมาพร้ อมเครื2 องไม่ถือว่ า โรงจอดรถยนต์ ห้ องใต้ ดนิ
มีการป้องกันแล้ว ต้ องติด
RCD เพิม2 ที2วงจรย่ อยด้ วย วงจรย่ อยสําหรับเครื องทํานํา@ อุ่น
เครื องทํานํา@ ร้ อน อ่ างอาบนํา@ สระว่ ายนํา@

วงจรภายนอกอาคาร
มิเตอร์ รั@ว
วงจรเต้ารับชัCนล่าง(ชัCน 1)
รวมถึงวงจรเต้ารับทีอยูต่ ากว่
ํ าระดับดิน
คู่มือ หน้า 131
17

(2) เครื องตัดไฟรัวในสถานประกอบการทีไม่ ใช่ ทีอยู่อาศัย


วงจรย่ อยดังต่ อไปนีต@ ้ องมีสายดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้าและติดตั@งเครื องตัดไฟรัว
( I∆n ≤ 30 mA , break time ≤ 0.04 s at 5 In ) เพิมเติมด้ วย คือ
- วงจรย่ อยสําหรับสระหรื ออ่ างกายภาพบําบัด ธาราบําบัด อ่ างนํา@ แร่ (spa) อ่ างนํา@ ร้ อน (hot tub)
อ่ างนวดตัว และบริภัณฑ์ อืนๆทีคล้ ายคลึงกัน
- วงจรย่ อยสําหรับ เครื องทํานํา@ อุ่น เครื องทํานํา@ ร้ อน เครื องทํานํา@ เย็น เครื องทํานํา@ แข็ง ตู้แช่ เครื องซักผ้า
- วงจรย่ อยเต้ ารับ ในบริเวณต่ อไปนี@
โรงเรียน
1) ห้ องนํ@า ห้ องอาบนํ@า ห้ องครัว
2) สถานทีทํางานก่อสร้ าง ซ่ อมบํารุ ง บนดาดฟ้า อู่ซ่อมรถ
3) ท่ าจอดเรื อ โป๊ ะจอดเรื อ ทีทําการเกษตร พืชสวนและปศุสัตว์
4) การแสดงเพือการพักผ่อนในทีสาธารณะกลางแจ้ ง
5) งานแสดงหรื อขายสิ นค้าและทีคล้ายคลึงกัน
6) วงจรเต้ ารับชั@นล่าง (ชั@น 1) รวมถึงวงจรเต้ ารับทีอยู่ตํากว่ าระดับผิวดิน
- วงจรไฟฟ้ าจ่ ายภายนอกอาคารและบริภัณฑ์ ทอยุ
ี ่ ในตําแหน่ งทีบุคคลสัมผัสได้ ทุกวงจร
เช่ นตู้ ATM ตู้ซักผ้าหยอดเหรียญ เป็ นต้ น 18
คู่มือ หน้า 131,132
การไฟฟ้ าฯ วงจรสายป้ อน(Feeders)
หมายถึงตัวนําของวงจรระหว่ างบริภัณฑ์ ประธาน
kWh

สายเมนแรงสูง กับอุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกินวงจรย่ อยตัวสุ ดท้ าย โดย


หม้อ แปลงไฟฟ้ า
สายเมนแรงตํา ทําหน้ าที2จ่ายไฟให้ วงจรย่ อยหรื อจ่ ายไฟให้ สายป้ อน
เมนสวิ ต ช์ ด้ วยกัน (สายป้ อนในวงจรไฟฟ้ ามีได้ หลายช่ วง)
(บริภณ
ั ฑ์
ประธาน)
1 เครื องป้องกันกระแสเกินสายป้อน
สายป้ อน
แผงย่อ ย
2 การกําหนดขนาดสายป้อน
3 การคํานวณโหลดสําหรับสายป้อน
วงจรย่อ ย โหลดไฟฟ้า
4 ขนาดตัวนํานิวทรัล(Neutral)
คู่มือหน้ า128 , 132
19

kWh

5.1.2 การคํานวณสายป้ อน
สายเมนแรงสูง 1. การกําหนดขนาดเครื'องป้ องกันฯของสายป้ อน
หม้อ แปลงไฟฟ้ า
20 เมนสวิ ต ช์
(สายประธาน)
เครื2 องป้ องกันฯ สายป้ อน
(บริภณ
ั ฑ์ประธาน) ต้ องไม่ตํ2ากว่ าผลรวมของโหลดที2คาํ นวณได้ เมื2อ
ใช้ ดีมานด์ แฟกเตอร์ แล้ว
A สําหรั บโหลดอื.นดีมานด์
I nA แ≥ฟกเตอร์
I bAกาํ หนดตาม
สภาพการใช้ งาน

สายป้ อ น
2. การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า
(1)ขนาดตัวนําสายป้ อน(สายเส้ นไฟ)
ต้ องไม่ ตาํ2 กว่ าขนาดครื2 องป้องกันฯ
และต้ อง ไม่ เล็กกว่ า 4 ตร.มม.
วงจรย่อ ย
คู่มือหน้ า 132
โหลดไฟฟ้า 20
การป้ อ งกัน กระแสเกิน
เครื2 องป้ องกันกระแสเกิน สายป้ อน Step 2
ต้ องไม่ตํ2ากว่ าผลรวมของโหลด
กําหนดขนาด OCP D
ที2คาํ นวณได้ เมื2อใช้ ดีมานด์ Step 1
แฟกเตอร์ แล้ว In ≥ Ib
In I
กําหนด b

OCPD Cable Iz Ib
เลือกชนิดของสาย Load
และวิธีการเดินสาย

Step 3 Step 4
หากระแสตามวิธีติดตัง เลือกขนาด I z (ตามตาราง)
It ≥ In / ( Ca x Cg ) Iz ≥ I t

พิกัดเครื2 องป้ องกันกระแสเกิน ≥ 1.25 โหลดวงจรที2คาํ นวณได้ เมื2อใช้ ดมี านด์ ฯ แล้ ว
ค่ าแนะนําหรื อ
ค่ าเผื2อ คู่ม21
ือหน้ า 132

การคํานวณโหลดสํ
การไฟฟ้ าฯ
าหรับสายป้ อนเมื2อใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์
kWh

(การใช้ ไฟฟ้าอาจไม่ พร้ อมกัน)


สายเมนแรงสูง • สายป้อนต้ องมีขนาดกระแสเพียงพอ
หม้อ แปลงไฟฟ้ า
เมนสวิ ต ช์ สายเมนแรงตํา สําหรับการจ่ ายโหลดและต้ องไม่ น้อยกว่ า
(บริ ภณ
ั ฑ์
ประธาน) ผลรวมของโหลดในวงจรย่ อยเมื2อใช้
ดีมานด์ แฟกเตอร์
แผงย่อ ย
L F ≥ (L1 x D1) +( L2 x D2) + …( Ln x Dn )
LF ≥ ( L BC ) x D.F.
โหลดไฟฟ้ า
วงจรย่อ ย
IF ≥ L F(VA) / (  3 x 400)
คู22
่ มือหน้ า 132
การคํานวณโหลด จะคิด จากผลรวมของโหลดทังหมดที2ต่ อใช้ งานจากสาย
ป้อนนัน และอนุญาตให้ ใช้ ค่าดีมานแฟกเตอร์ ได้ ตามตารางที2 5.1 ถึง 5.3 ดังนี
1. โหลดแสงสว่ าง ใช้ ค่าดีมานด์ แฟกเตอร์ ตาม ตารางที2 5.1
2. โหลดเต้ ารับใช้ งานทัว2 ไปทีค2 ดิ โหลดไว้ เต้ ารับละไม่ เกิน 180 VA ใช้ ใน
สถานทีอ2 ื2นทีไ2 ม่ ใช่ ทอี2 ยู่อาศัย ใช้ ค่าดีมานด์ แฟกเตอร์ ตาม ตารางที2 5.2
3.โหลดเต้ ารับอื2นในสถานที2อยู่อาศัย ที2ทราบโหลดแน่ นอนแล้ วให้ คิดโหลดจาก
เต้ ารับตัวแรกทีม2 ีขนาดโหลดสู งสุ ดบวกกับ 40 % ของโหลดเต้ ารับทีเ2 หลือ
4. โหลดเครื2 องใช้ ไฟฟ้าทัว2 ไป ใช้ ค่าดีมานด์ แฟกเตอร์ ตาม ตารางที2 5.3
(ผู้ออกแบบอาจเลือกไม่ ใ ช้ ดีมานด์ แฟกเตอร์ กไ็ ด้ )
คู่มือหน้ า 132

คํานิยามเกีย2 วทีใ2 ช้ เกีย2 วกับโหลด


 Total Connected Load
คือผลรวมทังหมดของโหลดไฟฟ้าทีต2 ดิ ตังอยู่ของสถานประกอบการ
คิดเป็ น VA , kVA หรื อ MVA
 Maximum Demand
คือโหลดไฟฟ้าทีใ2 ช้ พร้ อมกันสู งสุ ดในเวลาทีก2 าํ หนดให้
คิดเป็ น VA , kVA หรื อ MVA
 Demand Factor ( D.F. ) คืออัตราส่ วนของ Maximum Demand
ต่ อ Total Connected Load
24
การใช้ ดมี านด์ แฟกเตอร์

- โหลดแสงสว่ าง ตารางที. 5.1


- โหลดเต้ ารั บในสถานที.ไม่ ใช่ ที.อยู่อาศัย ตารางที. 5.2
- โหลดเครื. องใช้ ไฟฟ้ าทั.วไป ตารางที. 5,3
 ห้ ามใช้ กบั การคํานวณวงจรย่ อย
โหลดอืนนอกเหนื อจากทีกําหนดในตาราง ผูอ้ อกแบบสามารถกําหนด
ได้ตามความเหมาะสมกับสภาพการใช้งานจริง คู่มือหน้ า 132
25

ตารางที2 5.1 ดีมานด์ แฟกเตอร์ ของโหลดแสงสว่ าง


ขนาดของไฟแสงสว่ าง ดีมานด์ แฟกเตอร์
ชนิดของอาคาร
(โวลต์ –แอมแปร์ ) (ร้ อยละ)
ไม่ เกิน 3,000 100
*ห้า มใช้ก บั สถานที
ที2พกั อาศัย ทีใช้แ สงสว่า งพร้อ มกัน ส่ วนเกิน 3,000 แต่ ไม่ เกิน 120,000 35
เช่น ห้อ งโถง ห้อ งอาหาร ส่ วนที2เกิน 120,000 25

โรงแรม รวมถึง ห้ องชุด ไม่ เกิน 20,000 60


ที2ไม่ มีส่วนให้ ผ้อู ยู่อาศัย ส่ วนเกิน 20,000 แต่ ไม่ เกิน 100,000 50
ส่ วนเกิน 100,000 35
ประกอบอาหารได้ *
ไม่ เกิน 12,500 100
โรงเก็บพัสดุ ส่ วนเกิน 12,500 50

อาคารประเภทอื2น ทุกขนาด 100


คู่มือหน้ า 134
26
ตารางที2 5.2 ดีมานด์ แฟกเตอร์ สําหรับโหลดของเต้ ารับ
ในสถานที2ไม่ ใช่ ที2อยู่อาศัย

โหลดของเต้ ารับรวม ดีมานด์ แฟกเตอร์


(คํานวณโหลดเต้ ารับละ 180 VA) (ร้ อยละ)
10 kVA แรก 100
ส่ วนที2เกิน 10 kVA 50

คู่มือหน้ า 134

27

ตารางที2 5.3 ดีมานด์ แฟกเตอร์ ของโหลดเครื2 องใช้ ไฟฟ้ าทั2วไป


ชนิดของอาคาร ประเภทของโหลด ดีมานด์ แฟกเตอร์
10 แอมแปร์ + ร้ อยละ 30 ของ ส่ วนที2เกิน 10
เครื2 องหุงต้ มอาหาร
แอมแปร์
1. อาคารที2อยู่อาศัย กระแสใช้ งานจริ งของสองตัวแรกที2ใช้ งาน +
เครื2 องทํานําร้ อน
ร้ อยละ 25 ของตัวที2เหลือทังหมด
เครื2 องปรั บอากาศ ร้ อยละ 100
กระแสใช้ งานจริ งของตัวที2ใหญ่ ที2สุด
2.อาคารสํ านักงาน เครื2 องหุงต้ มอาหาร + ร้ อยละ 80 ของตัวใหญ่ รองลงมา
และร้ านค้ ารวมถึง + ร้ อยละ 60 ของตัวที2เหลือทังหมด
ห้ างสรรพสิ นค้ า ร้ อยละ 100 ของสองตัวแรกที2ใหญ่ ที2สุด
เครื2 องทํานําร้ อน
+ ร้ อยละ 25 ของตัวที2เหลือทังหมด
เครื2 องปรั บอากาศ ร้ อยละ 100
เครื2 องหุงต้ มอาหาร เหมือนข้ อ 2
3.โรงแรมและอาคาร เครื2 องทํานําร้ อน เหมือนข้ อ 2
ประเภทอื2น เครื2 องปรั บอากาศ
ร้ อยละ 75
ประเภทแยกแต่
(มาตรฐานลว.ส.ท.
ะห้ อ2001-31
ง ข้อ3.) คู่ม28ื อหน้ า 135
(2)ขนาดสายนิวทรัล
เมนสวิ ต ช์
- ขนาดสายนิวทรัล ต้ องสามารถรับ
กระแสไม่ สมดุลสู งสุ ดได้ และต้ องมี
สายป้ อ น
แผง DB
ขนาดไม่ เล็กกว่ าสายดินของบริภัณฑ์
ไฟฟ้ า ตาราง 4.2 (คู่มือ หน้ า 115)
ขนาดกระแสของสายนิวทรัลคิดจาก
สายป้ อ น
แผงย่อ ย โหลด 1-เฟส ที2ต่ออยู่ในวงจร 3-เฟส
โดยเลือกจากเฟสที2มากที2สุด
วงจรย่อ ย
โหลดไฟฟ้า คู่มือหน้ า 133
29

ตารางที 4.2 ขนาดสายดินเล็กสุ ดของบริภัณฑ์ ไฟฟ้า

คู่มือหน้ า115
EIT Standard 2001-51 (บทที 4 ตาราง 4-2) 30
ขนาดสายนิวทรัล (Neutral)
กรณีระบบไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย ขนาดสายนิวทรัล มีข้อกําหนด ดังนี
(1) กรณีกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ด ไม่ เกิน 200A ขนาดกระแสของสายนิวทรัล
ต้ องไม่ ตาํ2 กว่ าขนาดกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ดนัน คิ ด จากโหลด
IN ≥ IL-N(max) 1 เฟส ของวงจร
เลือ กเฟส
(2) กรณีกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ด เกิน 200Aขนาดกระแสของ ทีมากทีสุด
เป็ นกระแส
สายนิวทรัลต้ องไม่ ตาํ2 กว่ า 200A + 70% ของส่ วนทีเ2 กิน 200A โหลดไม่ส มดุล
IN ≥ 200 + 0.7( IL-N(max) - 200) สูงสุด

(3) ถ้ าโหลดไม่ สมดุลเป็ นประเภทหลอดดีสชาร์ จ อุปกรณ์ ประมวลผลด้ วย


คอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ ทที2 าํ ให้ มกี ระแสฮาร์ มอนิกส์ สายนิวทรัลต้ องมีขนาด
กระแสไม่ ตาํ2 กว่ าโหลดไม่ สมดุลนัน
IN ≥ IL-N (max) คู่มือหน้ า 133
31

หมายเหตุ
1) กระแสของโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ดคือค่ าสู งสุ ดทีค. าํ นวณได้ จากโหลด 1 เฟส
(Single-phase load) ทีต. ่ อระหว่ างตัวนํานิวทรัลและสายเส้ นไฟเส้ นใดเส้ นหนึ.ง
2) ในระบบไฟ 3 เฟส 4 สายทีจ. ่ ายให้ กบั ระบบคอมพิวเตอร์ เช่ นใน data center
หรือโหลดอิเล็กทรอนิกส์ จะต้ องเผือ. ตัวนํานิวทรัลให้ ใหญ่ ขึ^น เพือ. รองรับกระแส
ฮาร์ มอนิกด้ วย
กรณีนี^สายนิวทรั ลอาจมีขนาด
ใหญ่ กว่ าสายเส้ นไฟก็ได้

คู่มือหน้า 131
32
กรณีกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ด ไม่ เกิน 200A
200AT 160 A
L3
180 A
L2
170A
L1

120 A 130 A 110 A 50 A - 3 เฟส

130A
N
ขนาดสาย N ≥ 130 A
ขนาดสายนิ วทรัล คิ ด จากโหลด
1 เฟส ของวงจร เลือ กเฟสทีมากทีสุด
เป็ นกระแสโหลดไม่ส มดุล สูงสุด คู่มือหน้ า 131
ไม่คิ ด โหลด 3 เฟส 33

กรณีกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ด ไม่ เกิน 200A


250AT 210 A
L3
230 A
L2
220A
L1

120 A 130 A 110 A 100 A - 3 เฟส

130A
N
ขนาดสาย N ≥ 130 A
ขนาดสายนิ วทรัล คิ ด จากโหลด
1 เฟส ของวงจร เลือ กเฟสทีมากทีสุด
เป็ นกระแสโหลดไม่ส มดุล สูงสุด คู่มือหน้ า 131
ไม่คิ ด โหลด 3 เฟส 34
กรณีกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ดเกิน 200A
และส่ วนใหญ่ ไม่ เป็ น Harmonic Loads
630AT 500A
L3
500A
L2
600A
L1

600 A 500 A 500 A

N 480A
ขนาดสาย N = 200 + 0.7x400 = 480 A
คู่มือหน้ า 131
35

กรณีกระแสโหลดไม่ สมดุลสู งสุ ดเกิน 200A


และโหลดส่ วนใหญ่ เป็ น Harmonic Loads
630AT
500A
L3
500A
L2
L1 600A

600 A 500 A 500 A

600A
N
Full L-N(max) = 600 A คู่มือหน้ า 131

36
กรณีมีโหลด 3 เฟส และส่ วนใหญ่ ไม่ เป็ น Harmonic Loads
500AT 410 A
L3
430 A
L2
420A
L1

320 A 330 A 310 A 100 A

291A
N
ขนาดสาย N ≥ 200 + 0.7x130 = 291 A
รูปที' 5.3 แสดงกระแสสูงสุดที'คาดว่าจะไหลในสายนิ วทรัล
(ใช้เพือการกําหนดขนาดสายนิวทรัล)
ถ้าเป็ นโหลดทีมีกระแสฮามอนิ กส์ ให้คดิ จากโหลดไม่สมดุลสูงสุดสายนิวทรัลต้องมี
ขนาดกระแสไม่ตากว่ํ า 330 A 37
คู่มือหน้ า 133,134

ตัวอย่างที' 5.2 สายป้ อน 1 เฟส 2 สาย วงจรหนึ' งของอาคารที'พกั อาศัย ประกอบด้วยโหลดตามที'


แสดงในรูปข้างล่าง ต้องการกําหนดขนาด CB และสายไฟฟ้ า กําหนดให้ใช้สาย IEC 01 เดินร้อยท่อ
โลหะเกาะผนัง

วงจรที' 1 หลอดฟลูออเรสเซนต์ขนาดชุดละ 2×40 วัตต์ กระแส


ชุดละ 0.4 Aจํานวน 12 ชุด
วงจรที' 2 หลอด LED กระแสชุดละ 0.1 A จํานวน 14 หลอด
วงจรที' 3 เต้ารับใช้งานทัว' ไป จํานวน 10 ชุด
วงจรที' 4 เครื'องปรับอากาศขนาด 12,000 Btu, 1.5 kVA
วงจรที' 5 เครื'องทําน้าอุน่ ขนาด 3.3 kW

คู่มือ หน้ า 135,136


หาโหลดรวม (แบ่งโหลดเป็ นกลุม่ และใช้ดีมานด์แฟกเตอร์
ไม่ เกิน 3,000VA
ตามที'กาํ หนดข้างต้น) T.5-1
D.F. 100%
- ไฟฟ้ าแสงสว่ าง = 1,104 + 322 = 1,426 VA
T 5-2ใช้สถานทีไม่ใ ช้
- เต้ารับ = 1,800 VA อยูอ่ าศัย คิด D.F.
100%
- เครื'องปรับอากาศ = 1,500 VA T 5-3
D.F.100%

- เครื'องทํานํ# าอุน่ = 3,300 VA T 5-3


D.F.100%
1,500 โหลดรวม =1,426+1,800+1,500+3,300 = 8,026 VA
ขนาด CB =8.026/230 =34.9 A
VA

3,300
เลือกใช้ CB ขนาด 40 A
180 × 10
= 1,800 VA
FLU. VA
0.4 × 12
× 230 =
1,104 VA
LED
0.1 × 14 ×
ตารางที' 5-20, สายไฟฟ้ าต้องมีขนาดกระแสไม่ตาํ ' กว่า 40 A ใช้
230 = 322 A คูมือหนา218 สาย IEC 01 ขนาด 10 ตร.มม. (50 A) เดินร้อยท่อเกาะผนัง
คู่มือ หน้ า 136,137

สายเมนและเมนสวิตช์
สายเมนหรื อสายเมนเข้ าอาคารหรื อตัวนําประธาน
คือตัวนําที2ต่อระหว่ างเครื2 องวัดหน่ วยไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ
เมนสวิ ต ช์
สายเมน(ตัว นํา ประธาน)
กับบริภัณฑ์ ประธาน(ทังระบบแรงสู งและแรงตํ2า)
(บริภณ
ั ฑ์
ประธาน)
เมนสวิตช์ หรื อบริภัณฑ์ ประธาน คืออุปกรณ์ ไฟฟ้ าที2ทําหน้ าที2
แผง DB ปลดวงจรไฟฟ้ าของทังอาคารและทําหน้ าที2ตัดกระแสเกิน
สั บ-ปลดวงจรไฟฟ้
ด้ วย ประกอบด้ วยเครื2 องปลดวงจรและเครื2 องป้ องกันกระแส
สายป้ อ น เกิน(กรณีเป็ นเซอร์ กติ เบรกเกอร์ จะเป็ นตัวเดียวกัน)
แผงย่อ ย
ในระบบแรงตํา สายเมนคือสายไฟฟ้ าฯ ทีต่อจากเครืองวัดหน่ วยไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าไปยังเมน
สวิตช์ (บริภณั ฑ์ประธาน) ในระบบแรงสูง จะรวมถึงสายเมนแรงสูงจากการไฟฟ้ าฯ ไปยังหม้อ
วงจรย่อ ย แปลงไฟฟ้ า และสายเมนแรงตําทีต่อจากหม้อแปลงไฟฟ้ าไปยังเมนสวิตช์
โหลดไฟฟ้า คู่มือ หน้ า 128
5.1.3 การคํานวณโหลดรวม เป็ นการคํานวณหาโหลดทัง# หมดของอาคาร (หรือหม้อแปลง)
การคํานวณดําเนิ นการเหมือนกับการคํานวณสายป้ อนรวมทัง# ใช้ดีมานด์แฟกเตอร์ตารางเดียวกัน
โหลดที'คาํ นวณได้จะนํ าไปกําหนดขนาดเครื'องวัดหน่ วยไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าฯ กรณี ท'โี หลด
มากกว่าที'การไฟฟ้ าฯ จะจ่ายด้วยไฟแรงตํา' ได้ ผูใ้ ช้ไฟฟ้ าจะต้องตัง# หม้อแปลงไฟฟ้ าเอง
1. การกําหนดขนาดเครื'องป้ องกันกระแสเกิน
 ขนาดเครื2 องป้องกันกระแสเกินกําหนดจากขนาดเครื2 องวัดหน่ วยไฟฟ้ า
การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่ วนภูมิภาค

- ตามตารางที2 5.4 - ตามตารางที2 5.5


คู่มือ หน้ า 137

ตารางที 5.4 พิกัดสูงสุดของเครืองป้ องกันกระแสเกินและ


โหลดสูงสุดตามขนาดเครืองวัดหน่ วยไฟฟ้ าแรงตํา (กฟน.)
ขนาดเครื2 องวัดหน่ วยไฟฟ้า พิกดั สู งสุ ดของเครื2 องป้องกันกระแสเกิน โหลดสู งสุ ด
(แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ )
5 (15) 16 10
15 (45) 50 30
30 (100) 100 75
50 (150) 125 100
200 150
200
250 200
400 300 250
400 300
500 400
หมายเหตุ พิกดั ของเครื. องป้องกันกระแสเกิน มีค่าตํ.ากว่ าที.กาํ หนดในตารางได้ แต่ ทั^งนี^ต้อง
คู่มือ หน้ า 138
ไม่ น้อยกว่ า1.25 เท่ าของโหลดที
(มาตรฐาน ว.ส.ท..ค2001-31
าํ นวณได้
ข้อ3.) 42
ตารางที 5.5 ขนาดของเครืองวัดหน่ วยไฟฟ้ าแรงตํา ขนาดสายไฟฟ้ า เซฟตีสวิตช์
คัตเอาต์และคาร์ทริดฟิ วส์ สําหรับตัวนําประธาน (กฟภ)
ขนาดตัวนําประธาน บริ ภัณฑ์ ประธาน
ขนาด เล็กที2สุดที2ยอมให้ ใช้ ได้ เซฟตีสวิตช์ หรื อ คัตเอาต์ ใช้ ร่วมกับ เซอร์ กิต
เครื2 องวัด (ตร.มม.) โหลดเบรกสวิตช์ คาร์ ทริ ดจ์ ฟิวส์ เบรกเกอร์
หน่ วยไฟฟ้ า ขนาดสวิตช์ ขนาดฟิ วส์ ขนาดคัต ขนาดฟิ วส์ ขนาดปรับตัง
(แอมแปร์ ) สาย สาย
ตํ2าสุ ด สู งสุ ด เอาต์ ตํ2าสุ ด สู งสุ ด สู งสุ ด
อะลูมิเนียม ทองแดง
(แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ ) (แอมแปร์ )
5 (15) 10 4 30 16 20 16 16
15 (45) 25 10 60 50 - - 50
30 (100) 50 35 100 100 - - 100
10 4 30 16 20 16 16
5 (100) 25 10 60 50 - - 50
50 35 100 100 - - 100
200 50 35 - - - - 125
ประกอบ 70 50 - - - - 160 คู่มือ หน้ า 139
CT แรงตํ2า 95 70 - - - - 200 43

หมายเหตุ
1)สําหรับตัวนําประธานภายในอาคารให้ ใช้ สายทองแดง
2) ขนาดสายในตารางนีส3 ําหรับวิธีการเดินสายลอยในอากาศวัสดุฉนวนภายนอกอาคาร หากวิธี
เดินสายแบบอืนให้ พิจารณาขนาดตัวนําประธานในบทที 5 แต่ทัง3 นี 3 ขนาดตัวนําประธานต้ องรับ
กระแสไม่น้อยกว่าขนาดปรับตัง3 สูงสุดของเครืองป้ องกันกระแสเกินตามตาราง
3) เครืองวัดฯ ขนาด 5(15), 15(45) และ 30(100) แอมแปร์ เป็ นเครืองวัดฯ ชนิดจานหมุน
4) เครืองวั ดฯ ขนาด 5(100) แอมแปร์ และ 200 ประกอบ CT แรงตํา เป็ นเครืองวั ดฯ ชนิ ด
อิเล็กทรอนิกส์
5) 1P หมายถึง เครืองวัดฯ ชนิด 1 เฟส 2 สาย
3P มหายถึง เครืองวัดฯ ชนิด 3 เฟส 4 สาย
6) ขนาดตัวนําประธานตามตารางยังไม่ได้ พิจารณาผลจากแรงดันตก
7) ขนาดของเครืองวัดหน่วยไฟฟ้ าแรงตํา ขนาดสายไฟฟ้ า เซฟตีสวิตช์ คัตเอาต์ และคาร์ทริดจ์
ฟิ วส์สําหรับตัวนําประธานให้ อ้างอิงกับมาตรฐานปั จจุบันของการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค
คู่ม44
ือ หน้ า 139
กรณีต้องติดตัFงหม้ อแปลงไฟฟ้า ขนาดเครื* องป้ องกันกระแสเกินจะกําหนดตามขนาด
หม้ อแปลงไฟฟ้า คือไม่ เกิน 1.0 เท่ าของกระแสไฟฟ้ าด้ านแรงตํ*าของหม้ อแปลง
•ถ้ าเป็ น Circuit Breaker
ปรับตั@งไม่ เกิน 400 - 600 % In
•ถ้ าเป็ น Power Fuses
พิกดั กระแสไม่ เกิน 300 % In

ปรับตั@งไม่ เกิน 100 % In


ทังหม้ อแปลง Oil Typeหรื อ Dry Typeและการคํานวณ
กระแสหม้ อแปลงต้ องใช้ แรงดันเมื2อไม่ มีโหลด
(ตาม name plate หม้ อแปลง)
คู่มือ หน้ า 140
45

ตารางที 7.1 ขนาดปรับ ตั$งสูงสุด ของเครืองป้ อ งกัน กระแสเกิน สําหรับ หม้อ แปลงไฟฟ้ า
ด้ านไฟเข้า ด้ านไฟออก
แรงดัน แรงดัน แรงดัน
ขนาดอิมพีแดนซ์ มากกว่ า 1,000 โวลต์ มากกว่ า 1,000 โวลต์ ไม่ เกิน 1,000 โวลต์
ของหม้ อแปลง
เซอร์ กิต เซอร์ กิต เซอร์ กิตเบรกเกอร์
ฟิ วส์ ฟิ วส์
เบรกเกอร์ เบรกเกอร์ หรื อฟิ วส์

ไม่ เกิน 6% 600% 300% 300% 250% 100%

มากกว่ า 6%
400% 300% 250% 225% 100%
แต่ ไม่ เกิน 10%

คู่มือ หน้ า 177


46
2. การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า(สายเมนหรือสายประธาน)
(1) สายเส้นไฟ
แผงเมนสวิตช์

มิเตอร์ มิเตอร์
รัว
รัว

สายเมนเดินในอากาศ สายเมนเดินในท่อฝังดิน
1 ระบบสายอากาศ
ต้องเป็ นตัวนําทองแดง ขนาดไม่เล็กกว่า 2 ระบบสายใต้ ดนิ
4 ตร.มม.
ต้องเป็ นตัวนําทองแดง
หมายเหตุ กฟภ. ยอมให้ ใช้ ตัวนําอะลูมิเนีย มจากเสา
ไฟฟ้าไปที2ชายคาบ้ านได้ เป็ นไปตามตารางที2 5.5
ขนาดไม่เล็กกว่า 10 ตร.มม.
คู่มือหน้ า 140
สายเมนแรงตํา' กรณี รบั ไฟแรงสูงและมีหม้อแปลงไฟฟ้ า ขนาดสายเมนเป็ นไปตามที'กาํ หนดในเรื'องหม้อแปลงไฟฟ้ า
47

(2) สายนิ วทรัล ขนาดสายนิวทรัล(สายเส้ นทีม2 กี ารต่ อลงดิน)ในระบบ


3 เฟส 4 สาย ต้ องมีขนาดทุกข้ อดังนี
สายเมน(ตัว นํา ประธาน) - มีขนาดเพียงพอทีจ2 ะรับกระแสไม่ สมดุลสู งสุ ดทีจ2 ะไหลใน
เมนสวิ ต ช์
(บริภณ
ั ฑ์ สายนิวทรัลได้ เช่ นเดียวกับสายป้อน
ประธาน) - ต้ องไม่ เล็กกว่ า สายต่ อหลักดิน(GEC) ของระบบ
แผง DB
ไฟฟ้ าตาม ตาราง 4.1
- ไม่ เล็กกว่ าร้ อยละ 12.5 ของสายเมนเส้ นเฟส
(รวมสายทุกเส้ นของเฟสเดียวกันเข้ าด้ วยกัน)
สายป้ อ น
ข้ อแนะนําในทางปฏิบัติโดยทั2วไป
แผงย่อ ย - ถ้ าโหลด 3 เฟส มากกว่า 40-50% ของพิกดั หม้ อแปลง
ให้ ใช้ สายนิวทรัลไม่ น้อยกว่า 50% (half neutral)
ของกระแสพิกดั หม้ อแปลง

หมายเหตุ กรณี เดินสายควบ จํานวนสายนิ วทรัลควรเท่ากับจํานวนสายควบของแต่ละเฟส เพือให้สามารถจัดกลุ่มได้ คู่มือหน้ า 140


ถูกต้องเหมาะสม คือในแต่ละกลุ่มต้องมีสายครบทุกเฟสรวมทัง9 สายนิ วทรัลด้วย 48
ตารางที 4.1 ขนาดตําสุ ดของสายต่ อหลักดินของระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ
ขนาดตัวนําประธานทองแดง (ตร.มม.) ขนาดตําสุ ดของสายต่ อหลักดินทองแดง (ตร.มม.)

ไม่ เกิน 35 10
เกิน 35 แต่ ไม่ เกิน 50 16
เกิน 50 แต่ ไม่ เกิน 95 25
เกิน 95 แต่ ไม่ เกิน 185 35
เกิน 185 แต่ ไม่ เกิน 300 50
เกิน 300 แต่ ไม่ เกิน 500 70
เกิน 500 95 คู่มือหน้ า 115
49

การเดินสายควบ
คือการใช้ สายไฟฟ้ าตังแต่ สองเส้ นขึนไป โดยสายทังหมดมีการต่ อที2ปลายสายทัง
สองข้ างเข้ าด้ วยกัน (ในแต่ ละกลุ่มต้ องมีสายครบทุกเฟสรวมทั^งสายนิวทรั ลด้ วย)
อนุญาตให้ วงจรไฟฟ้ าเส้ นไฟ
และนิวทรัลเดินสายควบได้ โดย
การเดินสายควบ ต้ องใช้ สาย
ขนาดไม่ เล็กกว่ า 50 ตร.มม.
ใช้ สายชนิดเดียวกัน Z=R+jXL
ขนาดเดียวกัน ต้ องครบทุกข้ อ
มีความยาวเท่ ากัน เพือให้ อมิ พีแดนซ์ วิธีกXLอยู
ท่ ี
ารวางสาย

วิธีการต่ อสายเหมือนกัน ใกล้ เคียงกันมากทีสุ ด


คู่มือหน้ า 140
ตัวอย่างที' 5.3 บ้านพักอาศัยหลังหนึ' งในพื#นที' กฟน. ประกอบโหลดตามที'แสดงข้างล่าง ต้องการกําหนดขนาด
เครื'องวัดฯ เมนสวิตช์ และขนาดสายเมน กําหนดให้สายไฟฟ้ าเป็ นชนิ ด IEC 01 เดินลอยในอากาศ ไม่ เกิน 2000VA
หาโหลดรวม T.5-1
D.F. 100%
- ไฟฟ้ าแสงสว่ าง = 1,104 + 322 = 1,426 VA
ใช้ สถานทีที
- เต้ารับ = 1,800 VA ไม่ ใช่ อยู่อาศัย
คิด D.F. 100%
- เครื'องปรับอากาศ = 1,380 VA D.F.100%

- เครื'องทํานํ# าอุน่ = 3,300 VA D.F.100%

REC. โหลดรวม =1,426+1,800+1,380+3,300 = 7,906 VA


180X10 WH 3.3kW คูมือหนา220
FLU. =1,800 VA = 3300 VA กระแสโหลด =(7,096/230 = 34.4 A
0.4X12X230
= 1,104 VA LED ตารางที' 5.4 ได้เครื'องวัดขนาด 30(100)A
AIR 6X230
0.1X14X230
=322 VA
=1,380 VA เมนสวิตช์, ขนาด CB ไม่เกิน 100 A ตารางที' 5-22(ภาคผนวก A)
จะเลือกใช้ CB =1.25 X 34.4 = 43.6 A ขนาดสายเมน เลือกจาก CB 100 A ได้ IEC 01
= 63 A ก็ได้ สายเมนจะลดลง ขนาด 25 ตร.มม. (113 A) คู่มือ หน้ า 141,142
51

ตัวอย่างที' 5.4 อาคารสํานักงานแห่งหนึ' งมีโหลดรวมของอาคารที'คดิ ดีมานด์แฟกเตอร์แล้ว ตามที'แสดงในวงจร


ต้องการกําหนดขนาดสายเมน กําหนดให้โหลดของวงจรเป็ นชนิ ดที'มีฮาร์มอนิ กส์
- เมน CB ขนาด 500 A สายเมนเดินในอากาศ
สายเส้นเฟส ได้สาย IEC 01 ขนาด 300 ตร.มม. (573 A)
- ขนาดสายนิ วทรัล ตารางที5-22
N= Phase =
1X 150 เงื'อนไขที' 1 มีขนาดกระแสเพียงพอที'จะรับกระแสไม่สมดุลสูงสุดทีจ' ะไหลในสาย
3 X 300
นิ วทรัลได้(โหลดมีฮาร์มอนิ กส์) สาย N ต้องมีขนาดกระแสไม่ตาํ ' กว่า 330A ตาราง
5-22 ได้สาย IEC01 ขนาด150 ตร.มม.(365 A)
เงื'อนไขที' 2 มีขนาดไม่เล็กกว่าขนาดสายต่อหลักดิน ตามเรื'องการต่อลงดิน ตาราง
ที' 4-1 ขนาดสายเมน 300 ตร.มม. ได้สายต่อหลักดิน ขนาด 50 ตร.มม. สาย
นิ วทรัลต้องไม่เล็กกว่า 50 ตร.มม.
N พิ จ ารณาทังg 3 เงือนไข เงื'อนไขที' 3 ขนาดพื#นที'หน้าตัดไม่เล็กกว่า 12.5% ของสายเมนเส้นเฟส คือต้องไม่
เลือ กขนาดให๋ส ุด
เล็กกว่า 12.5% ของ 300 ตร.มม. ≥ 12.5 × 300/100 ≥ 37.5 ตร.มม. (ใช้สาย
ขนาด 50 ตร.มม.)
52
สรุป ขนาดสายเมน คือ IEC 01, ขนาด
สรุ ป ขนาดสายเมนคื 3×300
อ IEC 01, ตร.มม.,
ขนาด 3×300 N ตร.มม.
ตร.มม., N 1×150 1×150 ตร.มม. คู่มือ หน้ า 143,144
ตัวอย่างที' 5.5 ต้องการกําหนดขนาดหม้อแปลงไฟฟ้ าของโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ' ง จากแบบไฟฟ้ ามี
โหลดที'ยงั ไม่คดิ ดีมานด์แฟกเตอร์ (DF.) ดังนี#
1. ไฟฟ้ าแสงสว่าง รวม 40 kVA
2. เต้ารับใช้งานทัวไป ' รวม 12 kVA
3. เครื'องปรับอากาศประเภทแยกแต่ละห้องรวม 25 kVA
4. เครื'องจักร รวม 350 kVA (กําหนดให้ใช้ดีมานด์แฟกเตอร์ 80%)
วิธีทาํ
1. ไฟฟ้ าแสงสว่าง DF. ตารางที' 5.1 อาคารประเภทอืน' (100%) = 40 kVA
2. เต้ารับใช้งานทัวไป
' DF. ตารางที' 5.2 = (10 + ( 2 × 0.5) = 11 kVA
3. เครื'องปรับอากาศ DF. ตารางที' 5.3 (75%) = 25 × 0.75 = 18.75 kVA
4. เครื'องจักร DF. 80% = 350 × 0.8 = 280 kVA
โหลดรวม = 40 + 11 + 18.75 + 280 = 349.75 kVA
เลือกใช้หม้อแปลงขนาด
(มาตรฐาน ว.ส.ท. 400
2001-31 ข้kVA
อ3.)
คู่มือ หน้ า 144
53

5.3.2 การติดตัง# เครื'องป้ องกันกระแสรัว' ลงดิน (Ground Fault Protection)


เครื องป้ องกันกระแสเกินของวงจร
สายป้ อนและบริภัณฑ์ ประธานทีมี
2000AT G
ขนาดตั@งแต่ 1,000A ขึน@ ไป ต้ อง
1200AT G ติดตั@ง Ground fault protection
ของบริภัณฑ์

ข้อยกเว้ น
1. ไม่ ใช้ กับเครื* องปลดวงจรประธาน
ของกระบวนการทางอุตสาหกรรม
แบบต่ อเนื*อง ซึ*งถ้ าหยุดกระทันหัน
จะทําให้ เกิดความเสี ย หายมาก
2. ไม่ ใช้ กับเครื* องสู บนํFาดับเพลิง
54
มาตรฐาน วสท
การติดตัง# เครื'องป้ องกันกระแสรัว' ลงดิน (Ground Fault Protection) เป็ นการติดตัง# เพือ' ลด
หรือป้ องกันความเสียหายที'เกิดกับทรัพย์สนิ เมื'อเกิดไฟรัว' ในวงจรเครื'องจะสังเซอร์
' กติ เบรกเกอร์ให้
ปลดวงจร หลักการทํางานเหมือนกับเครื'องตัดไฟรัว' แต่กระแสที'วดั ได้และปลดวงจรจะสูงกว่ามาก
วิธีการวัดกระแสรัว' แบ่งเป็ น 3 วิธี ดังนี#
1. วิธีวัดกระแสไหลกลับผ่ านระบบดิน(Source Ground Return Sensing method)
2.วิธีวัดกระแสสมดุล(Zero Sequence Sensing method)
3.วิธีวัดกระแสตกค้ างหรื อกระแสเหลือ(Residual Sensing method)
การตรวจวัดการเกิดกระแสผิดพร่ องลงดิน(Ground Fault protection)

ใช้กฎของ Kirchhoff คือ ΣI = 0 คู่มือ หน้ า 158


55

1.วิธีวัดกระแสไหลกลับผ่ านระบบดิน (Source Ground Return Sensing Method)


- สายต่ อหลักดินจะต่ อเข้าจุด Ground Bus
- มี CT ติดตังระหว่ าง Neutral Bus และ Ground Bus
- สาย Ground จะต่ อเข้ากับส่ วนโลหะที2เครื2 องห่ อหุ้มที2ไม่นํากระแส
- เมื2อเกิด Ground Fault, Ig จะไหลกลับไปยัง Neutral โดยผ่าน CT
- ถ้ า Ig > Setting แสดงว่ าเกิด Ground Fault มากพอ CB ตัดวงจรตามเวลาที2ตังไว้

หม้อแปลง

รูปที' 5.9 วิธีวดั กระแสไหลกลับผ่านระบบดิน (Source Ground Return Sensing Method) คู่มือ หน้ า 158
1.วิธีวัดกระแสไหลกลับผ่ านระบบดิน (Source Ground Return Sensing Method)
- สายต่ อหลักดินจะต่ อเข้าจุด Neutral Bus ผิด
- มี CT ติดตังระหว่ าง Neutral Bus และ Ground Bus
- สาย Ground จะต่ อเข้ากับส่ วนโลหะที2เครื2 องห่ อหุ้มที2ไม่นํากระแส
- เมื2อเกิด Ground Fault, Ig จะไหลกลับไปยัง Neutral โดยผ่าน CT
- ถ้ า Ig > Setting แสดงว่ าเกิด Ground Fault มากพอ CB ตัดวงจรตามเวลาที2ตังไว้

หม้อแปลง

สายต่ อหลักดินต่ อที2


นิวทรัลบัสทําให้ GFR
ทํางานผิดพลาด
สายต่ อหลักดิน

คู่มือ หน้ า 158

2.วิธีวดั กระแสสมดุล (Zero Sequence Sensing Method)


- มี Zero Sequence Current transformer หรื อ ZCT ล้อม Phases และสาย Neutral
- ระบบเป็ นปกติกระแสทังหมดจะหักล้างกันหมด ทางด้ าน Secondary ของ ZCT ไม่มกี ระแส
- เมื2อเกิด Ground Fault ทางด้ าน Secondary ของ ZCT จะมีกระแสไหล คือ Ig
- ถ้ า Ig > Setting แสดงว่ าเกิด Ground Fault มากพอ CB ตัดวงจรตามเวลาที2ตังไว้

หม้อแปลง

สายต่ อหลักดิน
(ต่ อกับบัสบาร์ N หรื อ
G ก็ได้ ไม่ มีผลทําให้
การวัดผิดพลาด)
รูปที' 5.10 วิธีวดั กระแสสมดุล (Zero Sequence Sensing Method) คู่มือ หน้ า 158
3.วิธีวัดกระแสตกค้ างหรื อกระแสเหลือ (Residual Sensing Method)
- กระแสจาก CT ทัง 3 Phases รวม Phasor เป็ น Iph, Ia + Ib + Ic = Iph
- นํากระแส Iph มาเปรียบเทียบกับกระแสจาก CT ของสาย Neutral In
- ถ้ า Iph = In แสดงว่ า (ผลรวมกระแสเป็ นศูนย์ ) ระบบเป็ นปกติ
- ถ้ า Iph = In แสดงว่ า เกิด Ground Fault ผลต่ างคือกระแส Ig
- ถ้ า Ig > Setting แสดงว่ าเกิด Ground Fault มากพอ CB ตัดวงจรตามเวลาที2ตังไว้

หม้อแปลง

N CT จะตรวจจับ กระแส
สายต่ อหลักดิน ไหลกลับ ของโหลด
(ต่ อกับบัสบาร์ N หรื อ แต่ จะไม่ ตรวจจับกระแส
G ก็ได้ ไม่ มีผลทําให้ รัวลงดิ น (Ground Fault)
การวัดผิดพลาด)
รูปที' 5.11 วิธีวดั กระแสตกค้างหรือกระแสเหลือ (Residual Sensing Method) คู่มือ หน้ า 159

บททีW 4 การต่อลงดิน

รู ปที 4.1 ระบบการต่ อลงดินสําหรับสายภายในอาคาร คู่มือ หน้ า 107


4.1 ชนิดของการต่ อลงดิน
การต่ อลงดินของระบบไฟฟ้ าภายในอาคารเป็ นเป็ น 2 ชนิด ดังนี
1.การต่ อลงดิน ของระบบไฟฟ้ า(system grounding) คื อการต่ อระบบหรื อ
วงจรไฟฟ้ าลงดิน โดยใช้ สายต่ อหลักดิน(ตัวนําไฟฟ้ า)ต่ อเข้ ากับหลักดินหรื อสิ2 งที2
ทําหน้ าที2แทนหลักดิน

2.การต่ อลงดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้ าหรื ออุปกรณ์ ไฟฟ้ า(equipment grounding)


คือการต่ อลงดินของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้ าที2ต้องการต่ อลงดิน ทําได้ โดยการเดินสายดิน
จากบริ ภั ณ ฑ์ ฟ้ าไปต่ อลงดิน ที2 เ มนสวิ ต ช์ และใช้ หลั กดิน เดีย วกั นกั บของระบบ
ไฟฟ้ า
คู่มือ หน้ า 107
61

4.2 ส่ วนประกอบของระบบการต่ อลงดิน


ระบบการต่อ ลงดิ น มีส ่ว นประกอบทีสํา คัญ ดังนีg

6.สายต่อ ฝากของ
บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า

3. สายเส้น ทีมีก ารต่อ ลงดิ น (สาย N)

5. สายต่อ ฝากประธาน
2. สายต่อ หล กั ดิ น 4. สายดิ น ของ
1. หล กั ดิ น บริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า

คู่มือ หน้ า 108


รู ปที2 4.2 ส่ วนประกอบของระบบการต่ อลงดิน 62
1. การต่ อลงดินของระบบไฟฟ้ า (SYSTEM GROUNDING)
2.การต่ อลงดินของบริ ภัณฑ์ ไฟฟ้า(EQIUPMENT GROUNDING)
หม้อแปลงไฟฟ้ า

เมนสวิตช์
บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
หม้อแปลง สายนิ วทรัล
ต่อลงดิน N
นิ วทรัลบาร์
G
สายต่อฝากประธาน สายดิน
สายต่อหลักดิน กราวด์บาร์ บริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
(1.การต่อ ลงดิ น ของระบบไฟฟ้ า) (2.การต่อ ลงดิ น ของบริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า)
คู่มือ หน้ า 108
63

4.3 การต่อ ลงดิ น ของระบบไฟฟ้ า และบริภณ


ั ฑ์ไฟฟ้ า ต้องต่อฝาก N กับ G Bus
4.3.1 การต่ อลงดินของระบบไฟฟ้า ที'เมนสวิตช์ A
1. วิธีการต่อลงดิน 230V
400V NG 400V
230V 230V
C 400V B

ถ้า สายดินหลุด
A
400V 250V 400V
N G 310V
130V
C 400V B
A
400V 250V 400V
G N
300V
140V
C B
รู ปที2 4.3 วงจรการต่อ ลงดิ น ของระบบไฟฟ้ า 400V
คู่มือ หน้ า 109
64
2. ระบบไฟฟ้ าที2ห้ามต่ อลงดิน
 1. วงจรของปัZ นจันW ทีWใช้งานอยูเ่ หนือวัสดุเส้นใยทีWอาจลุกไหม้ได้ ซึWงอยูใ่ นบริ เวณอันตราย
 เนืW องจากอาจเกิ ดความไม่ปลอดภัยจากอุบต ั ิเหตุได้

วงจรปัน# จัน'

เส้นใยที'อาจลุกไหม้ได้

 2. วงจรในสถานดูแลสุขภาพ (health care facility) เช่น วงจรในห้องผ่าตัดสําหรับ


โรงพยาบาล หรื อคลีนิค ใช้ Isolation Transformer
 เนืW องจากไฟฟ้าดับอาจมีผลต่อชีวติ ได้

คู่มอื หน้า 109 65

4.3.2 การต่ อลงดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้ า


1. วิธีการต่อลงดิน การต่อลงดินทําได้โดยการเดินสายดิน (สายเขียว) ไปต่อลงดินที'บริภณั ฑ์ประธาน
โดยใช้หลักดินเดียวกันกับของระบบไฟฟ้ า (รูปที' 4.4)

คู่มอื หน้า 110


รูปที' 4.4 วงจรการต่อลงดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
2. บริภัณฑ์ ไฟฟ้ าที2ต้องต่ อลงดิน?
ั ฑ์ไฟฟ้ าที'เมื'อเกิดไฟรัว' แล้วจะเป็ นอันตรายต้องต่อลงดิน พอสรุปเป็ นหลักการได้ดงั นี#
บริภณ
(รายละเอียดเพิมเติม ดูได้จากมาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย)
(1) เครืองห่อหุ้มและ/หรือช่องเดินสายโลหะของสายตัวนํา
(2) บริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ าชนิดยึดติดกับที หรือชนิดทีมีการเดินสายถาวร ส่วนทีเป็ นโลหะที
เปิ ดโล่งและไม่ได้เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้ า
(3) บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าชนิ ดยึดติดกับที'ทกุ ขนาดแรงดัน ส่วนที'เป็ นโลหะเปิ ดโล่งและไม่เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้ า
(4) บริภณั ฑ์ซ'ึงไม่ได้รบั กระแสไฟฟ้ าโดยตรง
(5) บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าที'มีสายพร้อมเต้าเสียบ ส่วนที'เป็ นโลหะเปิ ดโล่งของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
(6)เครื'องใช้ไฟฟ้ าที'ใช้ในสถานที'อยูอ่ าศัยระบุวา่ ต้องต่อลงดิน
67
(7) เครืองใช้ไ ฟฟ้ าทีไม่ไ ด้ใ ช้ใ นสถานทีอยูอ่ าศัยระบุวา่ ต้องต่อลงดิน คู่มอื หน้า 110-112

บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าที'บคุ คลสัมผัสถึง ต้องต่อลงดิน

บุ คคลอาจสัมผัสได้ ไม่เกิน 1.5 ม.


ไม่เกิน 2.4 ม.

สําหรับดวงโคมไฟฟ้ าถึงแม้ตดิ ตัง9 อยู่ทสูี งก็ตามแนะนําให้ต่อลงดินเพือความปลอดภัยในการบํารุ งรักษา


68
คู่มอื หน้า 111
อยู่ในสถานทีเ2 ปี ยกหรื อชื น และไม่ ได้ มี
การแยกอยู่ต่างหาก (บุคคลอาจสัมผัสได้
โดยบังเอิญ)ต้ องต่ อลงดิน

ต้องต่อลงดิน
คู่มอื หน้า 111

ต้องต่อลงดิน
สัมผัสทางไฟฟ้ ากับโลหะ หรือรับไฟจากสายไฟฟ้ าทีเดินร้อยท่อโลหะ
โครงเหล็กของอาคาร โครงอาคารทีเป็ นฉนวน
ท่อโลหะ

คู่มอื หน้า 111


3. อุปกรณ์ (บริภณ
ั ฑ์ )ไฟฟ้าทีต2 ้ องต่ อลงดินและทีย2 กเว้ นไม่ ต้องต่ อลงดิน
- บริภัณฑ์ ไฟฟ้ าที2มสี ายพร้ อมเต้ าเสี ยบ
ทีใ2 ช้ ในบริเวณอันตราย
ใช้ แรงดันเกิน 150 โวลต์ ยกเว้ น มอเตอร์ ทม
ี2 กี ารกัน หรื อ
บริภัณฑ์ ทรี2 ะบุว่าเป็ นฉนวน 2 ชัน (เครื2 องใช้ ไฟฟ้ าประเภท II)
บริภัณฑ์ ไฟฟ้ าในสถานทีอ2 ยู่อาศัย ยกเว้ น บริภัณฑ์ ทรี2 ะบุว่าเป็ นฉนวน 2 ชัน
เครื2 องใช้ ไฟฟ้ าทีไ2 ม่ ได้ ใช้ ในสถานทีอ2 ยู่อาศัย ยกเว้ น บริภัณฑ์ ทรี2 ะบุว่าเป็ นฉนวน 2 ชัน
หรื อ ใช้ แรงดันไม่ เกิน 50 โวลต์ ซึ2งรับไฟจากหม้ อแปลงนิรภัยชนิดแยกขดลวด
(เครื2 องใช้ ไฟฟ้ าประเภท III)
คู่มือ หน้า 112 71

เครื# องใช้ ไ ฟฟ้าที#ต้องมีสายดิน


เครื. องใช้ ไฟฟ้ าที.มีโครงเป็ นโลหะ หรื อ เครื. องใช้ ไฟฟ้ าที.เกีย. วข้ องกับนํ^า หรื อ ความ
ร้ อน เช่ น เครื. องสู บนํ^า ตู้เย็น เตาไฟฟ้ า เครื. องซักผ้ า เครื. องทํานํ^าอุ่น
เครื. องปรั บอากาศ เป็ นต้ น (เครื2 องใช้ ไฟฟ้ าประเภท I)
เต้ าเสียบที.ใช้ งาน จําเป็ นต้ องมีขั^วสายดิน

คู่มือ หน้า 112


72
ชนิดเครื# องใช้ ไ ฟฟ้าที#ไ ม่ ต้องมีสายดิน (เครื2 องใช้ ไฟฟ้ าประเภท II)

เครื# องใช้ ไ ฟฟ้าที#มกี ารป้ องกันไฟดูด โดยมีโ ครงหุ้มด้ วยฉนวน 2 ชั-น เช่ น พัดลม
โทรทัศน์ หรื อ วิทยุ เป็ นต้ น ดังนั-นไม่ จาํ เป็ นต้ องมีขั-วสายดิน
เครืW องหมายฉนวนสองชัZนทีWไม่ตอ้ งมีสายดิน

คู่มือ หน้า 112


73

4.4 ชนิ ดและขนาดสายดิน


4.4.1 สายต่อหลักดิน
1. ชนิ ด ต้องเป็ นตัวนํ าทองแดง ชนิ ดตัวนํ าเดี'ยวหรือตีเกลียวหุม้ ฉนวน และต้องเป็ นตัวนํ าเส้นเดียว
ยาวตลอดโดยไม่มีการต่อระหว่างทาง แต่ถา้ เป็ นจุดทดสอบตามที'กาํ หนดในมาตรฐานการติดตัง# ทาง
ไฟฟ้ าฯ สามารถต่อได้ และถ้าเป็ นบัสบาร์อนุ ญาตให้ต่อได้
2. ขนาด กําหนดจากขนาดสายประธานเส้นไฟ (สายเมนเข้าอาคาร) ตามตารางที' 4.1 ขนาดสาย
ใหญ่สดุ คือ 95 ตร.มม.

74
คู่มอื หน้า 113,115
ขนาดสายต่ อหลักดิน ต้องเป็ นตัวนํ าทองแดง ชนิ ดตัวนํ าเดี'ยวหรือตีเกลียวหุม้ ฉนวนกําหนดจากขนาด
สายเมนเข้าอาคาร ตามตารางที' 4.1
ตารางทีW 4.1 บางครังสายต่
g อ หล กั
ขนาดสายประธานเข้าอาคาร ขนาดสายต่อ หล กั ดิ น ดิ น อาจมีแ รงดัน
(ตัว นําทองแดง) ตร.มม. (ตัว นําทองแดง) ตร.มม.
≤ 35 10 บริภัณฑ์ ประธาน
เกิ น 35 แต่ไม่เกิ น 50 16 (เมนสวิตช์ )
เกิ น 50 แต่ไม่เกิ น 95 25
เกิ น 95 แต่ไม่เกิ น 185 35
เกิ น 185 แต่ไม่เกิ น 300 50
เกิ น 300 แต่ไม่เกิ น 500 70
เกิ น 500 95
N G

สายต่ อหลักดินสํ าหรับระบบไฟฟ้ากระแสสลับ จะต้ องไม่


เล็กกว่ าตารางที2 4-1 ขนาดใหญ่ สุดคือ 95 ตร.มม. คู่มอื หน้า 113

4.4.2 สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า


1. ชนิ ด ต้องเป็ นตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวนหรือเปลือย หรือเป็ นเปลือกโลหะของสายเคเบิลชนิ ด AC,
MI และ MC หรือโครงของบัสเวย์ท'รี ะบุให้ใช้แทนสายดินได้
หากเป็ นตัวนํ าหุม้ ฉนวน ฉนวนต้องเป็ นสีเขียวหรือเขียวแถบเหลือง แต่ถา้ มีขนาดใหญ่กว่า 16
ตร.มม. ให้ทาํ เครื'องหมายให้เห็นได้ชดั เจนแทนได้ ทุกบริเวณที'มีจุดต่อสายและทุกปลายสาย ดังนี#
(1) ทําให้ฉนวนหรือเปลือกส่วนทีม' องเห็นเป็ นสีเขียว หรือเขียวแถบเหลือง
(3) ระบุดว้ ยตัวอักษร PE ,G หรือ E

คู่มือ หน้า 113


76
4.4.2 สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า (ต่อ)
2. ขนาด กําหนดจากตารางที' 4.2 แต่ไม่จาํ เป็ นต้องใหญ่กว่าสายไฟฟ้ าของวงจรนั#นเช่น สายวงจร
ขนาด 1.5 ตร.มม. สายดินก็ไม่ตอ้ งใหญ่กว่า 1.5 ตร.มม. ถึงแม้ว่าขนาดเล็กสุดในตารางที' 4.2
จะเป็ นขนาด 2.5 ตร.มม. ก็ตาม
(1) ขนาดสายดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้ า กําหนดจากขนาดเครื2 องป้ องกันกระแสเกิน
ของวงจรนัน ตาม ตารางที2 4.2

(2) ขนาดสายดินของมอเตอร์ กําหนดจากขนาดเครื2 องป้ องกันโหลดเกิน


(overload relay) และดูจากขนาดเครื2 องป้ องกันกระแสเกินตามตาราง
ที2 4.2 (โดยทั2วไปจะตังไว้ ที2 100 % ของกระแสโหลดเต็มที2ของมอเตอร์ )
คู่มือ หน้า 111
77

คู่มอื หน้า 115


การต่ อฝาก (Bonding) ข้อกําหนดพืนฐาน
• คือการใช้ ตวั นําต่ อถึงกันทางไฟฟ้ า ต่ อเข้ากับ N BAR
ระหว่ างโลหะหรื อตัวนําทีอ2 าจมีไฟฟ้ า
• การต่ อฝากทําเพื2อให้ มนั2 ใจว่ าระบบสาย ด้านไฟออก
ดินมีความต่ อเนื2องทางไฟฟ้ า เมนสวิตช์
• สายต่ อฝากต้ องทนกระแสลัดวงจรได้ อุปกรณ์ไฟฟ้ า

สายต้อ งไม่ข าด นิ วทรัลบาร์


เพราะกระแสล ดั วงจรจะสูง สายต่อฝากประธาน สายดินของ
(short time rating) สายต่อหลักดิน อุปกรณ์ไฟฟ้ า
กราวด์บาร์
ด้านไฟเข้า
คู่มือ หน้า112
สายต่ อฝากประธาน(ด้ านไฟเข้ า) และบริภัณฑ์ ไฟฟ้ า(ด้ านไฟออก) 79

4.4.3 สายต่อฝากประธาน
1. ชนิ ด เป็ นสายทองแดงหรือบัสบาร์
2. ขนาด กรณี เป็ นสายไฟฟ้ าจะกําหนดจากขนาดสายเมนที'เดินเข้าแผงเมน สวิตช์
ตามตารางที' 4.1 เช่นเดียวกับขนาดสายต่อหลักดิน แต่มีขอ้ เพิ'มเติมคือ ขนาดสายต่อฝากที'
กําหนดต้องมีขนาดพื#นทีห' น้าตัดไม่เล็กกว่า 12.5% ของขนาดสายเมนด้วย สายเมนที'เดินเฟสละ
หลายเส้นให้รวมพื#นที'หน้าตัดของสายทุกเส้นในเฟสเดียวกันเข้าด้วยกัน การต่อฝากอาจใช้
อุปกรณ์การเดินสายหรือสายไฟฟ้ าก็ได้

คู่มอื หน้า 114


4.4.3 สายต่อฝากประธาน(ต่อ)
สายต่อฝากด้านไฟเข้ากรณี สายประธานเดินในช่องเดินสายเดียวกันหรือเป็ นเคเบิลเดียวกัน ต้องมีขนาด
ไม่เล็กกว่าขนาดของสายต่อหลักดินที'ได้กาํ หนดไว้ในตารางที' 4-1 ถ้า สายเส้น ไฟของตัว นํา ประธานมี
ขนาดใหญ่ก ว่า ที กํา หนดไว้ใ นตารางที 4 -1 ให้ใ ช้ส ายต่อ ฝากขนาดไม่เล็ก กว่า ร้อ ยละ 12.5
ของตัว นํา ประธานขนาดใหญ่ที สุด กรณี เป็ นการเดิ น สายควบให้คิ ด พืgน ที หน้ า ตัด รวมของ
ทุก สายเส้น ไฟในเฟสเดีย วกัน

สายต่อฝากด้านไฟเข้ากรณี ตวั นํ าประธานเดินควบในช่ องเดินสายมากกว่า 1 ช่องเดินสายหรือเป็ น


สายเคเบิลมากกว่า 1 เส้น ขนาดสายต่อฝากของแต่ละช่องเดินสายหรือสายเคเบิล ต้องมีขนาดไม่เล็กกว่าที'
กําหนดในตารางที' 4 -1 แต่ต้องไม่เล็กกว่าร้อยละ 12.5 โดยคํานวณจากผลรวมของพืน/ ทีหน้าตัด
ของสายเส้นไฟทุกเส้นในเฟสเดียวกันของแต่ละช่องเดินสายหรือสายเคเบิล
คู่มอื หน้า 114

ขนาดสายต่ อฝากที2เมนสวิตช์
ตารางที2 4.1
ขนาดสายประธานเข้าอาคาร ขนาดสายต่อ หล กั ดิ น
(ตัว นําทองแดง) ตร.มม. (ตัว นําทองแดง) ตร.มม.
บริภณ
ั ฑ์ประธาน
ไม่เกิ น 35 10
(เมนสวิ ต ช์)
เกิ น 35 แต่ไม่เกิ น 50 16
เกิ น 50 แต่ไม่เกิ น 95 25
เกิ น 95 แต่ไม่เกิ น 185 35
N G
เกิ น 185 แต่ไม่เกิ น 300 50
เกิ น 300 แต่ไม่เกิ น 500 70 สายต่
lสา อ ฝาก
เกิ น 500 95

ขนาดสายต่อ ฝากประธานและสายต่อ ฝาก(ด้านไฟเข้า )


จะต้อ งไม่เล็ก กว่าตารางที 4 .1 และถ้าเกิ น 500 ตร.มม. จะ
ไม่เล็ก กว่า 12.5% ของตัว นําประธานแรงตํา(สายเมน) คู่มือ หน้า 114
82
4.4.4 สายต่อฝากของบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้ า(ต่อฝากด้านไฟออก)
1. ชนิ ด เป็ นสายทองแดงหรือบัสบาร์
2. ขนาด กําหนดจากขนาดเครื'องป้ องกันกระแสเกินของวงจรนั#น ๆ ตามตารางที' 4.2
การต่อฝากอาจใช้อปุ กรณ์การเดินสายก็ได้

คู่มอื หน้า 116

สรุ ป การกําหนดชนิด และขนาดของสายดิน และสายต่อ ฝาก


แผงเมน N L1 L2 L3
สายกําหนดจากขนาดเครื'องป้ องกัน
กระแสเกิน ตามตารางที' 4.2

แผงย่ อย
G N
load
G
ต่ อฝาก N กับ G
สายต่ อหลักดิน G N

ต่ อฝากตู้โลหะกับ G สายดินของบริภัณฑ์ ไฟฟ้า


กําหนดจากขนาดสาย ต้องเป็ นตัวนํ าทองแดง ชนิ ดตัวนํ า
เดี'ยวหรือตีเกลียวหุม้ ฉนวนกําหนด ต้องเป็ นตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวนหรือ
เมนเข้าอาคาร ตาม เปลือยสายกําหนดจากขนาดเครื'องป้ องกัน
ตารางที' 4.1 จากขนาดสายเมนเข้าอาคาร ตาม
กระแสเกิน ตามตารางที' 4.2
และไม่เล็กกว่า 12.5% ตารางที' 4.1 (สูงสุด 95 ตร.มม.) คู่มอื หน้า 113-116
ตัวอย่ างที2 4-1 จงกําหนดขนาดสายดินและสายต่ อฝาก หมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5
N A B C
IEC01 1X400 ตร.มม.
แผงเมน
400A
สายต่อฝากประธาน
ระหว่าง N กับ G
100A
2 แผงย่ อย
100A
G N load
3 32A
1 สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
สายต่อ หลัก ดิน จากแผงเมนถึงแผงย่อย
4
สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
5 จากแผงย่อยถึงโหลด
สายต่อฝากของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า (ด้านไฟออก)
ระหว่าง G กับตัวแผงย่อย
คู่มอื หน้า 116

2. สายต่ อฝาก ที2แผงเมนสวิตช์ เข้ ากับบัสบาร์ กราวด์ และสายต่ อฝาก


ตัวอย่ างที2 4-1 จงกําหนดขนาดสายดินและสายต่ อฝาก 5.กํหมายเลข
สายต่ อฝาก ระหว่างแผงย่อยกับ G
ระหว่ างบัสบาร์ กราวด์ กบั บัสบาร์ นิวทรัล กําหนดจากตารางที2 4.1 ตาม1, 2, 3, 4 และ 5
าหนดจากตารางที2 4.2
ขนาดสายเมนเข้ าอาคาร และต้ องมีขนาดพืนที2หน้ าตัดไม่ เล็กกว่ า 12.5%
ตามขนาด CB ของแผงย่อย ขนาด 100A
ของขนาดสายเมนด้ วย ได้ สNายต่AอฝากขนาดB C 70 ตร.มม. ได้ สายดินขนาด 10 ตร.มม.
IEC01 1X400 ตร.มม./เฟส
แผงเมน 4. สายดินของโหลด
400A กําหนดจากตารางที2 4.2
ตามขนาด CB ของแผง
สายต่อฝากประธาน ย่อย ขนาด 32A ได้ สาย
ระหว่าง N กับ G 100A ดินขนาด 4 ตร.มม.
สายต่อฝาก 2 แผงย่ อย
ด้านไฟเข้า 100A
5
สายต่อ G N load
ฝากประธาน 32A
1 สายต่อ หลัก ดิน 3 4
สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
สายดินของบริภณั ฑ์ไฟฟ้ า
จากแผงเมนถึงแผงย่อย
1. สายต่ อหลักดิน กําหนดหนดจาก จากแผงย่อยถึงโหลด
ตารางที2 4.1 ตามขนาดสายเมนเข้า
อาคาร ขนาด 400 ตร.มม. ได้ สายต่ อ 3. สายดินของแผงย่อย กําหนดจากตารางที2 4.2 ตามขนาด CB
หลักดินขนาด 70 ตร.มม. ของแผงย่อย ขนาด 100A ได้ สายดินขนาด 10 ตร.มม. คู่มอื หน้า 117
ตัวอย่ าง 4-2 จงกําหนดขนาดสายดินและสายต่ อฝาก หมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5
N L1 L2 L3
NYY 2X400 ตร.มม./เฟส
แผงเมน
630 A

สายต่อฝาก 400 A
ด้านไฟเข้า 4 แผงย่ อย
5 60 A
load

สายต่อ 1 3
ฝากประธาน 2

คู่มอื หน้า

4. สายต่ อฝาก ที2แผงเมนสวิตช์ เข้ ากับบัสบาร์ กราวด์ และสายต่ อฝากระหว่ าง


5. สายต่ อฝาก ระหว่างแผงย่อยกับราง
ตัวอย่ าง 4-2 จงกําหนดขนาดสายดินและสายต่ อฝาก หมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5
บัสบาร์ กราวด์ กบั บัสบาร์ นิวทรัล กําหนดจากตารางที2 4.1 ตามขนาดสายเมน
เดินสาย กําหนดจากตารางที2 4.2
เข้ าอาคาร และต้ องมีขนาดพืนที2หน้ าตัดไม่ เล็กกว่ า 12.5% ของขนาดสายเมน
ตามขนาด CB ของแผงย่อย ขนาด 400A
ด้ วย ได้ สายต่ อฝากขนาดN=12.5%
12.5%
L1 L2 x 800L3= 100 เลือก 120 ตร.มม.
ได้ สายดินขนาด 25 ตร.มม.
NYY 2X400 ตร.มม./เฟส
แผงเมน 3. สายดินของโหลด
630 A กําหนดจากตารางที2 4.2
ตามขนาด CB ของแผง
ย่อย ขนาด 60A ได้ สาย
สายต่อฝาก 400 A ดินขนาด 6 ตร.มม.
ด้านไฟเข้า 4 แผงย่ อย
5 60 A
load

สายต่อ 1 3
ฝากประธาน 2
1. สายต่ อหลักดิน กําหนดหนดจากตารางที2
4.1 ตามขนาดสายเมนเข้าอาคาร ขนาด 800 2. สายดินของแผงย่อย กําหนดจากตารางที2 4.2 ตามขนาด
ตร.มม. ได้ สายต่ อหลักดินขนาด 95 ตร.มม. CB ของแผงย่อย ขนาด 400A ได้ สายดินขนาด 25 ตร.มม. คู่มอื หน้า
ขนาดสายดินของบริ ภณ
ั ฑ์ไฟฟ้า
(สายดินของมอเตอร์ )
กําหนดจากขนาดปรับตัง
ของเครือ" งป้ องกันโหลดเกิ น
(overload relay)

225A 100A
G
M
100A
10 sq.mm. กํา หนดจาก 100A (ตารางที 4-2)
คู่มอื หน้า 113,167
89

ขนาดสายดิน เมืWอเดินสายควบ
 การเดินสายควบ แยกไปหลายท่อ ขนาดสายดินในแต่ละท่อกําหนดจากพิกดั
เครืW องป้องกันกระแสเกิน ตามตารางทีW 4-2
(ห้ามลดขนาด)
Fault, Phase to grounding conductor
อุปกรณ์ ไฟฟ้ า

L
CB
N

ท่ออโลหะ

90
การเดิ น สายควบ
สายแยกแต่ล ะท่อ อาจรับ กระแสได้ 550A

1600AT

ตาราง 4-2
(แอมแปร์) ตร.มม.
500 35 1-120
800 50
1000 70
1250 95 สายดิ น ต้อ งคิ ด จาก 1600 ไม่ใ ช่ 550A
2000 120
1-120

การใช้สายดินร่ วมกัน
สายดินและสายทุกวงจรทีWใช้สายดินร่ วมกัน
ต้องเดินอยูใ่ นช่องเดินสายเดียวกัน

N G

สายดินกําหนดจาก CB
ตัวใหญ่สุดทีWป้องกันใน
ท่อสายนัZน
92
4.5 การต่ อลงดินของระบบที2มเี ครื2 องกําเนิดไฟฟ้ าด้ วย
4.5.1 การต่ อลงดิน เมื2อไม่ เป็ นระบบจ่ ายไฟแยกต่ างหาก ( Not a separately derived system )

ทีเครืองกําเนิ ดไฟฟ้ า
ห้ามต่อ ระบบไฟฟ้ าลง
ระบบที2มีเครื2 องกําเนิดไฟฟ้าพร้ อมสวิตช์ สับเปลี2ย น ดิ น (ไม่อ นุญาตให้ต ่อ
แต่ ไม่ มีการตัดสาย Neutral คือใช้ สาย Neutral ร่ วมกัน หล กั ดิ น แยกต่างหาก)
ระบบนีไม่ ใช่ ระบบไฟฟ้าที2มีตัวจ่ ายแยกต่ างหาก
Neutral เครื2 องกําเนิดไฟฟ้า ต้ องไม่ ต่อลงดิน

รู ปที2 4.5 การต่อ ลงดิน ของระบบไฟฟ้ าเมือใช้ Transfer switch ชนิด 3 ขัว$ คู่มอื หน้า 118

4.5.2 การต่ อลงดินสํ าหรับระบบจ่ ายไฟแยกต่ างหาก ( Separately Derived System )

สายต่ อฝาก
ตาราง 4-1
และ 12.5%

ถ้ า ATS เป็ นแบบ 4 poles สายต่ อหลักดิน


ถือว่ าเป็ นระบบไฟฟ้าที2มี ตาราง 4-1
ตัวจ่ ายแยกต่ างหาก
Neutral เครื2 องกําเนิดไฟฟ้า เนื2องจากเป็ นระบบจ่ ายไฟแยกต่ างหาก
ต้ องต่ อลงดิน จึงอนุญาตให้ ต่อหลักดินแยกต่ างหากได้
(ต่ อระบบไฟฟ้าลงดิน)

รู ปที2 4.6 การต่อ ลงดิน ของระบบไฟฟ้ าเมือใช้ Transfer switch ชนิด 4 ขัว$ คู่มอื หน้า 119
4.6 หลักดินและความต้านทานการต่อลงดิน
4.6.1 ชนิ ดของหลักดิน ตามมาตรฐาน วสท.

 หลัก ดิ น แนวดิ ง ถ้า เป็ น หลัก ดิ น หุ้ม และชุบ ทองแดง มอก. 3024-2563 ยาว 2.4 ม.
 หลัก ดิ น แบบแผ่น พืนg ที 1800 ตร.มม. หนา 6 มม. (1.5 มม.) ฝังลึก 1.6 ม.
เหล็ก อาบ
 หลัก ดิ น แบบวงแหวน โลหะชนิ ด โลหะชนิ ด อืนอาบ
โลหะชนิ ด กัน ผุก ร่อ น
กัน ผุก ร่อ น
(ห้า มอลูมิเนี ย ม)
 โครงสร้า งโลหะในพืนg ดิ น ความยาว 3.0 ม. ขึนg ไป

 หลัก ดิ น ทีหุ้ม ด้ว ยคอนกรีต ความยาวอย่า งน้ อ ย 6.0 ม.

คู่มอื หน้า119,120
95

4.6.2 ความต้านทานการต่อลงดิน (Ground Resistance)


ความต้ านทานการต่ อลงดินต้ องให้ ตํ2าสุ ดเท่ าที2จะทําได้ และต้ องไม่ เกิน 5 โอห์ ม
กรณีที2เกิน 5 โอห์ มและเป็ นพืนที2ที2ย ากต่ อการปฏิบัติและได้ รับความเห็นชอบจาก
การไฟฟ้ าฯ ยอมให้ ค่าความต้ านทานสู งขึนได้ อีกแต่ ไม่ เกิน 25 โอห์ ม แต่ ถ้าวัดแล้ ว
ยังเกินอีกให้ ปักหลักดินเพิม2 อีก 1 แท่ ง และต่ อหลักดินทังหมดเข้ าด้ วยกัน
ความต้ านทานการต่ อลงดินสามารถหาได้ ด้วยการวัดด้ วยเครื2 องมือวัด เครื2 องมือ
วัดแต่ ละผู้ผลิตอาจมีวิธีการวัดแตกต่ างกัน ในการวัดค่ าจะต้ องศึกษารายละเอีย ดและ
วัดให้ ถูกต้ องด้ วย

คู่มอื หน้า120
96
4.6.3 การต่อสายต่อหลักดินเข้ากับแท่งหลักดิน
1. การต่อด้วย clamp

รูป ที 4.7 ตัว อย่างclamp สําหรับใช้ต ่อ สายต่อ หล กั ดิ น กับหล กั ดิ น


2. การต่อด้วยวิธีเชื'อมด้วยความร้อน (exothermic welding)

การประกอบโมลเพือทํา การเชือม ตัว อย่า งทีเชือมเสร็จ แล้ว


คู่มอื หน้า120,121
รูป ที 4.8 ตัว อย่างการต่อ สายต่อ หล กั ดิ น เข้ากับหล กั ดิ น โดยเชือมด้ว ยความร้อ น
97

บทที2 8 แผงสวิตช์ และการติดตัง


แผงสวิต ช์ (Switchboard) หมายถึง แผงเดี2ย วขนาดใหญ่ หรื อหลายแผงประกอบ
เข้ าด้ วยกันเพื2อใช้ ติดตังสวิตช์ อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกิน อุปกรณ์ ป้องกันอื2น ๆ บัส และ
เครื2 องวัดต่ าง ๆ ทังด้ านหน้ า ด้ านหลัง หรื อทังสองด้ าน โดยทั2วไปแผงสวิตช์ เข้ าถึงได้ ทัง
ทางด้ านหน้ าและด้ านหลังและไม่ มจี ุดประสงค์ ให้ ติดตังในตู้

แผงสวิตช์ ไฟฟ้ าแรงตํา2 (Low – Voltage Switch Board)


มาตรฐาน : มอก.1436 - 2564 : TTA , IEC 61439-1,2,3 : TEST คู่มือ หน้ า 181
98
แผงย่ อย (Panelboard) หมายถึง แผงเดี2ย วหรื อกลุ่มของแผงเดี2ย วที2ออกแบบ
ให้ ประกอบรวมกันเป็ นแผงเดีย วกัน ประกอบด้ วย บัส อุปกรณ์ ป้องกันกระแสเกิน
อัต โนมัติและมีหรื อไม่ มีสวิต ช์ สําหรั บควบคุมแสงสว่ าง ความร้ อน หรื อวงจรไฟฟ้ า
กําลั ง แผงย่ อยเป็ นแผงที2 ออกแบบให้ ติ ด ตังไว้ ในตู้ หรื อกล่ องซึ2 ง สามารถเข้ าถึ ง ได้
ทางด้ านหน้ าเท่ านัน

คู่ม99
ื อ หน้ า 181

8.1 รู ปแบบของแผงสวิตช์
Form ตู้ คือรูปแบบการแบ่ งกันแยกส่ วนทีม2 ีไฟฟ้ า(Live Part) หรื อส่ วนทีเ2 ป็ นอันตรายโดยการใช้
partitions กันแยกระหว่ างอุปกรณ์ หลักออกอย่ างชัดเจน
IEC 61439 แบ่ งรู ปแบบ (form) ของแผงสวิตช์ ตามการกันแยกเป็ น 7 form

 Form 1  Form 2a  Form 3a  Form 4a

- บัสบาร์
- อุปกรณ์ หลัก
- ขัวต่ อสาย
- ตัวตู้
 Form 2b  Form 3b  Form 4b
คู่มือ หน้ า 181,182
100
ตารางที2 8.1 สรุป formตู้และการกันตาม IEC 61439
การกัน(ระหว่ าง)
ฟอร์ มตู้ อุปกรณ์ อุปกรณ์ อุปกรณ์ ขัวต่ อสาย ขัวต่ อสาย
(Form) กับ กับ กับ กับ กับ
อุปกรณ์ บัสบาร์ ขัวต่ อสาย ขัวต่ อสาย บัสบาร์
Form 1
Form 2A √
Form 2B √ √
Form 3A √ √ √

Form 3B √ √ √ √

Form 4A √ √ √ √

Form 4B √ √ √ √ √
101
√ = มีการกันแยก คู่มือ หน้ า 182,183

8.3 โครงสร้างของแผงสวิตช์
โครงสร้าง
(แผงสวิตช์และแผงย่อย)

1.ทําด้วยวัสดุไม่ดูดซับความชื#นและไม่ตดิ ไฟ
2.วงจรเครื'องวัด หลอดไฟสัญญาณ ต้องใช้ เครื'องป้ องกันฯ ไม่เกิน
15A. ยกเว้นการทํางานของเครื'องป้ องกันทําให้เกิดความเสียหายต่อ
การทํางาน
3.ใบมีดที'เปิ ดโล่ง เมื'อปลดต้องไม่มีไฟ ยกเว้น มีการกัน# ที'เหมาะสม
คู่มือ หน้ า 185
102
4.การทําเครื2 องหมายบัสบาร์
L3
L1 L2
- แผงสวิตช์ และแผงย่ อยแรงตํา2
• เป็ นตัวอักษร
N
- L1 สําหรับ เฟส 1 หรื อเฟส A
- L2 สําหรับ เฟส 2 หรื อเฟส B E
- L3 สําหรับ เฟส 3 หรื อเฟส C
- N สําหรับ นิวทรัล
- PE หรื อ E หรื อ G สําหรับ บัสดิน/ขัZวสายดิน
• เป็ นสี
- สี นZ าํ ตาล สําหรับ เฟส 1 หรื อเฟส A
- สี ดาํ สําหรับเฟส 2 หรื อเฟส B
- สี เทา สํ าหรับเฟส 3 หรื อเฟส C
- สี ฟ้า สําหรับนิวทรัล การจัดเฟสเมือมองจากด้ านหน้ าตู้ A,B,C
- เขียวแถบเหลือง สําหรับ บัสดิน/ขัZวสายดิน - ด้ านหน้ า ด้ านหลัง
- ด้ านบน ด้ านล่าง คู่มือ หน้ า 185
- ด้ านซ้ ายมือ ด้ านขวามือ 103

การทําเครื2 องหมายบัสบาร์
แผงเมนสวิตช์ สี นําตาล
เฟส A
สี ดํา
เฟส B แผงย่ อยแรงตํา2 สี เทา
เฟส C
การจัดเฟสเมือมองจากด้ านหน้ าตู้ A,B,C
- ด้ านหน้ า ด้ านหลัง
- ด้ านบน ด้ านล่าง
- ด้ านซ้ ายมือ ด้ านขวามือ

สี ฟ้า สี นําตาล สี ดํา สี เทา สี ฟ้า สี เขียว คู่มือ หน้ า 185


N เฟส A เฟส B เฟส C N G 104
5. แผงสวิตช์แรงสู ง..แรงดันไม่เกิน 33 kV.
• ข้อกําหนดโครงสร้างเหมือนแรงตํWา และเพิWมเติมดังนีZ
– ถ้าเป็ นบริ ภณั ฑ์ประธาน ต้องเป็ นไปตามบริ ภณั ฑ์ประธานแรงสู ง
– ตัวนําและบัสบาร์ ต้องติดตัZงอย่างมันW คง มีการทําเครืW องหมายตามลําดับ ดังนีZ
• แดง สําหรับเฟส R
• เหลือง สําหรับเฟส Y
• นํZาเงิน สําหรับเฟส B
6. การจัดวางบัสบาร์และตัวนํ า ต้องหลีกเลี'ยง
ไม่ให้เกิดความร้อนสูงจากการเหนี' ยวนํ า
7. การจัดเฟสเมือมองจากด้ านหน้ าตู้
- ด้ านหน้ า ด้ านหลัง
- ด้ านบน ด้ านล่ าง R Y B
- ด้ านซ้ ายมือ ด้ านขวามือ คู่มือ หน้ า 185
105

8.4 พืนที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานและทางเข้ า
การติดตัง# แผงสวิตช์และแผงย่อย ต้องมีพ# นื ที'วา่ งและทางเข้าไปยังพื#นที'วา่ งเพื'อให้สามารถเข้าไป
ปฏิบตั งิ านได้ และทําการบํารุงรักษาได้โดยสะดวกและปลอดภัย
พืนทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านสําหรับบริภัณท์ ไฟฟ้า แบ่ งเป็ น

1. พืนที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานระบบแรงตํา2
 แรงดันวัดเทียบกับดินไม่ เกิน 600V
 (แรงดันระหว่ างสายเส้ นไฟไม่เกิน 1000 V)

2. พืนที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานระบบแรงสู ง
 แรงดันวัดเทียบกับดินเกิน 600 V
 (แรงดันระหว่ างสายเส้ นไฟเกิน 1000 V แต่ ไม่เกิน 33kV)
แรงดันไฟฟ้ า ที.ไม่ ระบุว่าเป็ นแรงดันระหว่างเฟส หรือแรงดันเทียบดิน ให้ หมายถึงแรงดันระหว่างเฟส คู่มือ หน้ า 186
พืนที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน
ความลึก ระยะห่ าง
เพดาน
ความสู ง

ทางเข้ า

ความกว้ าง การวัดความลึกวัดจากส่ วนทีม2 ไี ฟฟ้ า


หรื อจากด้ านหน้ าเครื2 องห่ อหุ้ม
รูปที' 8.2 พื#นที'ว่างเพื'อปฏิบตั งิ าน คู่มือหน้ า 186

รูปที' 8.3 ตัวอย่างห้องที'ตดิ ตัง# แผงสวิตช์และพื#นที'วา่ งเพื'อปฏิบตั งิ านที'ดี คู่มือ หน้ า 187
8.4.1 สํ าหรับระบบแรงตํา2

คู่มือ หน้า 187

ความกว้ างพืน^ ทีว. ่ างเพือ. ปฏิบัติงานในระบบแรงตํ.า


เปิ ดได้ 90 องศา

ความ
ลึก
0.75 ม. 0.75 ม. 0.75 ม.
- ต้ องมีความกว้ างไม่ น้อยกว่ า 0.75 ม.และไม่ น้อยกว่ า
ขนาดความกว้ างของแผงสวิตช์
- สู งไม่ น้อยกว่ า 2.00 ม.
- ความลึกเป็ นไปตาม ตารางที2 8.2
บริภณ
ั ฑ์ ไฟฟ้า คู่มือหน้
110
า 187
ตาราง 8.2 ความลึกตํ2าสุ ดของที2ว่างเพื2อปฏิบัตงิ าน ระบบแรงตํ2า
แรงดันวัดเทียบดิน ความลึกตํา2 สุ ด ( ม. )
(V) กรณีที2 1 กรณีที2 2 กรณีที2 3
0-150 0.90 0.90 0.90
151- 600 0.90 1.10 1.20
มีไฟฟ้ า
ฉนวนไฟฟ้ า กรณีที21 ส่ วนที2ต่อ
ลงดิน
กรณีที22 กรณีที23 เปิ ดโล่ ง

2m. 2m. 2m.

รู ปที2 8.4 สําหรับระบบแรงตํา2


(ตัวอย่ างสําหรั บแรงดันเทียบดิน 151-600 V) คู่มือหน้ า 187

การวัดความลึก ให้ วัดจากส่ วนที2มไี ฟฟ้ าและเปิ ดโล่ ง หรื อถ้ าส่ วนที2มี
ไฟฟ้ ามีการห่ อหุ้ม (เช่ นตู้) ให้ วัดจากด้ านหน้ าของเครื2 องห่ อหุ้ม
พื#นที'วา่ งเพื'อปฏิบตั งิ าน ต้องเพียงพอที'จะเปิ ดประตูหรือฝาตูไ้ ด้อย่างน้อย 90 องศา

1.20 ม.

รูปที' 8.5 ตัวอย่างที'ฝาตูเ้ ปิ ดได้ไม่ถงึ 90 องศา


กรณีที2 3 : ส่ วนที2มไี ฟฟ้าอยู่ทัง 2 ด้ าน
(ไม่ถกู ต้อง)
ของที2ว่าง 151- 600 V คู่มือหน้ า 188,189
112
ทางเข้ าพืนทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน (แรงตํา2 )
ด้ านหลังต้ อง
ที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน 1.10ม.
ปฏิบัตงิ าน
1.10ม. 1.10ม.
ฝาตู้ทตี2 ้ อง
บริภัณฑ์ ไฟฟ้ า ปฏิบัตงิ าน
คอนกรีต ทางเข้ า ทางเข้า
ที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน
1.10ม.
ทางเข้ า

ต้ องมีทางเข้ าขนาดกว้ าง 0.60 ม.และสู ง 2.00 ม.


ที2จะเข้ าไปถึงที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานได้ 1 ทาง
(ทางเข้ าอาจเป็ นประตูหรื อไม่ กไ็ ด้ )
คู่มือหน้ า 189

1.10 ม. 1.10 ม.
1.10 ม. 1.10 ม.

รู ปที2 8.6 ตัวอย่ างทางเข้ าพืนที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานและความลึก


ในรูปที. 8.6 ถ้ าเป็ นแผงสวิตช์ แรงดัน 230/400V ห้ องเป็ นผนังคอนกรี ต ความลึกตํ.าสุ ดจะเท่ ากับ 1.10 ม.
คู่มือหน้ า 189
ทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน (แรงตํา2 )
แผงสวิตช์ ที2เข้ าถึงเพื2อปฏิบัติงานได้ จากด้ านอื2นที2ไม่ ใช่ ด้านหลัง ไม่ ต้องมีที2ว่างเพื2อปฏิบัตงิ าน
ด้ านหลังของแผงก็ได้ ในที2ซึ2งต้ องเข้ าถึงด้ านหลังเพื2อทํางานในส่ วนที2ได้ ปลดวงจรไฟฟ้ าออก
แล้ ว ต้ องมีที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานในแนวนอนไม่ น้อยกว่ า 0.75 ม. ตลอดแนวของแผงสวิตช์
ด้ านหลังปฏิบัตงิ านเมื2อปลดวงจรไฟฟ้ าออกแล้ ว

รู ปที2 8.7 ที2ว่างตามแนวนอนที2ปฏิบัติงานเมื2อดับไฟแล้ ว คู่มือหน้ า 190


115

ทางเข้ าสําหรับแผงสวิตช์ ขนาดใหญ่


ด้ านหลังปฏิบัตงิ านเมื2อปลดวงจรไฟฟ้ าออกแล้ ว
กว้ าง 0.75 ม.
แผงสวิตช์ และแผงควบคุม
1.10ม. 1.10ม. ฝาตู้ทตี2 ้ อง
คอนกรีต I ≥ 1200A และ
ทางเข้ า ทางเข้ า ปฏิบัตงิ าน
ตู้กว้ าง >1.80 ม.
ทางเข้ า 1.10ม. ทางเข้ า
ทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน

ต้ องมีทางเข้ าทัง 2 ข้ างของแผงสวิตช์


กว้ าง 0.60 ม. สู ง 2.00ม.
คู่มือหน้ า 190
116
ทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน (แรงตํา2 )
ปฏิบัติงานเมื2อปลดวงจรไฟฟ้าออกแล้ ว

0.75 ม.

I ≥1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.


ทางเข้ า ทางเข้ า

ทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน

ทางเข้ า ทางเข้ า
คู่มือหน้ า 190
117

รู ปที2 8.8 แสดงทางเข้ าไปยังพืนทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านทัง 2 ข้ างของแผงสวิตช์


ทางเข้าที22
ทางเข้าที21

รู ปที2 8.9 ตัวอย่ างทางเข้ าไปยังพืนทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านทัง 2 ข้ างของแผงสวิตช์


(ถ้ าด้ านหลังต้ องปฏิบัติงาน ต้ องมีทางเข้ าทัง^ 2 ข้ างด้ วย) คู่มือหน้ า 190,191
หากเกิดระเบิดผู้ปฏิบัติงาน
จะไม่ มที างออก

ทางเข้ า
รู ปที 8.10 ตัวอย่ างมีทางเข้ าทางเดียวผู้ปฏิบัตงิ านจะไม่ มที างออก หากเกิดระเบิด
(ไม่ ถูกต้ อง)
คู่มือหน้ า 191

ทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน (แรงตํา2 )


I ≥ 1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.
แผงสวิตช์ และแผงควบคุม
ผนังคอนกรีต
สามารถออกได้ โดยตรงและ
ไม่ มีสิ2งกีดขวาง

มีทางเข้า1 ทาง
กว้ าง 0.60ม.
ยอมให้ มที างเข้ าทีว2 ่ าง สู ง 2.00ม.
เพื2อปฏิบัตงิ านทางเดียวได้ คู่มือหน้ า 191,192
120
ทางเข้ าที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน (แรงตํ2า)

I ≥ 1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.

ด้ านหน้ าแผงสวิตช์ สามารถออกได้


โดยตรงและไม่ มสี ิ2งกีดขวาง
มีทางเข้ า1 ทาง
กว้ าง 0.60ม.
ยอมให้ มที างเข้ าที2ว่าง สู ง 2.00ม.
เพื2อปฏิบัติงานทางเดียวได้ คู่มือหน้ า 191,192
121

ทางเข้ าที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน (แรงตํ2า)

I ≥ 1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.

มีทางเข้า1 ทาง
ยอมให้ มที างเข้ าที2ว่าง กว้ าง 0.60ม.
เพื2อปฏิบัติงานทางเดียวได้ สู ง 2.00ม.
คู่มือหน้122
า 191,192
ทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน (แรงตํา2 )
I ≥ 1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.
ผนังคอนกรี ต
แผงสวิตช์ และแผงควบคุม ตามมาตรฐาน
ตารางที2 8-2
ความลึกเป็ น 1.10 ม.
2 เท่ าของ 2.20 ม.
มาตรฐาน

ยอมให้ มที างเข้ าทีว2 ่ าง มีทางเข้า 1 ทาง


กว้ าง 0.60 ม.
เพื2อปฏิบัตงิ านทางเดียวได้ สู ง 2.00 ม.
คู่มือหน้ า 192
123

ทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ าน (แรงตํา2 )


I≥1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.

1.10 ม.
2.20 ม. ความลึกเป็ น2เท่ าของ
มาตรฐาน
ตามตารางที2 8-2

ยอมให้ มีทางเข้ าทีว2 ่ าง


เพื2อปฏิบัตงิ านทางเดียวได้ คู่มือหน้ า 192
124
ทางเข้ าที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน(แรงตํ2า)
ทางเข้ า I > 1200A และตู้กว้ าง > 1.80ม.

1.10 ม.

ตามตารางที2 8-2
2.20 ม.
มีความลึก
2 เท่ า
1.10 ม. ของ
มาตรฐาน

ยอมให้ มีทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านทางเดียวได้


คู่มือหน้ า192
125

2.20 m.
1.10 m. 1.10 m.

รู ปที 8.11 ตัวอย่ างทางเข้ าทางเดียว คู่มือหน้ า 192


แสงสว่ างเหนือที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน
- เมนสวิตช์ แผงสวิตช์ และแผงย่ อยหรื อเครื2 องควบคุมมอเตอร์ เมื2อติดตังอยู่ในอาคาร
ต้ องมีแสงสว่ างบริเวณพืนที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานอย่ างเพียงพอที2จะปฏิบัติงานได้ ทันที
โดยที2ความส่ องสว่ างเฉลี2ยไม่ น้อยกว่ า 200 ลักซ์

200 ลักซ์
TR.
Switchgear
MDB 3000A 1600kVA

อุปกรณ์ไฟฟ้าแรงตํ2า
ยกเว้ น เมนสวิตช์ หรื อแผงย่อย(เดี2ยวหรื อกลุ่ม)ในสถานที2อยู่อาศัยมีขนาดรวมกันไม่เกิน 100 แอมแปร์
127

ที2ว่างเหนือพืนที2ปฏิบัติงานและแผง(Head room )
และระยะห่ างระหว่ างแผงสวิตช์ แรงตํ2ากับเพดาน
(เมนสวิตช์ แผงสวิตช์ แผงย่ อย เครื2 องควบคุมมอเตอร์ )

0.90ม.(เพดานติดไฟได้ )
เพดานไม่ ตดิ ไฟ 0.60 ม.
ยกเว้ นเพดานไม่ ตดิ ไฟหรื อมี
2.00ม. แผ่นกันไม่ ตดิ ไฟระหว่ างแผง
สวิตช์ กบั เพดานระยะลดลงไดั
ต้ องไม่ น้อยกว่ า 0.60 ม.

ยกเว้ น เมนสวิตช์ หรื อแผงย่ อยในสถานที2อยู่อาศัยมีขนาดรวมกันไม่เกิน 200 แอมแปร์ คู่มือหน้ า 192


128
ตัวอย่ างที2 8.1 แผงสวิตช์ แรงดัน 230/400V, 3 เฟส 4 สาย 1,000A ขนาด WDH (กว้ าง
ลึกสู ง) = 1.51.22.2 ม. จํานวน 1 แผง ต้ องปฏิบัตงิ านขณะทีม2 ไี ฟทังด้ านหน้ าและด้ านหลัง
ต้ องการกําหนดขนาดห้ อง กําหนดให้ ห้องเป็ นคอนกรีตและเพดานห้ องไม่ ตดิ ไฟ
วิธีทาํ
เป็ นแผงสวิตช์ ขนาด 1,000A
(ตํา2 กว่ า 1,200A )แผงสวิตช์ ปฏิบัตงิ าน
ขณะมีไฟทังด้ านหน้ าและด้ านหลังเป็ น
กรณีที2 2 ระยะห่ างเท่ ากับ 1.10 ม. ด้ านข้ าง
ไม่ ต้องปฏิบัตงิ านจึงมีเฉพาะทางเข้ าพืนที2
ปฏิบัตงิ านด้ านหลังแผงสวิตช์ ซึ2งกว้ างไม่
น้ อยกว่ า 0.60 ม. สู ง 2.0 ม. และมีทางเข้ า
ทางเดียวก็พ อ (0.60 ม.)
คู่มือหน้ า 193

ความกว้ างห้ อง = 1.5 + 0.60 = 2.10 ม. (หรื อ 2.70 ม.ถ้ ามีทางเข้ า 2 ทาง)
ความยาวห้ อง = 1.10 + 1.20 + ใจ = 3.40 ม.
ความสู งห้ อง = 2.20 + 0.60 = 2.80 ม.
2.10
เพดานห้ องไม่
1.50 0.60 ติดไฟ
1.10

ด้ านหลังที2ปฏิบัติงาน
0.60
ด้ านหน้ าที2ปฏิบัติงาน
ด้ านหลังที2ปฏิบัติงาน

แผงสวิตช์
1.20

แผงสวิตช์
3.40

1,000A
2.80

1,000A
2.20

ด้ านหน้ าที2ปฏิบัติงาน
1.10

ทางเข้า
หมายเหตุ ความกว้ างของห้ องเรี ยกตามหน้ ากว้ างของแผงสวิตช์ เมื.อคํานวณแล้ วจึงมีค่ามากกว่ าความยาวห้ อง
ตามที.แสดงในรู ป คู่มือหน้ า 193
ตัวอย่ างที2 8.2 แผงสวิตช์ แรงดัน 230/400V, 3 เฟส 4 สาย 1,600A ขนาด WDH
(กว้ างลึกสู ง) = 2.01.22.2 ม. จํานวน 1 แผง ปฏิบัตงิ านขณะทีม2 ไี ฟทังด้ านหน้ าและ
ด้ านหลัง ต้ องการกําหนดขนาดห้ อง กําหนดให้ ห้องเป็ นคอนกรีตและเพดานห้ องไม่ ตดิ ไฟ
วิธีทาํ
เป็ นแผงสวิตช์ ขนาด 1,600A
(สู งกว่ า 1,200A และกว้ างเกิน1.80 ม.)
แผงสวิตช์ ปฏิบัตงิ านทังด้ านหน้ าและ
ด้ านหลังเป็ นกรณีที2 2 ระยะห่ างจากผนัง
ถึงแผงสวิตช์ เท่ ากับ 1.10 ม. และต้ องมี
ทางเข้ าพืนทีป2 ฏิบัตงิ านด้ านหลังของ
แผงสวิตช์ กว้ างไม่ น้อยกว่ า 0.60ม.
สู ง 2.00 ม. 2 ทาง
คู่มือหน้ า 194

ความกว้ างห้ อง = 0.60 + 2.0 + 0.60 = 3.20 ม.


ความยาวห้ อง = 1.10 + 1.20 + 1.10 = 3.40 ม.
ความสู งห้ อง = 2.20 + 0.60 = 2.80 ม.
3.20
เพดานห้ องไม่
0.60 2.00 0.60
ติดไฟ
0.60

ด้ านหลังที2ปฏิบัติงาน
1.10

ด้ านหน้ าที2ปฏิบัติงาน
ด้ านหลังที2ปฏิบัติงาน

แผงสวิตช์ แผงสวิตช์
2.80
1.20
3.40

1,600A
2.20

1,600A
ด้ านหน้ าที2ปฏิบัติงาน
1.10

ทางเขาทางเดียว
ไมมีสิ่งกีดขวาง หมายเหตุ 1. แผงสวิตช์อาจจัดวางในรูปแบบอืนได้ซึงอาจทําให้ขนาดห้องเปลียนไป คู่มือหน้ า 194
ตัวอย่ างที2 8.3 แผงสวิตช์ แรงดัน 230/400V, 3 เฟส 4 สาย 2,000A ขนาด WDH
(กว้ างลึกสู ง) = 2.01.52.2 ม. จํานวน 2 แผง วางหันหน้ าเข้ าหากัน ด้ านหลังแผงสวิตช์ ปฏิบัตงิ าน
เฉพาะเมื2อดับไฟเท่ านัน ต้ องการกําหนดขนาดห้ อง กําหนดให้ ห้องเป็ นคอนกรีตและเพดานห้ องไม่ ตดิ ไฟ
3.20
0.60
วิธีทาํ เป็ นกรณีที2 3 ระยะห่ างไม่ 2.00 0.60

น้ อยกว่ า 1.20 ม. และมีทางเข้า

0.75
ทัง 2 ข้างของแผง
- ความกว้ างห้ อง

1.50
= 0.60 + 2.00 + 0.60 = 3.20 ม.
- ความยาวห้ อง
1.20
5.70
= 0.75+ 1.50 +1.20+1.50+0.75
= 5.70 ม.
1.50

- ความสู งห้ อง
0.75

= 2.20 +0.60 = 2.80 ม. คู่มือหน้ า 195

8.4.2 สําหรับระบบแรงสูง

ตอน ข. หน้ า 1-19 134


คู่มือหน้ า 196
ความกว้ างของทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านในระบบแรงสู ง
เปิ ดได้ 90 องศา

ความ
ลึก
≥ 0.90 ม. ≥ 0.90 ม. ≥ 0.90 ม.

 ที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน ต้ องมีความกว้ างไม่ น้อยกว่ า


0.90 ม.สู ง 2.00 ม.และความลึก ตามตารางที2 8.3
บริภัณฑ์ ไฟฟ้าแรงสู ง
คู่มือหน้ า 196
135

ทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านสําหรับระบบแรงสู ง


ความลึก
(ตารางที2 8.3)

ความสู ง HV
2.00ม.
ทางเข้ า
ความกว้ าง
ที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานต้ องสู ง 2.00 ม.กว้ าง 0.90 ม. และต้ อง คู่มือหน้ า 184
ไม่ น้อยกว่ าความกว้ างของบริภัณฑ์ แรงสู ง
ตารางที2 8.3
ความลึกตํ2าสุ ดของที2ว่างเพื2อปฏิบัติงานกับบริภัณฑ์ ไฟฟ้ าระบบแรงสู ง
แรงดันไฟฟ้ า ความลึกตํา2 สุ ด ( ม. )
วัดเทียบดิน ( V ) กรณีที2 1 กรณีที2 2 กรณีที2 3
601-2,500 0.90 1.20 1.50
2,501-9,000 1.20 1.50 1.80
9,001-25000 1.50 1.80 2.80
2,5001-75,000 1.80 2.50 3.00
มีไฟฟ้ า
ส่ วนที2ต่อ
ฉนวนไฟฟ้ า กรณีที23 เปิ ดโล่ ง
กรณีที21 ลงดิน กรณีที22
2m. 2m. 2m.
HV HV HV HV

137 คู่มือหน้ า 196

ทางเข้ าที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน (แรงสู ง)


แผงสวิตช์ทีWเข้าถึงเพืWอปฏิบตั ิงานได้จากด้านอืWนทีWไม่ใช่ดา้ นหลัง ไม่ตอ้ งมีทีWวา่ งฯด้านหลัง
ของแผงก็ได้ในทีWซW ึ งต้องเข้าถึงด้านหลังเพืW อทํางานในส่ วนทีWได้ปลดวงจรไฟฟ้าออกแล้ว
ต้องมีทW ีวา่ งเพืWอปฏิบตั ิงานในแนวนอนไม่นอ้ ยกว่า 0.75 ม. ตลอดแนวของแผงสวิตช์
กว้ าง 0.75 ม. ด้ านหลังปฏิบัติงาน
บริภัณฑ์ ไฟฟ้ า เมื2อปลดวงจรไฟฟ้าแล้ว
0.60ม.
ทางเข้ า แรงสู ง 0.60ม.
ทางเข้ า
ตู้กว้ าง >1.80 ม.
ทางเข้ า ทางเข้ า

แผงสวิตช์ หรื อแผงควบคุมระบบแรงสู งทีม2 ีความกว้ างเกิน 1.80 ม.(ไม่กาํ หนดกระแส)


ต้ องมีทางเข้ าทังสองข้ างของแผงสวิตช์ กว้ าง 0.60 ม. สู ง 2.00 ม.
138

คู่มือหน้ า 197
ทางเข้ าที2ว่างเพื2อปฏิบัติงาน (แรงสู ง)
ส่ วนที2มีไฟฟ้า มีทางเข้า
และเปิ ดโล่ ง บริภัณฑ์ ไฟฟ้ าแรงสู ง กว้ าง 0.60 ม.
และอยู่ใกล้ กับ
ตู้กว้ าง > 1.80ม. สู ง 2.00 ม.
ทางเข้ าที2ว่างเพื2อ
ปฏิบัติงานต้ องมี
การกัน ตาม 1.103 2 เท่ าของ ไม่ มสี ิ2ง
มาตรฐาน กีดขวาง
มาตรฐาน
วสท.

อนุญาตให้ มีทางเข้ าทีว2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านทางเดียวได้ ถ้ าหน้ าแผงสวิตช์ แรงสู ง


เป็ นทีว2 ่ างและไม่ มีสิ2งกีดขวางหรื อมีทวี2 ่ างเพื2อปฏิบัตงิ านมีความลึกเป็ น 2 เท่ า
ทีก2 าํ หนดในตารางที2 8.3
คู่มือหน้ า 197
139

9.1 การเกิดแรงดันตก
บทที' 9 แรงดันตก
คือแรงดันไฟฟ้ าที'สูญเสียไประหว่างทาง สาเหตุจากการที'กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านสายไฟฟ้ าซึ'งมีค่า
อิมพีแดนซ์ (impedance) แรงดันตกจึงเป็ นความต่างกันระหว่างแรงดันไฟฟ้ าทีปลายทาง
กับต้นทาง ปกติจะคิดเป็ นร้อยละของแรงดันต้นทาง
2
แรงดัน ไฟฟ้ าตก คือ ค่าสูญเสีย (Loss)ในระบบไฟฟ้ า ;I R
9.2 ผลของแรงดันตก
เมื'อแรงดันไฟฟ้ าที'ปลายทางตํา' จะเกิดผลเสียคือ ประสิทธิผลการทํางานของอุปกรณ์ไฟฟ้ าจะลดลง หรือ
อาจถึงขัน# ทํางานไม่ได้เช่น หลอดไฟฟ้ าสว่างน้อยลง หลอดฟลูออเรสเซนต์อาจเปิ ดติดยากหรือไม่ตดิ
และมอเตอร์ไฟฟ้ าสตาร์ตไม่ไหวหรือร้อนจน overload เป็ นต้น
วิธกี ารแก้แรงดันตกทีนิ ยมใช้กนั ทัวไปคือการลดค่า impedance โดยการเพิมขนาดสายไฟฟ้ า
สําหรับการลดกระแสไฟฟ้ าการปรับค่า power factor ก็อาจทําได้ระดับหนึ ง คู่มือหน้ า 199
9.3 มาตรฐานแรงดันตก แรงดันตกในสายป้ อน ไม่ เกิน 2%
1.กรณี รับไฟแรงตํWาจากการไฟฟ้าฯ แรงดันตกในวงจรย่ อย ไม่ เกิน 3%
การคิดแรงดันไฟฟ้าตก คิดจากเครื องวัดหน่ วยไฟฟ้าถึงจุด
ใช้ ไฟจุดสุ ดท้ าย(จุดทีมีค่าแรงดันตกสู งสุ ด)รวมกัน ต้ องไม่
เกิน 5% จากค่ าแรงดันทีระบุ LOAD

คู่มือหน้ า 199
141

2. กรณี รับไฟแรงสู งจากการไฟฟ้าฯ


แรงดันตก กรณีรับไฟแรงสู ง เมนสวิตช์(บริถณ
ั ฑ์ประธาน)
จากการไฟฟ้าฯ แรงดันตกคิด
จากเมนสวิตช์ (บริภณ ั ฑ์ ประธานแรงตํา2 )
สายป้ อน
จนถึงจุดใช้ ไฟจุดสุ ดท้ ายทีไ2 กลสุ ด แผง DB

รวมกันไม่ เกิน 5% จากค่ าแรงดัน ≤5 %


ทีร2 ะบุ สายป้ อน
แผงย่อย

แรงดันตกในสายป้ อน ไม่ เกิน 2%


วงจรย่อย
แรงดันตกในวงจรย่ อย ไม่ เกิน 3%
โหลดไฟฟ้า คู่มือหน้ า 199
9.6 การหาค่าแรงดันตกโดยใช้ตาราง
วิธ ีท สะดวกในการหาค่
ี าแรงดัน ตกคือ การใช้ ต ารางในมาตรฐานการติด ตังทางไฟฟ้ าฯ เพือประกอบการคํานวณ การหาค่า
แรงดัน ตกแบ่งเป็ นสําหรับ สาย PVC และสาย XLPE ซึงจะต้ อ งเลือ กใช้ ต ารางให้ ถ ูก ต้ อ ง และในการอ่านค่าจากตารางก็จ ะต้ อ งทราบ
ว่าเป็ นวงจร 1 เฟส หรือ 3 เฟส และทราบวิธ ีก ารเดิน สายหรือ รู ป แบบการติด ตังด้ วย ดังนี
กลุ่มที 1 สายแกนเดีย วหรือ หลายแกนหุ้ม ฉนวน มี/ไม่ม ีเ ปลือ กนอก เดิน ช่อ งเดิน สายโลหะหรือ อโลหะ ภายในฝ้ าเพดานทีเป็ น
ฉนวนความร้ อ น หรือ ผนังกัน ไฟ
กลุ่ม ที 2 สายแกนเดีย วหรือ หลายแกนหุ้ม ฉนวน มี/ไม่ม ีเ ปลือ กนอก เดิน ในช่อ งเดิน สายโลหะหรือ อโลหะเดิน เกาะผนังหรือ
เพดาน หรือ ฝั งในผนังคอนกรีต หรือ ทีคล้ ายกัน
กลุ่มที 3 สายแกนเดีย วหรือ หลายแกนหุ้ม ฉนวนมีเ ปลือ กนอก เดิน เกาะผนัง หรือ เพดาน ทีไม่ม ีสิงปิ ดหุ้ม ทีคล้ ายกัน
กลุ่มที 4 สายเคเบิล แกนเดีย วหุ้ม ฉนวน มี/ไม่ม ีเ ปลือ กนอก วางเรีย งกัน แบบมีร ะยะห่าง เดิน บนฉนวนลูก ถ้ วยในอากาศ
กลุ่มที 5 สายแกนเดีย วหรือ หลายแกนหุ้ม ฉนวนมีเ ปลือ กนอก เดิน ในท่อ โลหะหรือ อโลหะฝั งดิน
กลุ่มที 6 สายแกนเดีย ว หรือ หลายแกน หุ้ม ฉนวน มีเ ปลือ กนอก ฝั งดิน โดยตรง
กลุ่มที 7 สายเคเบิล แกนเดีย วหรือ หลายแกนหุ้ม ฉนวน มีเ ปลือ กนอก วางบนรางเคเบิล แบบด้ านล่างทึบ รางเคเบิล แบบระบาย
อากาศ หรือ รางเคเบิล แบบบัน ได
คู่มือหน้ า 203
143

ตารางที 9.1 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน PVC แกนเดียว ที 70°C


1 เฟส AC 3 เฟส AC
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
ขนาดสาย รูปแบบการติดตัง#
( mm2 ) กลุ่มที' กลุ่มที' 3, 4, 6, 7 กลุ่มที' กลุ่มที' 3, 4, 6, 7
1, 2, 5 Touching Spaced 1 , 2, 5 Trefoil Flat Spaced
1.0 44 44 44 38 38 38 38
1.5 29 29 29 25 25 25 25
2.5 18 18 ตัวอย่างที' 9-218 15 15 15 15
4 11 11 11 9.5 9.5 9.5 9.5
6 7.3 7.3 7.3 6.4 6.4 6.4 6.4
10 4.4 4.4 4.4 3.8 3.8 3.8 3.8
16 2.8 2.8 2.8 2.4 2.4 2.4 2.4
25 1.81 1.75 1.75 1.52 1.50 1.50 1.52
35 1.33 1.25 1.27 1.13 1.11 1.12 1.15 คู่มือหน้ า 204
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท. 144
ตารางที 9.1 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน PVC แกนเดียว ที 70°C (ต่อ)
1 เฟส AC 3 เฟส AC
ตัวอย่างที' 9-3
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
ตัวอย่างที' 9-3
ขนาดสาย รูปแบบการติดตัง#
( mm2 ) กลุ่มที' กลุ่มที' 3, 4 6, 7 กลุ่มที' กลุ่มที' 3 4, 6, 7
1, 2, 5 Touching Spaced 1 , 2, 5 Trefoil Flat Spaced
50 1.00 0.94 0.97 0.85 0.81 0.84 0.86
70 0.71 0.66 0.69 0.61 0.57 0.60 0.63
95 0.56 0.50 0.54 0.48 0.44 0.47 0.50
120 0.48 0.41 0.45 0.40 0.35 0.39 0.43
150 0.41 0.35 0.39 0.35 0.30 0.34 0.38
185 0.36 0.29 0.34 0.31 0.26 0.30 0.34
240 0.30 0.25 0.29 0.27 0.21 0.25 0.29
300 0.27 0.22 0.26 0.24 0.18 0.23 0.26
400 0.25 0.19 0.23 0.22 0.16 0.20 0.24
500 0.23 0.17 0.21 0.20 0.15 0.18 0.22 คู่มือหน้ า 204
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท. 145

ตารางที 9.2 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน PVC หลายแกน ที 70°C


1 เฟส AC 3 เฟส AC
ขนาดสาย
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
( mm2 )
ทุกกลุ่มการติดตัง# ทุกกลุ่มการติดตัง#
1.0 44 38
1.5 ตัวอย่างที 9-1 29 25
2.5 18 15
4 11 9.5
6 7.3 6.4
10 4.4 3.8
16 2.8 2.4
25 1.75 1.50
35 1.25 1.10
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2556 วสท. 146 คู่มือหน้ า 205
ตารางที 9.2 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน PVC หลายแกน ที 70°C (ต่อ)
1 เฟส AC 3 เฟส AC
ขนาดสาย
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
( mm2 )
ทุกกลุ่มการติดตัง# ทุกกลุ่มการติดตัง#
50 0.93 0.80
70 0.65 0.57
95 0.49 0.43
120 ตัวอย่างที 9-1 0.41 0.36
150 0.34 0.29
185 0.29 0.25
240 0.24 0.21
300 0.21 0.18
400 0.17 0.15
คู่มือหน้ า 205
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท. 147

ตารางที 9.3 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน XLPE แกนเดียว ที 90°C


1 เฟส AC 3 เฟส AC
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
ขนาดสาย
รูปแบบการติดตัง#
( mm2 )
กลุ่มที' กลุ่มที' 3, 4, 6, 7 กลุ่มที' กลุ่มที' 3, 4, 6, 7
1, 2, 5 Touching Spaced 1 , 2, 5 Trefoil Flat Spaced
1.0 46 46 46 40 40 40 40
1.5 31 31 31 27 27 27 27
2.5 19 19 19 16 16 16 16
4 12 12 12 10 10 10 10
6 7.9 7.9 7.9 6.8 6.8 6.8 6.8
10 4.7 4.7 4.7 4.0 4.0 4.0 4.0
16 2.9 2.9 2.9 2.5 2.5 2.5 2.5
25 1.85 1.85 1.85 1.60 1.57 1.58 1.60
35 1.37 1.35 1.37 1.17 1.14 1.15 1.17 คู่มือหน้ า 206
148
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท.
ตารางที 9.3 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน XLPE แกนเดียว ที 90°C (ต่อ)
1 เฟส AC 3 เฟส AC
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
ขนาดสาย
รูปแบบการติดตัง#
( mm2 )
กลุม่ ที' กลุม่ ที' 3, 4, 6, 7 กลุม่ ที' กลุม่ ที' 3, 4, 6, 7
1, 2, 5 Touching Spaced 1 , 2, 5 Trefoil Flat Spaced
50 1.04 1.00 1.02 0.91 0.87 0.87 0.90
70 0.75 0.70 0.73 0.65 0.61 0.62 0.64
95 0.58 0.52 0.56 0.50 0.45 0.46 0.50
120 0.49 0.42 0.47 0.42 0.37 0.38 0.42
150 0.42 0.36 0.40 0.37 0.31 0.33 0.37
185 0.37 0.31 0.35 0.32 0.26 0.27 0.31
240 0.32 0.25 0.30 0.27 0.22 0.23 0.27
300 0.28 0.22 0.26 0.24 0.19 0.20 0.24
400 0.25 0.19 0.23 0.22 0.17 0.18 0.22
500 0.23 0.17 0.21 0.20 0.15 0.16 0.20 คู่มือหน้ า 206
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท. 149

ตารางที 9.4 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน XLPE หลายแกน ที 90°C


1 เฟส AC 3 เฟส AC
ขนาดสาย
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
( mm2 )
ทุกกลุ่มการติดตัง# ทุกกลุ่มการติดตัง#
1.0 46 40
1.5 31 27
2.5 19 16
4 12 10
6 7.9 6.8
10 4.7 4
16 2.9 2.5
25 1.85 1.60
35 1.35 1.15
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท. คู่มือหน้ า 207
150
ตารางที 9.4 แรงดันตกสําหรับสายไฟฟ้ า ฉนวน XLPE หลายแกน ที 90°C (ต่อ)
1 เฟส AC 3 เฟส AC
ขนาดสาย
( mV / A / m ) ( mV / A / m )
( mm2 )
ทุกกลุ่มการติดตัง# ทุกกลุ่มการติดตัง#
50 0.99 0.86
70 0.68 0.60
95 0.52 0.44
120 0.42 0.36
150 0.35 0.31
185 0.30 0.25
240 0.24 0.22
300 0.21 0.18
400 0.19 0.16
แหล่งทีมา : มาตรฐานการติดตัง9 ทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย พ.ศ.2564 วสท. คู่มือหน้ า 207
151

ตัวอย่างที' 9.1 วงจรไฟฟ้ า 1 เฟส 230 V ใช้สาย NYY-G ชนิ ด 2 แกนมีสายดินขนาด 25/16 ตร.มม. เดินร้อย
ท่อโลหะเกาะผนังความยาว 120 เมตร จ่ายไฟให้วงจรมอเตอร์ท'มี ีกระแสโหลดเต็มที' 50 A ต้องการหาค่าแรงดัน
ตกที'มอเตอร์ และถ้าต้องการแรงดันตกไม่เกิน 3% จงหาว่าจะต้องใช้สายไฟฟ้ าขนาดเท่าใด

mV/A/m

VD = mV × กระแส (A) × ความยาวสาย (m)


จากตารางที' 9-2 ร้อยท่อเกาะผนัง กลุม่ 2
- สาย 25/16 Sq.mm.NYY VD = (1.75 x 50 x 120)/1000 = 10.5V = (10.5/230)x100 = 4.56 %
- สาย 35/16 Sq.mm.NYY VD = (1.25 x 50 x 120)/1000 = 7.5 V = (7.5/230)x100 = 3.26 %
- สาย 50/25 Sq.mm.NYY VD = (0.93 x 50 x 120/1000 = 5.58V = (5.58/230)x100 = 2.42 %
จะต้องใช้สาย NYY-G ชนิ ด 2 แกนมีสายดินขนาด 50/25 ตร.มม. คู่มือหน้ า 208
152
ตัวอย่างที' 9.2 วงจรไฟฟ้ า 3 เฟส 230/400 V ใช้สาย IEC 01 ขนาด 25 ตร.มม. เดินร้อยท่อเกาะผนัง
จ่ายโหลดตามที'แสดงในรูป ต้องการหาค่าแรงดันตกที'จุดปลายสุดของวงจร

VD1 VD2 VD3

สาย IEC 01 ขนาด 25 ตร.มม. เป็ นสาย PVC ใช้ตารางที' 9.1 (กุล่มที' 2) ได้ VD = 1.52 mV/A/m
mV/A/m
VD = mV × กระแส (A) × ความยาวสาย (m)
VD1 = 1.52 × (10+30+30) × 20/1,000 = 2.13 V หมายเหตุ การหาค่าแรงดันตกวิธีนีเป็ น
VD2 = 1.52 × (30+30) × 20/1,000 = 1.82 V วิธีโดยประมาณ เพราะในความเป็ นจริง
โหลดแต่ละตัวจะมีค่า power factor
VD3 = 1.52 × 30 × 50/1,000 = 2.28 V
ไม่เท่ากัน
รวม VD (VD ที'จุดปลายสุด) = 2.13 + 1.82 + 2.28 = 6.23 V
คู่มือหน้ า 209
= (6.23/400) × 100 = 1.6% 153

ตัวอย่างที' 9.3 เมนสวิตช์ 3 เฟส 4 สาย จ่ายไฟให้แผงย่อยด้วยสาย NYY1/C 70 ตร.มม. ยาว 25 ม. สายวางเรียงชิดติดกันบน
Ladder กระแส 160 A และจากแผงย่อยจ่ายไฟให้โหลด 3 เฟส 2 ชุด โดยใช้สาย NYY 1/C ร้อยท่อเกาะผนัง ขนาด กระแส
และความยาวดังรูป ให้หาแรงดันตกที' LOAD B
3 เฟส 4 สาย 230/400 V LOAD A
เมนสวิตช์ 160A 100A LOAD B
แผงย่อย NYY 70 ตร.มม. 20 ม.ร้อยท่อเกาะผนัง

จากตารางที' 9-1 สายNYY 70 ตร.มม.วางบนรางเคเบิลเรียงชิดติดกัน (กลุม่ 7,Flat)


ได้คา่ แรงดันตก 0.60 mV/A/m
VD1 = 0.60 x 160 x 25/1000 = 2.4 V
จากตารางที' 9-1 สายNYY 70 ตร.มม.เดินร้อยท่อ (กลุม่ 2) ได้คา่ แรงดันตก 0.61mV/A/m
VD2 = 0.61 x 100 x 20/1000 = 1.22 V
รวม VD (VD ที'โหลด B) = 2.4 + 1.22 = 3.62 V คู่มือหน้ า 210
คิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ = (3.62/400) × 100 = 0.91 % 154
9.7 ความยาวสายสูงสุดตามค่าแรงดันตก
จากตาราง (VD) = mV/A/m นัน' คือ VD เป็ น V = (mV/1000) × A × m
ความยาวสายสูงสุด (m) = VD × 1000 / (mV × A)
ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ า 3 เฟส 4 สาย 230/400 V ใช้สาย IEC 01 ขนาด 50 ตร.มม. เดินร้อยท่อในอากาศ
กระแส 80 A ใช้ CB 100 A ให้หาความยาวสายสูงสุด กําหนดให้แรงดันตกไม่เกิน 3%
การคิดจาก CB จะได้ความยาวสายสูงสุดน้อยกว่า
วิธีทาํ แรงดันตก 3%, VD = 400 × 3/100 = 12 V คิดจากกระแสโหลดแต่จะสะดวกกว่ากรณี ไม่
ทราบกระแสโหลดทีแน่ นอน
วิธีท'ี 1 คิดจากกระแสโหลด
วิธีท'ี 2 คิดจากขนาด CB 100 A
ตารางที' 9.1(กลุม่ ที' 2)ได้ mV/A/m = 0.85
ความยาวสายสูงสุด (m)
ความยาวสายสูงสุด (m)
= VD × 1000 / (mV × A)
= VD × 1000 / (mV × A)
= 12 × 1000 / (0.85 × 100A)
= 12 × 1000 / (0.85 × 80A)
= 141 m. คู่มือหน้ า 211,212
= 176 m. 155

ภาคผนวก H กระแสลัด วงจร


การคํานวณกระแสลัดวงจร แบบ Infinite Bus
เป็ นการหากระแสลัดวงจรโดยไม่คิดอิมพีแดนซ์ของระบบไฟฟ้ า
"
=
%
In (A) กํานดให้
k" = กระแสลัดวงจรสมมาตร 3-เฟส (A)
In = กระแสพิกดั ของหม้อแปลง (A)
Uk = % อิมพีแดนซ์ ของหม้อแปลง

หรือ กระแสลัดวงจรทีด้านแรงตําของหม้อแปลง
"  ,
= % (Ampere)
× ×

156
ตัวอย่างการคํานวณกระแสลัดวงจร แบบ Infinite Bus
การไฟฟ้ าฯ หม้ อแปลงไฟฟ้ าขนาด 800 kVA แรงดัน 24 kV/240-
L/A
kWh
416 V ต้ องการหาค่ ากระแสลัดวงจรแบบ 3 เฟส ทีด้ าน
แรงตําของหม้ อแปลงโดยไม่ คดิ อิมพีแดนซ์ ของระบบ
Tr. 800 kVA , % Uk = 6
24 kV- 240/416 V
ไฟฟ้ า (กําหนดให้ % Uk = 6 )
เมนสวิ ต ช์
IC≥20kA
I"k = kVA x1000 kA
 ,
√3 x V x % Uk
% 100
× ×
สายป้ อ น
I"k = 800 x1000 kA
แผงย่อ ย √3 x 416 x 6
100

วงจรย่อ ย
M
I k" = 18.5 kA ≈ 20 kA

ตารางที' H4 ค่ากระแสลัดวงจร 3 เฟส สําหรับสายไฟฟ้ าแต่ละขนาด ที'ความยาวสายต่าง ๆ


( แรงดันด้านแรงตํา' ของหม้อแปลง 416 V)

ค่าคํานวณกระแสลัดวงจร
หม้อแปลง 800 kVA
แบบ Infinite Bus
I"k = 800 x1000 kA
√3 x 416 x 6
100

I k" = 18.5 kA ≈ 20 kA

คู่มือหน้ า 329
2.6.5 การใช้ งานสายไฟฟ้าทีม2 ีคุณสมบัตพิ เิ ศษ (บทที1. 2 ตามมาตรฐาน วสท.)
วงจรช่วยชีวิตหมายถึง วงจรทีจ" าํ เป็ นต้องจ่ายไฟให้บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าให้สามารถใช้
งานได้เมือ" เกิ ดเหตุทีต" ้องการหนี ภยั วงจรไฟฟ้ าทีจ" าํ เป็ นมีดงั นี
• ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสํารองสําหรับ กรณีฉ ุก เฉิน ไปยังแผงจ่ายไฟฟ้ าฉุก เฉิน เพือการหนีภ ัย
• ระบบแจ้งเหตุเ พลิงไหม้แ ละระบบสือสารฉุก เฉิน สําหรับ แจ้งเหตุเ พลิงไหม้ ให้เ ป็ นไปตาม
มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเ พลิงไหม้ (วสท.)
• ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุก เฉิน ให้เ ป็ นไปตามมาตรฐานiระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุก เฉิน และไฟฟ้ า
ป้ ายทางออกฉุก เฉิน (วสท.)
• ระบบอัด อากาศสําหรับ บัน ไดหนีไ ฟ
• ระบบดูด และระบายควัน รวมทัง$ ระบบควบคุมการกระจายของไฟและควัน
• ระบบเครืองสูบ นํา$ และระบบดับ เพลิงอัต โนมัต ิ
• ระบบลิฟ ต์ด ับ เพลิง
คู่มือหน้ า 44
สายไฟฟ้ าทีเปลือ กมิใ ช่โลหะจะต้อ(มาตรฐาน
งเดิว.ส.ท.
น สายในช่
2001-31 ข้อ3.) อ งเดิน สายโลหะ 159 159

วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ
การจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉินสําหรับวงจรไฟฟ้ าชว่ ยชวี ต

วงจรจ่ ายพลังงาน
G Gen or Batt
มิเตอร์แรงสูง ไฟฟ้าสํ ารองฯไปย
ยังแผงไฟฉุกเฉิน
หม้อแปลงไฟฟ้ า สายทนไฟ
ในช่องเดินสายโลหะ
MDB EMDB

ATS

สายทนไฟ
สายไฟ ในช่องเดินสายโลหะ

กรณีไ ฟฟ้ า จากการไฟฟ้ าดับ เครื องกํา เนิด ไฟฟ้ า จะ ระบบแจ้งเหตุเ พลิงไหม้ ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุก เฉิน ตาม วสท.
สตาร์ท แ ละจ่ า ยโหลดโดยอัต โนมัต ิผ ่ า น Automatic ระบบอัด อากาศสําหรับ บัน ไดหนีไ ฟ ระบบดูด และระบายควัน
Transfer Switch และถ้าไฟฟ้ ากลับ มาเป็ นปกติ เครือง รวมทัง$ ระบบควบคุม การกระจายของไฟและควัน ระบบเครือง
กําเนิด จะหยุด จ่ายโหลดโดยอัต โนมัต ิ
สูบ นํา$ และระบบดับ เพลิงอัต โนมัต ิ ระบบลิฟ ต์ด ับ เพลิง
160
ขอบเขตวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ
ข้อ กําหนดนีส$ าํ หรับ อาคารสถานทีต่อ ไปนีต$ ้อ งใช้ส ายทีมีคุณสมบัต ทิ นไฟ
• อาคารที2กําหนดให้ มวี งจรไฟฟ้ าช่ วยชีวติ ได้ แก่ อาคารชุ ด อาคารสู ง อาคารขนาดใหญ่
พิเศษ โรงมหรสพ สถานบริการ โรงแรม อาคารใต้ ผิวดิน ไม่ ว่าจะทังหมดหรื อบางส่ วน
หรื อระบบใดระบบหนึ2ง
• อาคารหรื อสถานที2ใดๆที2กฎหมายกําหนดให้ ต้องมีระบบวงจรไฟฟ้ าช่ วยชีวิต ไม่ ว่า
ทังหมดหรื อบางส่ วนหรื อระบบใดระบบหนึ2ง
• อาคารหรื อสถานที2จัดเป็ นบริเวณอันตรายจะต้ องปฏิบัติตามข้ อกําหนดการติดตัง
สํ าหรับบริเวณอันตรายตามแต่ ละประเภทนันด้ วย

คู่มือหน้ า 44
161

สรุป อาคารประเภทต่ างๆ


ความสู ง

อาคารสู ง อาคารสู งและอาคาร


ขนาดใหญ่ พเิ ศษ
23
• ใช้ เป็ นทีอยู่อาศัยและประกอบกิจการด้ วย
15 อาคารขนาดใหญ่
อาคารขนาดเล็ก

• มีความสู งตั@งแต่ 23 เมตรอาคารขนาด


ขึน@ ไป
บ้ านอยู่อาศัย

• ไม่กาํ หนดพืน@ ที ใหญ่ พเิ ศษ

พืน@ ที
2000

162
สรุป อาคารประเภทต่ างๆ
ความสู ง ใช้ เป็ นทีอยู่อาศัยและประกอบกิจการด้ วย
มีพืน@ ทีรวมกันตั@งแต่ 10,000 ตร.ม. ขึน@ ไป
อาคารสู ง อาคารสู งและอาคาร
ขนาดใหญ่ พเิ ศษ
23

15 อาคารขนาดใหญ่
อาคารขนาดเล็ก

อาคารขนาด
บ้ านอยู่อาศัย

ใหญ่ พเิ ศษ

พืน@ ที
2000

163

อาคารสู ง อาคารทรงจัว
หรื อทรงปั@นหยา ยอดผนัง
ชั@นสู งสุ ด
พื@นดาดฟ้ า
ผนังกันตก

≥ 23 ม. ≥ 23 ม.

พืน@ ดินก่ อสร้ าง พืน@ ดินก่ อสร้ าง


164
วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวติ
การจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉินสําหรับวงจรไฟฟ้ าชว่ ยชวี ต

G Gen or Batt
มิเตอร์แรงสูง

หม้อแปลงไฟฟ้ า สายทนไฟ
ในช่องเดินสายโลหะ
MDB EMDB

ATS

สายทนไฟ
สายไฟ
ต้ องมีแหล่ งไฟฟ้าจ่ ายไฟฟ้าฉุกเฉินอาจเป็ นเครื
ในช่อ2 องเดิ
งกํานเนิสายโลหะ

ไฟฟ้า แบตเตอรี2 หรื ออื2นใดที2สามารถจ่ ายไฟให้ ระบบ
กรณีไ ฟฟ้ า จากการไฟฟ้ าดับ เครื องกํา เนิด ไฟฟ้ า จะ วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวิตอย่ างเหมาะสม และในระยะเวลานาน
สตาร์ท แ ละจ่ า ยโหลดโดยอัต โนมัต ิผ ่ า น Automatic
Transfer Switch และถ้าไฟฟ้ ากลับ มาเป็ นปกติ เครือง พอเพีย งที2จะครอบคลุมความต้ องการของระบบ
กําเนิด จะหยุด จ่ายโหลดโดยอัต โนมัต ิ วงจรไฟฟ้าช่ วยชีวิตที2ต้องมีไฟฟ้าใช้ ที2นานที2สุดได้ ด้วย
165

การจ่ายไฟฟ้ าฉุก เฉิน สําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ


แหล่ งจ่ ายไฟฟ้ าปกติ Gen or Batt
G
แผงเมนสวิตช์

จะต้อ งต่อ จาก Main CB ATS


จุด ด้านไฟเข้า CB
ของเมนสวิต ช์

แผงจ่ ายไฟฟ้ า แผงจ่ ายไฟฟ้ า


ทัว2 ไป ฉุกเฉิน
166
การจ่ายไฟฟ้ าฉุก เฉิน สําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ
**กรณีไฟฟ้าปกติผดิ พร่ อง
แหล่ งจ่ ายไฟฟ้ าปกติ Gen or Batt
G
แผงเมนสวิตช์

จะต้อ งต่อ จาก Main CB ATS


จุด ด้านไฟเข้า CB
ของเมนสวิต ช์

แผงจ่ ายไฟฟ้ า แผงจ่ ายไฟฟ้ า


ทัว2 ไป ฉุกเฉิน
167

การจ่ายไฟฟ้ าฉุก เฉิน สําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ


กรณีต่อรับไฟฟ้าจากเมนสวิตช์ ระบบไฟฟ้าปกติ ต้ องมีสัญญาณแสงและเสี ยงเตือนที2
ห้ องควบคุม สวิตช์สบั เปลียน (Transfer
Gen or Batt Switch) ไม่ถือว่าเป็ นอุปกรณ์
แหล่ งจ่ ายไฟฟ้าปกติ
ควบคุมของระบบไฟฟ้ าปกติ
G
แผงเมนสวิตช์ ห้ องควบคุมอาคาร

ATS
ต่อ ระบบไฟจาก
Main CB
เมนสวิต ช์ ระบบ
ไฟฟ้ าปกติ

แผงจ่ ายไฟฟ้ า แผงจ่ ายไฟฟ้ า


ทั2วไป ฉุกเฉิน
168
การจ่ายไฟฟ้ าฉุก เฉิน สําหรับ วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ
กรณีต่อรับไฟฟ้าจากเมนสวิตช์ ระบบไฟฟ้าปกติ ต้ องมีสัญญาณแสงและเสี ยงเตือนที2
ห้ องควบคุม สวิตช์สบั เปลียน (Transfer
Gen or Batt Switch) ไม่ถือว่าเป็ นอุปกรณ์
แหล่ งจ่ ายไฟฟ้าปกติ
ควบคุมของระบบไฟฟ้ าปกติ
G
แผงเมนสวิตช์ ห้ องควบคุมอาคาร

ATS
ต่อ ระบบไฟจาก
Main CB
เมนสวิต ช์ ระบบ
ไฟฟ้ าปกติ
กรณีต อ่ รับ ไฟฟ้ าจากหลังเมนสวิต ช์
ระบบ ไ ฟฟ้ าปกติ ต้อ งมีส ญ
ั ญาณแสง
และเสียงเตือ นทีห้อ งควบคุม อาคาร

แผงจ่ ายไฟฟ้ า แผงจ่ ายไฟฟ้ า


ทั2วไป ฉุกเฉิน
**กรณีไฟฟ้าปกติผดิ พร่ อง
169

เมนสวิต ช์แ ละสวิต ช์ต ่างๆ


• เมนสวิต ช์ส าํ หรับ การจ่ายไฟฟ้ าวงจรช่วยชีวิต ต้อ งแยกต่างหาก และ ไม่ถ ูก บังคับ จากเมนสวิต ช์ไ ฟฟ้ า
ปกติ วงจรช่วยชีวิต แต่ล ะระบบอาจใช้เ มนสวิต ช์ร วม 1 ตัว หรือ แยกแต่ล ะระบบก็ไ ด้ หรือ จัด แบ่ง
อย่างไรก็ไ ด้ แต่ท งั$ หมดต้อ งติด ตัง$ รวมอยู่ท แผงสวิ
ี ต ช์เ มนรวมหรือ ภายในห้อ งแผงสวิต ช์เ มนรวม
เท่านั$น
มิเตอร์แรงสูง G Gen or Batt
สายทนไฟ
หม้อแปลงไฟฟ้ า ในช่อ งเดิ น สายโลหะ
ห้อ งแผงเมนสวิ ต ช์
MDB EMDB

ATS
สายทนไฟ
ในช่อ งเดิ น สายโลหะ

กรณีไ ฟฟ้ า จากการไฟฟ้ าดับ เครื องกํา เนิด ไฟฟ้ า จะ ลิ ฟ ต์ด ั บ เพ ลิ ง , ร ะบบสู บ นํ$ า แ ละร ะบบ
สตาร์ท แ ละจ่ า ยโหลดโดยอัต โนมัต ิผ ่ า น Automatic ดับ เพลิง อั ต โนมั ต ิ, ไฟแสงสว่ า งฉุ ก เฉิน ,
Transfer Switch และถ้าไฟฟ้ ากลับ มาเป็ นปกติ เครือง
กําเนิด จะหยุด จ่ายโหลดโดยอัต โนมัต ิ ระบบแจ้งเหตุเ พลิงไหม้, ระบบอัด อากาศ
ระบบดูด ระบายควัน และควบคุม ควัน 170
ข้อ กําหนดระดับ การทนไฟของระบบวงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิ ต
- ระบบสัญ ญาณเตือ นอัค คีภยั (ระบบแจ้งเหตุเพลิ งไหม้แ ละระบบสือสารฉุกเฉิ นสําหรับแจ้งเหตุเพลิ งไหม้)
- ระบบไฟฟ้ า แสงสว่า งฉุก เฉิ น FLAME RETARDANT
มอก.2756 Cat C or
การทน ต้ านเปลวเพลิง
IEC60332-3 Cat C
ไฟ
FIRE
RESISTANCE
มอก.2755 or
SMOKE IEC60331 ACID GAS
EMISSION EMISSION
มอก.2758 or มอก.2757 or IEC
การปล่ อย IEC 61034-2 60754-1,2
ควัน การปล่ อย
- สายไฟฟ้ าทีเปลือ กมิใ ช่โ ลหะจะต้อ งเดิน สายในช่อ งเดิน สายโลหะ ก๊ าซกรด คู่มือหน้ า 44
171

ข้อ กําหนดระดับ การทนไฟของระบบวงจรไฟฟ้ าช่ว ยชีวิ ต


สายทนไฟตามมอก.3197-2564 หรือ BS 6387 ระดับ ชั$น CWZ หรือ MI Cable
• ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ า FLAME RETARDANT ต้ านเปลวเพลิง
สํารองฉุก เฉิน ไปยังแผงจ่าย มอก.2756 or IEC
ไฟฟ้ าฉุก เฉิน เพือช่วยชีวิต การทน 60332-1 or IEC60332-3
• ระบบอัด อากาศสําหรับ ไฟ
บัน ไดหนีไ ฟ FIRE RESISTANCE
• ระบบดูด และระบายควัน มอก.3197 or
รวมทัง$ ระบบควบคุม การ BS 6387 or MI
กระจาย
ของไฟและควัน SMOKE EMISSION ACID GAS
มอก.2758 or EMISSION มอก.2757
• ระบบเครืองสูบ นํา$ และ or IEC 60754-1,2
ระบบดับ เพลิงอัต โนมัต ิ IEC 61034-2
• ระบบลิฟ ต์ด ับ เพลิง การปล่อย
ควัน การปล่ อย
ก๊ าซกรด คู่มือหน้ า 44
- สายไฟฟ้ าทีเปลือ กมิใ ช่โ ลหะจะต้อ งเดิน สายในช่อ งเดิน สายโลหะ 172
2.3 อาคารใต้ผ ิวดิน (Sub-Surface Building)
อาคารใต้ผิว ดิ น หมายถึง อาคารหรือ ชันg ใต้ดิ น ของอาคารทีมีพืนg ทีตังg แต่ 1,000 ตร.ม.ขึนg ไป สถานี ร ถไฟฟ้ า
173 ใต้ดิ น อุโมงค์ร ถไฟฟ้ าใต้ดิ น และรวมถึงอุโมงค์ใ ต้ดิ น ทีใช้ส าํ หรับการจราจรทัวไป แบ่งเป็ น 3 ประเภท ดังนีg

ประเภทที 1 ระบบทีต้อ งการ ประเภทที 2 ระบบทีต้อ งการความ ประเภทที 3 ระบบทีต้อ งการความ


ความปลอดภัย ปกติ (Normal ปลอดภัย สูง (High Safety ปลอดภัย สูงมาก (Very High Safety
Safety Requirement System) Requirement System)
Requirement System)
• ระบบแสงสว่างทัวไป • ระบบระบายอากาศ เฉพาะ • ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุก เฉิน ทัง$ ใน
• ระบบไฟฟ้ ากําลัง ที ส่วนทีเกียวกับ การจ่ายลม อาคารใต้ผ ิวดิน และอุโมงค์ท างวิง
นอกเหนือ จากประเภท • ระบบระบายนํา$ ฉุก เฉิน • ระบบอัด อากาศสําหรับ บัน ไดหนีไ ฟ
ที 2 และประเภทที 3 • ระบบลิฟ ต์แ ละบัน ไดเลือน • ระบบดูด และระบายควัน รวมทัง$ ระบบ
• ระบบปัj ม นํา$ ขึน$ ถังบน ควบคุม การกระจายของไฟและควัน
• ระบบสัญญาณเตือ นภัย ต่าง • ระบบสือสารฉุก เฉิน (emergency
หลังคา ๆ communication)
• ระบบระบายอากาศ • ระบบควบคุม คอมพิวเตอร์ • ระบบระบายควัน ทัง$ ในอาคารใต้ผ ิว
• ระบบระบายนํา$ • ระบบทางหนีภ ัย (escape ดิน และอุโมงค์ท างวิง
โดยทัวไป way) • ระบบเครืองสูบ นํา$ ดับ เพลิงและการ
ดับ เพลิงทัง$ หลาย คู่มือหน้ า 46,47
173

อาคารใต้ผิว ดิ น (Sub-Surface Building)


- ฉนวนของสายไฟฟ้ าต้องสามารถทน ระบบทีต 1 ้องการความปลอดภัยปกติ
อุณหภูมิ ได้ไม่ตLาํ กว่า 70 OC G Gen or Batt
มิเตอร์แรงสูง
- ฉนวนหรือวัสดุหุม้ สายไฟฟ้ า
การปล่อย สายทนไฟ
ต้านเปลว
หม้อแปลงไฟฟ้ า
ควัน ในช่องเดินสายโลหะ
เพลิMDB
ง EMDB
การปล่อย
ก๊าซกรด
ATS

สายไฟ
สาย LSHF
ในช่อ งเดิ น สาโลหะ
- ระบบแสงสว่างทัวไป
สายไฟฟ้ าทีเปลือ กมิ
กรณีไ ฟฟ้ า จากการไฟฟ้ าดับใ ช่เครื
โลหะจะต้ อ งาจะ
องกํา เนิด ไฟฟ้ - ระบบไฟฟ้ ากําลัง ทีนอกเหนือ จาก
สตาร์ท แ ละจ่ า ยโหลดโดยอัต โนมัต ิผ ่ า น Automatic ประเภทที 2 และประเภทที 3
เดิ น ในช่Switch
Transfer อ งเดิและถ้ น สายโลหะ
าไฟฟ้ ากลับ มาเป็ นปกติ เครือง
- ระบบปัj ม นํา$ ขึน$ ถังบนหลังคา
กรณี ใ ช้ท่อ โลหะบางข้ตอโนมั
กํ
า เนิ ด จะหยุ ด จ่ า ยโหลดโดยอั ต่อต ิและข้อ - ระบบระบายอากาศ คู่มือหน้ า 46
ต่อ ยึด ต้อ งเป็ น ชนิ ด กัน นํgา (raintight) - ระบบระบายนํา$ โดยทัวไป 174
อาคารใต้ผวิ ดิน(Sub-Surface Building)
- ฉนวนของสายไฟฟ้ าต้องสามารถทนระบบทีต 1 ้องการความปลอดภัยสูง
อุณหภูมิ ได้ไม่ตLาํ กว่า 70 OC G Gen or Batt
มิเตอร์แรงสูง
- ฉนวนหรือวัสดุหุม้ สายไฟฟ้ า
หม้อแปลงไฟฟ้ า สายทนไฟ
ต้านเปลว ในช่อ งเดิ น สายโลหะ
การทนไฟ เพลิง
MDB EMDB
การปล่อย การปล่อย
ควัน ก๊าซกรด ATS

สายทนไฟ
สายไฟ ในช่องเดินสายโลหะ

- ระบบระบายอากาศ เฉพาะส่ วนที2เกี2ย วกับการจ่ ายลม


-สายไฟฟ้ าทีเปลือ กมิ
กรณีไ ฟฟ้ า จากการไฟฟ้ าดับใเครื
ช่โลหะจะต้ อ งาจะ
องกํา เนิด ไฟฟ้ - ระบบระบายนําฉุกเฉิน
สตาร์ท แ ละจ่ า ยโหลดโดยอัต โนมัต ิผ ่ า น Automatic - ระบบลิฟต์ และบันไดเลื2อน
เดิ น ในช่Switch
Transfer อ งเดิและถ้น สายโลหะ
าไฟฟ้ ากลับ มาเป็ นปกติ เครือง
- ระบบสั ญญาณเตือนภัย ต่าง ๆ
กรณี ใ ช้ท่อ โลหะบางข้ตอโนมั
กํ
า เนิ ด จะหยุ ด จ่ า ยโหลดโดยอั ต่อตและข้
ิ อ - ระบบควบคุมคอมพิวเตอร์ คู่มือหน้ า 46
ต่อ ยึด ต้อ งเป็ น ชนิ ด กัน นํgา (raintight) - ระบบทางหนีภัย (escape way) 175

อาคารใต้ผวิ ดิน(Sub-Surface Building)


- ฉนวนของสายไฟฟ้ าต้องสามารถทน ระบบทีต 1 ้องการความปลอดภัยสูงมาก
O
อุณหภูมิ ได้ไม่ตLาํ กว่า 70 C G Gen or Batt
มิเตอร์แรงสูง
- ฉนวนหรือวัสดุหุม้ สายไฟฟ้ า
การทนไฟ ต้านเปลวเพลิ
หม้อแปลงไฟฟ้ า ง สายทนไฟ
ในช่องเดินสายโลหะ
MDB EMDB
การปล่อย การปล่อยก๊าซ
ควัน กรด
ATS

สายทนไฟ หรือ MI
สายไฟ
ในช่องเดินสายโลหะ
- ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุก เฉิน ทั$งในอาคารใต้ผ ิว ดิน และอุโมงค์ท างวิง
กรณี ไ ฟฟ้ า จากการไฟฟ้
-สายไฟฟ้ าดับใช่เครื องกํา เนิดอไฟฟ้
งเดิาจะ
ท แ ละจ่าาที
เL ปลือกมิ โลหะจะต้ น - ระบบอัด อากาศสําหรับ บัน ไดหนีไ ฟ
สตาร์ ยโหลดโดยอั ต โนมั ต ิผ ่ า น Automatic - ระบบดูด และระบายควัน รวมทั$งระบบควบคุม การกระจายของไฟและควัน
ในช่องเดิ
Transfer นสายโลหะ
Switch และถ้าไฟฟ้ ากลับ มาเป็ นปกติ เครือง - ระบบสือสารฉุก เฉิน (emergency communication)
กําเนิด จะหยุด จ่ายโหลดโดยอัต โนมัต ิ - ระบบระบายควัน ทั$งในอาคารใต้ผ ิว ดิน และอุโมงค์ท างวิง
กรณีใช้ท่อโลหะบางข้อต่อและข้อต่อยึด - ระบบเครืองสูบ นํา$ ดับ เพลิงและการดับ เพลิงทั$งหลาย คู่มือหน้ า 47
ต้องเป็ นชนิดกันนํYา (raintight) 176
อาคารใต้ผิว ดิ น (Sub-Surface Building)
กรณีเ มนสวิต ช์แ ละสวิต ช์ต ่างๆ - ฉนวนหรือวัสดุหุม้ สายไฟฟ้ าทีอL อก
จากเมนสวิตช์และสวิตช์ต่างๆ
ติด ตั$งอยู่ท ชัี $น ใต้ผ ิวดิน สําหรับวงจรทัวไป
L ต้านเปลว
เพลิง
G Gen or Batt
มิเตอร์แรงสูง การทนไฟ

หม้อแปลงไฟฟ้ า สายทนไฟ
การปล่ อย
ควัน องเดินสายโลหะ
ในช่ การปล่อย
MDB EMDB ก๊าซกรด

ATS

สาย LSHF สายทนไฟ


ในช่องเดินสายโลหะ
ในช่อ งเดิ น สายโลหะ -สายไฟฟ้ าทีเL ปลือกมิใช่โลหะจะต้องเดินใน
ระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง
ช่องเดินสายโลหะ
และกําลังทั1วไป กรณีใช้ท่อโลหะบางข้อต่อและข้อต่อยึด
ต้องเป็ นชนิดกันนํYา (raintight) 177

ภาคผนวก K รหัสสีและสีสัญลักษณ์ ทใี2 ช้ ในการติดตังงานระบบ


ลําด ับ รายละเอียด ต ัวอ ักษร รห ัสสี สีส ัญล ักษณ์ แสงสว่าง เต้ารับ
1 ช่องเดินสาย สายไฟฟ้ ากําลังปกติ N - ดํา LTG RCT
2 ช่องเดินสาย สายไฟฟ้ าวงจรช่วยชีวต
ิ LS แดง ดํา LTG RCT
3 ช่องเดินสาย สายไฟฟ้ าฉุกเฉิน E เหลือง ดํา LTG RCT
4 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม ้ FA ส ้ม ดํา
5 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบเสียงและประกาศเรียก PA ขาว ดํา
6 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบโทรทัศน์รวม MATV ขาว ดํา ไม่มีสี
7 ช่องเดินสาย สายสัญญาณ BAS BAS ฟ้ า ดํา

8 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด CCTV นํI าเงิน ขาว

9 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบควบคุมประตูเข ้า-ออก ACC นํI าเงิน ขาว


10 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบเรียกพยาบาล NC นํI าเงิน ขาว
11 ิ
ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบนาฬการวม CL นํI าตาล ขาว
12 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบโสตทัศนูปกรณ์ AV นํI าตาล ขาว
13 ช่องเดินสาย สายสัญญาณระบบ ICT ICT ดํา ขาว
14 อุปกรณ์ยด
ึ หรือแขวนช่องเดินสายไฟฟ้ าและสายสัญญาณ ม- เทาเข ้ม - คู่มือหน้ า 341,342
178
หมายเหตุ:
1) รหัสสี หมายถึง แถบสีทีใช้ ทําเครืองหมายทีช่องเดินสาย และฝากล่องไฟฟ้ าหรือฝากล่องดึง
สายเพือให้ ทราบว่าเป็ นช่องเดินสายของระบบใด
2) สีสัญลักษณ์ หมายถึง สีของตัวอักษรทีอยู่บนฝากล่องไฟฟ้ า ฝากล่องดึงสาย เพือให้ ทราบว่า
เป็ นกล่องไฟฟ้ าหรือกล่องดึงสายของระบบใด
3) ลําดับที 1, 2 และ 3 ตัวอักษรตามสีสัญลักษณ์ วงจรแสงสว่างใช้ “LTG” วงจรเต้ ารับใช้ “RCT”
4) การแสดงรหัสสีของช่องเดินสาย ให้ แสดงรหัสสีทีตัวจับยึดของท่อร้ อยสาย สําหรับฝากล่อง
ไฟฟ้ า และฝากล่ องดึงสายต้ องมีตัวอักษรตามสีสัญลั กษณ์ด้ วย (ในกรณีทีกล่ องดึงสายมีงาน
หลายระบบดึงผ่านอนุ ญาตให้ ไม่ต้องทํารหัสสีและสีสัญลักษณ์ทีฝากล่องดึงสายได้ ) ส่วนราง
เดินสายให้ แสดงรหัสสีทุกระยะไม่เกิน 3 เมตร และห่างจากกล่องดึงสายหรืออุปกรณ์ไม่เกิน
0.90เมตร โดยรหัสสีกว้ างไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร และตัวอักษรตามสีสัญลักษณ์สูงไม่น้อยกว่า
20 มิลลิเมตร

คู่มือหน้ า 342
ภาคผนวก K. 179

ไม่มสี ี
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.

N ไฟฟ้ ากําลังปกติ
สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.

LS ไฟฟ้ าช่วยชีวิต
สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.

E ไฟฟ้ าฉุกเฉิ น
สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี

ไฟฟ้ ากําลังปกติ ไฟฟ้ าช่วยชีวิต ไฟฟ้ าฉุกเฉิ น คู่มือหน้ า 343


ภาคผนวก K. 180
ไม่มสี ี
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.

LTG ไฟฟ้ ากําลังปกติ


สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

LTG วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต


สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

LTG ไฟฟ้ าฉุกเฉิ น


สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี

วงจรไฟฟ้ าแสงสว่างใช้ LTG


คู่มือหน้ า 343
ภาคผนวก K. 181

ไม่มสี ี
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.

RCT ไฟฟ้ ากําลังปกติ


สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

RCT วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวิต


สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

RCT ไฟฟ้ าฉุกเฉิ น


สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี

วงจรไฟฟ้ าเต้ารับใช้ RCT


คู่มือหน้ า 343
ภาคผนวก K 182
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.
FA สัญญาณเตือนเพลิ งไหม้

สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

PA เสียงและประกาศเรียก
สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

MATV โทรทัศน์ รวม

สีสญ
ั ลักษณ์ รหัสสี รหัสสี
กล่องไฟฟ้ า

BAS BAS
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์ คู่มือหน้ า 344
ภาคผนวก K 183

กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.
CCTV โทรทัศน์วงจรปิ ด
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์ กล่องไฟฟ้ า

ACC ควบคุมประตูเข้าออก
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์ กล่องไฟฟ้ า

NC ระบบเรียกพยาบาล
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์

คู่มือหน้ า 345
ภาคผนวก K.
184
กล่องไฟฟ้ า
< 0.9 ม.
CL นาฬิ การวม
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์ กล่องไฟฟ้ า

AV โสตทัศนูปกรณ์
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์ กล่องไฟฟ้ า

ICT ICT
รหัสสี รหัสสี
สีสญ
ั ลักษณ์

ภาคผนวก K. คู่มือหน้ า 345, 346


185

กล่องดึงสาย ICT
ICT
กล่องดึงสาย < 0.9 ม. < 3.0 ม.
< 0.9 ม.
≥ 20 mm. ICT ≥ 30 mm.≥ 30 mm. ICT

ICT

รางเดินสายให้ แสดงรหัสสี ทุกระยะ


ไม่เกิน 3 เมตร และห่ างจากกล่องดึง
สายหรื ออุปกรณ์ไม่เกิน 0.90 เมตร
< 3.0 ม.
≥ 20 mm. ICT ≥ 30 mm. โดยรหัสสี กว้ างไม่น้อยกว่ า 30
มิลลิเมตร และตัวอักษรตามสี
สั ญลักษณ์สูงไม่น้อยกว่ า 20
มิลลิเมตร ICT

ภาคผนวก K. คู่มือหน้ า 346


186
กล่องดึงสาย กล่องดึงสาย
N FA

ฝ้าเพดาน ฝ้าเพดาน
< 0.9 ม. < 0.9 ม.

N FA
รางเดินสายให้ แสดงรหัสสี
< 0.9 ม. ทุกระยะไม่ เกิน 3 เมตร < 0.9 ม.
และห่ างจากกล่ องดึงสาย
หรื ออุปกรณ์ ไม่ เกิน 0.90
LOAD CENTER เมตร โดยรหัสสี กว้ างไม่
น้ อยกว่ า 30 มิลลิเมตร
( N ไม่ มีสี ) และตัวอักษร
ตามสี สัญลักษณ์ สูงไม่ น้อย
กว่ า 20 มิลลิเมตร
FCP
187
ภาคผนวก K คู่มือหน้ า 346

ด้ วยความปรารถนาดีและขอขอบคุณ

บริ ษทั สายไฟฟ้าไทย-ยาซากิ จํากัด 188


พิ ม พ์ค รัง้ ที่ 2

ลือชัย ทองนิ ล
 อดีตประธานสาขาไฟฟ้ า วสท.
 ที่ปรึกษาสาขาไฟฟ้ า วสท.
 ปัจจุบนั กรรมการและเลขาธิการ
สภาวิศวกร สมัยที่ 8
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 1

เกี่ยวกับวิทยากร…โดยย่อ
นายลือชัย ทองนิ ล
ได้รบั รางวัล AFEO Honorary Member Award CAFEO 31 Jakarta, Indonesia 2013
ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า วสท (พ.ศ. 2563-2565)
กรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 5,6 และ 8
คณะอนุ กรรมการทดสอบความรูค้ วามชํานาญการประกอบวิชาชีพ ระดับวุฒวิ ศิ วกร และสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
สภาวิศวกร
อดีตประธานคณะกรรมการวิชาการฯ มาตรฐานรายสาขาไฟฟ้ ากําลังและสายไฟฟ้ า สมอ.
อดีตผูอ้ าํ นวยการไฟฟ้ าเขตมีนบุรี การไฟฟ้ านครหลวง
ประธานคณะอนุ กรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้ าฯ พ.ศ. 2564
ดูงานด้านระบบไฟฟ้ าในหลายประเทศเช่น สหรัฐอเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ ฯลฯ
ที่ปรึกษาสมาคมช่างเหมาไฟฟ้ าและเครื่องกลไทย สมาคมเครื่องกําเนิ ดไฟฟ้ าไทย และสมาคมผูต้ รวจสอบอาคาร ฯลฯ
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 2
ผลงานวิชาการ
แต่งหนังสือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ า ตามมาตรฐานการไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 41 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จาก
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
แต่งหนังสือ คู่มือวิศวกรไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 19 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปนุ่ )
แต่งหนังสือ การตรวจความปลอดภัยระบบไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 11 ได้รบั รางวัลหนังสือยอดนิ ยม จากสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปนุ่ )
แต่งหนังสือ คู่มือช่างชาวบ้าน ฉบับช่างไฟฟ้ า พิมพ์ครัง้ ที่ 13 (อัมรินทร์พริ้นติ้ง))
แต่งหนังสือ การออกแบบและติดตัง้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ พิมพ์ครัง้ ที่ 4 (วสท.)
แต่งหนังสือ คู่มือความปลอดภัยทางไฟฟ้ าในสถานประกอบการ พิมพ์ครัง้ ที่ 3 (สสท.)
และอีกหลายเล่ม เช่น คู่มือการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมืออาชีพ, บริษทั สายไฟฟ้ าไทย-ยาซากิ จํากัด
เขียนบทความ ในวารสารต่างๆ หลายเรื่อง
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 3

หัวข้อการบรรยาย

บทที่ 2 ชนิ ดของสายไฟฟ้ าและการใช้งาน

บทที่ 3 การเดินสายไฟฟ้ า

บทที่ 6 มอเตอร์ไฟฟ้ า

บทที่ 7 หม้อแปลงไฟฟ้ า
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 4
ชนิ ดของสายไฟฟ้ าและการใช้งาน

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 5

แนวทางการเลือกสายไฟฟ้ า (ฉนวน PVC กับ XLPE)


อุณหภูมิใช้งาน Ampacity
PVC 70OC Loss
XLPE 90OC Voltage drop
ผลของความร้อนที่มีต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ า
คุณสมบัตติ า้ นเปลวเพลิง
ควัน
ความแข็งแรงทางกายภาพ
การทนความร้อนจากกระแสลัดวงจร
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 6
สายไฟฟ้ าแรงตํา่ ตาม มอก. (คุณสมบัตแิ ละการใช้งาน…ตัวนํ าทองแดง)

มอก. 11-2553 60227 IEC 01 & IEC 10


ฉนวน PVC
มอก. 11-2559 VAF, NYY, VCT

ชนิ ดของ ฉนวน


XLPE (CV)
มอก. 2143
สายไฟฟ้ า XLPE
ต้านเปลวเพลิง
สายที่มี มอก. 2755, ถึง 2758 มอก. 3197 ควันน้อย
คุณสมบัติ ไร้ฮาโลเจน
พิเศษ
ทนไฟ
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 7

ตารางที่ 5-48 ในภาคผนวก ก.


PVC
ติดตัง้ ในอาคารต้องเดินในช่องเดินสายที่ปิด
มิดชิด ยกเว้น มีคณ ุ สมบัตติ า้ นเปลวเพลิง
การใช้งาน
XLPE และ คํานึ งถึงพิกดั กระแสและอุณหภูมิของ
สายไฟฟ้ า อุปกรณ์ท่ตี ่อด้วย

อืน่ ๆ สายที่มีลกั ษณะเฉพาะเช่น สายทนไฟ สาย


ควันน้อย ฯลฯ ใช้ในพื้นที่จาํ กัดบางแห่งที่
ต้องการคุณสมบัตพิ เิ ศษเท่านั้น
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 8
การใช้งานสายแรงตํา่ (ที่มีใช้งานทัว่ ไป)
สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 01
- ขนาด 1.5-400 ตร.มม.
- จํานวนแกน แกนเดียว
- สายดิน ไม่มี
- อุณหภูมิตวั นํ า 70 OC
- เปลือก ไม่มี
- แรงดัน U0/U 450/750 V
การใช้งาน
ใช้งานทัว่ ไป
เดินในช่องเดินสายและต้องป้ องกันนํ้ าเข้าช่องเดินสาย
ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 9

สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 10

- ขนาด 1.5-35 ตร.มม. การใช้งาน


- จํานวนแกน หลายแกน  ใช้งานทัว่ ไป
- สายดิน มี/ไม่มี  เดินในช่องเดินสายและต้องป้ องกันนํ้ า
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC เข้าช่องเดินสาย
- เปลือก มี  วางบนรางเคเบิล
- แรงดัน U0/U 300/500 V  ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 10
สาย มอก.11 เล่ม 101-2559, VAF
- ขนาด 1.0-16 ตร.มม.
- จํานวนแกน 2 และ 2 แกนมีสายดิน
- สายดิน มี/ไม่มี
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC
- เปลือก มี
- แรงดัน U0/U 300/500 V การใช้งาน
- V หมายถึง เปลือกเป็ น PVC เดินเกาะผนัง
- A หมายถึง Annealed Copper เดินในช่องเดินสาย ห้ามร้อยท่อ
- F หมายถึง ชนิ ดสายแบน ห้ามฝังดิน
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 11

สาย มอก.11 เล่ม 101-2559, NYY

แกนเดียว 1.0-500 ตร.มม. การใช้งาน


- ขนาด หลายแกน 1.0-300 ตร.มม.  ใช้งานทัว่ ไป
หลายแกนมีสายดิน 1.0-300 ตร.มม.  วางบนรางเคเบิล
- จํานวนแกน แกนเดียว และ หลายแกน  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดิน
- สายดิน มี/ไม่มี โดยตรง
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC
- N หมายถึง มาตรฐาน VDE
- เปลือก มี
- Y หมายถึง เปลือกเป็ น PVC
- แรงดัน U0/U 450/750 V - Y หมายถึง ฉนวนเป็ น PVC
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 12
สาย มอก.11 เล่ม 101-2559, VCT

ตัวนํ ามีลกั ษณะเป็ นสายฝอย


การใช้งาน
- ขนาด 1.0-35 ตร.มม.  ใช้งานทัว่ ไป
- จํานวนแกน แกนเดียว และ หลายแกน  ใช้ต่อเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้ า
- สายดิน มี/ไม่มี  วางบนรางเคเบิล
- อุณหภูมิตวั นํ า 70OC  ร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
- เปลือก มี
- V หมายถึง เปลือกเป็ น PVC
- แรงดัน U0/U 450/750 V - CT หมายถึง cabtyre cable

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 13

สายไฟฟ้ าตาม มอก. 2143 หรือ IEC 60502-1

แกนเดียว 1.5-1,000 ตร.มม. Cross Linked Polyethylene (XLPE)


- ขนาด
หลายแกน 1.5-400 ตร.มม.
- จํานวนแกน แกนเดียว และ หลายแกน
- สายดิน มี/ไม่มี
- อุณหภูมิตวั นํ า 90OC
- เปลือก มี
- แรงดัน U0/U 0.6/1 kV

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 14


ตัวอย่าง สายไฟฟ้ าตาม IEC 60502-1, XLPE

Armour : AWA (Aluminium wire armour) for single core cable


: SWA (Steel wire armour) for multi-cores cable
: STA (Steel tape armour) for multi-cores cable
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 15

การใช้งานสาย XLPE ตามที่กาํ หนดในมาตรฐานฯ

ใช้งานทัว่ ไป

วางบนรางเคเบิล เดินร้อยท่อฝังดินหรือฝังดินโดยตรง
การติดตัง้ ภายในอาคารต้องเดินในช่องเดินสายที่ปิด
มิดชิด ยกเว้น สายมีคณ
ุ สมบัตติ า้ นเปลวเพลิง ตาม
มาตรฐาน IEC 60332-3 category C (มอก. 2756)
ต้องคํานึ งถึงพิกดั กระแสและอุณหภูมิของอุปกรณ์ท่ตี ่อด้วย
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 16
เลือกตามความ
สายไฟฟ้ าที่มีคณ
ุ สมบัตพิ เิ ศษ ต้องการใช้งาน

การทนไฟ (Fire Resistant) เป็ นไปตาม IEC 60331, มอก. 2755 & BS 6387, มอก. 3197
ต้านเปลวเพลิง (Flame Retardant) IEC 60332-1 or 60332-3, มอก. 2756
การปล่อยก๊าซกรด (Acids Gas Emission) IEC 60754, มอก. 2757 เล่ม 1&2
การปล่อยควัน (Smoke Emission) 61304-2, มอก. 2758

สายทนไฟ
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 17

คุณสมบัตติ า้ นเปลวเพลิง IEC 60332-1 (ระดับตํา่ )..มอก 2756

เส้นผ่านศูนย์กลางของสายไฟฟ้ า เวลาที่ใช้ในการเผา
(มม.) (S)
D ≤ 25 60 ± 2
25 < D ≤ 50 120 ± 2
50 < D ≤ 75 240 ± 2
D > 75 480 ± 2

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 18


การทดสอบต้านเปลวเพลิง
 50 mm

550 มม. mm  540 mm

ถ้าระยะระหว่างขอบล่างของแขนยึดตัวบนกับจุดบนสุดของส่วนที่ไหม้ไฟมากกว่า 50 มม. และระยะห่าง


ระหว่างขอบล่างของแขนยึดตัวบนกับจุดล่างสุดของส่วนที่ไหม้ไฟไม่เกิน 540 มม. ถือว่าผ่าน
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 19

คุณสมบัตติ า้ นเปลวเพลิง IEC 60332-3 (ระดับสูง) ..มอก 2756


ตาราง ปริมาณของวัตถุดิบที่ตดิ ไฟได้และระยะเวลาในการเผา
วัตถุดิบที่ตดิ ไฟได้ เวลาในการเผา มาตรฐานการ
Category
(ลิตร/เมตร) (นาที) ทดสอบ
A F/R 7 40 IEC 60332-3-21
A 7 40 IEC 60332-3-22
B 3.5 40 IEC 60332-3-23
C 1.5 20 IEC 60332-3-24
D 0.5 20 IEC 60332-3-25
สายขนาด ≤ 35 ตร.มม. มัดติดกัน ขนาด > 35 ตร.มม. มัดเว้นระยะห่างระหว่างสายไฟฟ้ า
ประมาณครึ่งหนึ่ งของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสายไฟฟ้ าแต่ระยะห่างต้องไม่เกิน 20 มม.
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 20
การทดสอบต้านเปลวเพลิง IEC 60332-3 (ระดับสูง)

สายไฟฟ้ าจะต้องมีระยะการถูกเผาไหม้สูงไม่เกิน 2.5 ม. โดยวัดจากหัวเผา

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 21

การทดสอบความหนาแน่ นของควัน (Smoke Density Test)


IEC 61034 หรือ BS EN 50268…มอก 2758

ความหนาแน่ นของควัน
Light
Source Photocell
การประเมินผล
 ความเข้มของแสงที่จดบันทึกไว้จาก
เครื่องรับแสง ต้องมีความเข้มแสง
หลังการทดสอบ ไม่นอ้ ยกว่า 60%
ก่อนการทดสอบ
ห้องขนาด 333 m
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 22
ทดสอบการปล่อยก๊าซกรด (Acids Gas Emission) : IEC 60754-1 และ IEC 60754-2
หรือ BS EN 60267-1 และ BS EN 50267-2 ..มอก 2757

การปล่อยก๊าซกรด

ค่าปริมาณก๊าซฮาโลเจน ในรูปก๊าซฮาโลเจน จะต้องไม่เกิน 0.5% ของปริมาณตัวอย่างตาม IEC 60754-1 หรือ BS


EN 50267-2-1 และในกรณี ทดสอบค่า pH และ conductivity ตาม IEC 60754-2 หรือ BS EN 50267-2-2 โดย
ค่า pH ที่ได้ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 4.3 และค่า conductivity จะต้องไม่เกิน 10 𝜇S/mm
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 23

สายทนไฟ BS 6387 (ระดับชัน้ CWZ)...มอก. 3197

- การทดสอบความต้านทานต่อการเผาไหม้ของสายไฟฟ้ า (protocol C for resistance to fire alone)


- การทดสอบความต้านทานการเผาไหม้และการฉี ดนํ้ า (protocol W resistance to fire with water)
- การทดสอบความต้านทานการเผาไหม้และมีการกระแทก (protocol Z resistance to fire with
mechanical shock)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 24
ทดสอบการทนไฟ

ตาราง เงือ่ นไขการทดสอบ


สัญลักษณ์ อุณหภูมิท่ที ดสอบ (๐C) ระยะเวลาทดสอบ (นาที)
C 950 ± 40 180
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 25

ทดสอบการทนนํ้ า

ตาราง เงือ่ นไขการทดสอบ


สัญลักษณ์ อุณหภูมิท่ที ดสอบ (ºC) ระยะเวลาทดสอบ (นาที)
W 650 ± 40 15 นาที และสเปรย์น้ํ าอีก 15 นาที
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 26
ทดสอบ Resistance to Fire with Mechanical Shock

ตาราง เงือ่ นไขการทดสอบ


สัญลักษณ์ อุณหภูมิท่ที ดสอบ (ºC) ระยะเวลาทดสอบ (นาที)
Z 950 ± 40 15
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 27

วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ

หมายถึง ต้องใช้สายทนไฟ
 อาคารชุด อาคารสูง &
วงจรที่จาํ เป็ นต้องจ่ายไฟให้บริภณั ฑ์ไฟฟ้ าให้
สามารถใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุท่ตี อ้ งการหนี ภยั อาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ
 อาคารใต้ผิวดิน
การเดินสาย  โรงมหรสพ
สายไฟฟ้ าที่เปลือกนอกมิใช่โลหะจะต้องเดินสายใน  สถานบริการ
ช่องเดินสายโลหะ  โรงแรม
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 28
วงจรไฟฟ้ าช่วยชีวติ …..ได้แก่ สายทนไฟตาม BS 6387 CWZ, มอก.3197 หรือ MI

ระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้ าสํารองสําหรับกรณี ฉุกเฉิ นไปยังแผงจ่ายไฟฟ้ าฉุกเฉิ นเพือ่ การหนี ภยั


ระบบอัดอากาศสําหรับบันไดหนี ไฟ
ระบบดูดและระบายควันรวมทัง้ ระบบควบคุมการกระจายของไฟและควัน
ระบบเครื่องสูบนํ้ าและระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
ระบบลิฟต์ดบั เพลิง
ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้และระบบสือ่ สารฉุกเฉิ นสําหรับแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท.) (IEC 60331, มอก.2755)
ระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิ น ให้เป็ นไปตามมาตรฐานระบบไฟฟ้ าแสงสว่างฉุกเฉิ นและไฟฟ้ า
ป้ ายทางออกฉุกเฉิ น (วสท.) (IEC 60331, มอก.2755)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 29

สายไฟฟ้ าระบบแรงสูง (ที่มีการใช้งานทัว่ ไป)


สายเปลือย, Bare Conductor (AAC & ACSR)
สายหุม้ ฉนวนแรงสูงไม่เต็มพิกดั , Partially insulated Conductor (APC หรือ PIC)
สายหุม้ ฉนวนแรงสูง 2 ชัน้ ไม่เต็มพิกดั , Spaced aerial Cable (ASC หรือ SAC)
สายหุม้ ฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั ตีเกลียว, Fully insulated Cable (AFC, TAC)
สายใต้ดิน, Underground Cable

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 30


สายไฟฟ้ าระบบแรงสูง (12-33 kV)
ชนิ ดและการใช้งาน

สายเปลือย, Bare Conductor (BC)


สายหุม้ ฉนวนแรงสูงไม่เต็มพิกดั , Partially Insulated Conductor
(APC หรือ PIC)

คู่มอื การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมืออาชีพ...ลือชัย ทองนิล


31

Spaced aerial cable, โครงสร้าง

Al. Conductor, XLPE Insulation


Compacted Round

Conductor Shield, XLPE Jacket


Semiconductor Material

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 32


รูปแบบการติดตัง้ สาย SAC/ASC

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 33

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 34


คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 35

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 36


สายไฟฟ้ าระบบแรงสูง (แรงดัน 12–33 kV)

สายหุม้ ฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั ตีเกลียว, Fully insulated Cable (AFC, TAC)


สายใต้ดิน, Underground Cable

คู่มอื การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมืออาชีพ...ลือชัย ทองนิ ล 37

สายหุม้ ฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั ตีเกลียว, Fully Insulated Cable (AFC, TAC)

AFC

TAC

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 38


โครงสร้างสายไฟฟ้ าแรงสูง (CV Cable) แรงดัน 12/20(24) kV

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 39

การต่อสาย
What is Electric Stress

Insulation Shield
50% Insulation
10% 90%

Equipotential Line Conductor (100% Line Voltage)


Cable end without stress cone device
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 40
What is Electric Stress

Cable End With Stress Cone Device ต่อลงดินด้วย

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 41

Surge Arrester….ถ้ามี

ถ้ามีกบั ดักฟ้ าผ่าด้วย


• สายดินของอะเรสเตอร์ต่อลงดินร่วมกับชิลดิ์ของสายใต้
ดิน และแยกจาก GROUND BUS ของแผงสวิตช์
• สายดิน ใช้สายทองแดงหุม้ ฉนวนทนแรงดันไม่ตาํ ่ กว่า
1,000 V. ขนาดไม่เล็กกว่า 16 ตร.มม. วางบนลูกถ้วย
พิกดั แรงดัน 1,000 V.

บทที่ 5 ข้อ กํา หนดการเดิ น สายและวัส ดุ


42
Terminator ชนิ ดต่าง ๆ

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 43

การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า
VAF, IEC 01, IEC 10,
NYY, VCT, XLPE

เลือกชนิ ดของ สาย มอก.11


XLPE
สายไฟฟ้ า
ปรับค่า
หากระแสโหลด & เลือกตาราง เลือกขนาด
C a & Cg
ขนาดกระแส สายไฟฟ้ าจาก
กําหนด CB, In (ดูหมายเหตุ
ของสายไฟฟ้ า ตาราง
ต่อท้ายตาราง)
วิธีการเดินสาย
(รูปแบบการ It ≥ In/(Ca  Cg)
Ca = อุณหภูมิโดยรอบ
ติดตัง้ ) Cg = จํานวนกลุม่ วงจร สายไฟฟ้ าต้องมี
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล ขนาดกระแสไม่44ตาํ ่ กว่า It
การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า

1. คํานวณโหลดและกําหนดขนาดเครื่องป้ องกันกระแสเกิน

2. เลือกชนิ ดของสายและวิธกี ารเดินสาย

3. เลือกตารางขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า

4. กําหนดตัวคูณปรับค่า (Ca, Cg)

5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า It ≥ In/(Ca × Cg)


คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 45

ตารางที่ 2.11
ภาคผนวก A
รูปแบบการติดตัง้ สาย PVC สาย XLPE หมายเหตุ
กลุม่ ที่ 1 & 2 ตารางที่ 5-20 ตารางที่ 5-27 ร้อยท่อ
กลุม่ ที่ 3 ตารางที่ 5-21 ตารางที่ 5-21 เกาะผนัง
กลุม่ ที่ 4 ตารางที่ 5-22 ตารางที่ 5-28 ในอากาศ
กลุม่ ที่ 5 & 6 ตารางที่ 5-23 ตารางที่ 5-29 ฝังดิน
กลุม่ ที่ 7 ตารางที่ 5-30 ตารางที่ 5-32 บนรางเคเบิล
30(ก) & 5-31 5-32(ก) & 5-33
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 46
ตารางขนาดกระแสของสายบนรางเคเบิล (กลุม่ ที่ 7)
ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน PVC ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70ºC อุณหภูมิ
5-30 โดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบระบายอากาศหรือรางเคเบิลแบบบันได
PVC

ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน PVC มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U)


5-30(ก) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ
ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน PVC ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70ºC อุณหภูมิ
5-31 โดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลมีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ แบบระบายอากาศ และแบบบันได
ตารางที 5- ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนําทองแดงหุม้ ฉนวน PVC ขนาดแรงดัน (U /U)
0
30
ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน ไม่XLPE
เ กิน 0.6/1ขนาดแรงดั
kV อุณหภูม ิต ัวนํา 70ºC
น (Uอุณหภู/U)
ม ิโ ดยรอบ เกินวางบนราง
ไม่40ºC 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 90ºC อุณหภูมิ
ตารางที่ เคเบิล ไม่ม ีฝ าปิ ด แบบระบายอากาศหรือ รางเคเบิ0ล แบบบัน ได

5-32 โดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบระบายอากาศและแบบบันได


XLPE

ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ XLPE มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 90ºC
5-32(ก) อุณหภูมิโดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ
ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน XLPE มีเปลือก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 90ºC
5-33 อุณหภูคูม่มอื ิโการติ
ดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลมีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ แบบระบายอากาศ และแบบบัน47ได
ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล

การติดตัง้ สายไฟฟ้ า แบ่งเป็ น 7+1 กลุม่ (ตารางที่ 5-47) ไม่รวม MI Cable

ลักษณะการ
วิธีการเดินสาย รูปแบบการติดตัง้
ติดตัง้
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวน มี/ไม่
มีเปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรืออโลหะ หรือ
ภายในฝ้ าเพดานที่เป็ นฉนวนความร้อน หรือ กลุม่ ที่ 1
ผนังกันไฟ
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวน มี/ไม่
มีเปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรืออโลหะเดิน
เกาะผนังหรือเพดาน หรือฝังในผนังคอนกรีต หรือ กลุม่ ที่ 2
หรือที่คล้ายกัน
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 48
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวนมี
เปลือกนอก เดินเกาะผนัง หรือเพดาน ที่
ไม่มีสง่ิ ปิ ดหุม้ ที่คล้ายกัน
กลุม่ ที่ 3

สายเคเบิลแกนเดี่ยวหุม้ ฉนวน มี/ไม่มี


D
เปลือกนอก วางเรียงกันแบบมีระยะห่าง
เดินบนฉนวนลูกถ้วยในอากาศ
กลุม่ ที่ 4
D
สายแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้ ฉนวนมี
เปลือกนอก เดินในท่อโลหะหรืออโลหะ
ฝังดิน
กลุม่ ที่ 5

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 49

สายแกนเดี่ยว หรือหลายแกน หุม้ ฉนวน


มีเปลือกนอก ฝังดินโดยตรง
กลุม่ ที่ 6

สายเคเบิลแกนเดี่ยวหรือหลายแกนหุม้
ฉนวน มีเปลือกนอก วางบนรางเคเบิล
แบบด้านล่างทึบ, รางเคเบิลแบบระบาย กลุม่ ที่ 7
อากาศ หรือรางเคเบิลแบบบันได
การเดินสายในรางเดินสาย
กลุม่ +1

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 50


ตัวอย่างที่ 2.2 (P58) วงจรไฟฟ้ า 1 เฟส 230 V จํานวน 2 วงจร วงจรแรก CB 32A วงจรที่ 2 CB 40A ใช้สาย NYY
2 แกน เดินรวมในท่อเดียวกัน ท่อเดินเกาะผนัง ต้องการกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า กําหนดให้อณ ุ หภูมิโดยรอบ 45OC

1. คํานวณโหลดและ 32A
กําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระแสเกิน (In) 40A ตารางที่ 2.11
รูปแบบการติดตัง้ สาย PVC สาย XLPE
2. เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ าและวิธกี ารเดินสาย NYY กลุม่ ที่ 1 & 2 ตารางที่ 5-20 ตารางที่ 5-27
กลุม่ 2
กลุม่ ที่ 3 ตารางที่ 5-21 ตารางที่ 5-21
3. เลือกตารางขนาดกระสของสายไฟฟ้ า
กลุม่ ที่ 4 ตารางที่ 5-22 ตารางที่ 5-28
4. กําหนดตัวคูณปรับค่า Ca & Cg

5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า
It ≥ In/(Ca × Cg)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 51

ตารางที่ 5-20 (บางส่วน)


ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน (U0/U)
ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสายในอากาศ
ลักษณะการติดตัง้ กลุม่ ที่ 1 กลุม่ ที่ 2
จํานวนตัวนํ ากระแส 2 3 2 3
ลักษณะตัวนํ า แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน
รูปแบบการติดตัง้
ระบบไฟฟ้ า AC หรือ DC AC AC หรือ DC AC
รหัสชนิ ดเคเบิล 60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06,
รหัสชนิ ดเคเบิล
60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 รวมถึงสายที่มีคณ ุ สมบัตติ ่าง ๆ เช่น สายทนไฟ
ที่ใช้งาน สายไรฮาโลเจน และ สายควันน้อย เป็ นต้น
ขนาดสาย (ตร.มม.) ขนาดกระแส (A)
1 10 10 9 9 12 11 10 10
1.5 13 12 12 11 15 14 13 13
2.5 17 16 16 15 21 20 18 17
4 23 22 21 20
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล
28 26 24 23 52
หมายเหตุ (ตารางที่ 5-20)
1. อุณหภูมิโดยรอบที่แตกต่างจาก 40 องศาเซลเซียส ให้ใช้ตวั คูณปรับค่า
ตามที่ระบุไว้ในตารางที่ 5-43 Ca
2. ในกรณี มีจาํ นวนตัวนํ ากระแสมากกว่า 1 กลุม่ วงจร ในช่องเดินสาย ให้ใช้
ตัวคูณปรับค่าตามที่ระบุไว้ในตารางที่ 5-8 Cg
3. ดูคาํ อธิบายรูปแบบการติดตัง้ ในตารางที่ 5-47
4. ดูคาํ อธิบายรหัสชนิ ดเคเบิลที่ใช้งานในตารางที่ 5-48
เมื่อเลือกตารางได้แล้ว ท้ายตารางจะบอกเลขที่ตารางที่ใช้ปรับค่า Ca & Cg

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 53

ตารางที่ 5-43
ตัวคูณค่าอุณหภูมิโดยรอบแตกต่างจาก 40OC ใช้กบั ค่าขนาดกระแสของเคเบิล
เมื่อเดินในอากาศ
อุณหภูมิโดยรอบ ฉนวน
(องศาเซลเซียส) PVC XLPE หรือ EPR เอ็มไอ
21-25 1.22 1.14 1.26
26-30 1.15 1.10 1.18
31-35 1.08 1.02 1.09
36-40 1.0 1.0 1.0
41-45 0.91 Ca 0.96 0.91
46-50 0.82 0.90 0.79
51-55 0.70 0.84 0.67

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 54


ตารางที 5-8
ตัวคูณปรับ ค่าขนาดกระแสเนืองจากจํานวนสาย
ทีนํากระแสในช่อ งเดิน สายไฟฟ้ าเดียวกัน มากกว่า 1 กลุ่ม วงจร
จํานวนกลุม่ วงจร ตัวคูณ
2 0.80
3 0.70
4 0.65
5 0.60
6 0.57
7 0.54
8 0.52
9 0.50
10-12 0.45
13-16 0.41
17-20 0.38
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 55

ตัวอย่างที่ 2.2 (P58) วงจรไฟฟ้ า 1 เฟส 230 V จํานวน 2 วงจร วงจรแรก CB 32A วงจรที่ 2 CB 40A ใช้สาย NYY
2 แกน เดินรวมในท่อเดียวกัน ท่อเดินเกาะผนัง ต้องการกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า กําหนดให้อณ ุ หภูมิโดยรอบ 45OC

1. คํานวณโหลดและ 32A
กําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระแสเกิน (In) 40A ตารางที่ 2.11
รูปแบบการติดตัง้ สาย มอก.11-2553 สาย XLPE
2. เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ าและวิธกี ารเดินสาย NYY กลุม่ ที่ 1 & 2 ตารางที่ 5-20 ตารางที่ 5-27
กลุม่ 2 กลุม่ ที่ 3 ตารางที่ 5-21 ตารางที่ 5-21
3. เลือกตารางขนาดกระสของสายไฟฟ้ า กลุม่ ที่ 4 ตารางที่ 5-22 ตารางที่ 5-28
จํานวนกลุม่ วงจร ตัวคูณ (Cg)
4. กําหนดตัวคูณปรับค่า Ca & Cg 2 0.80 Ca = 0.91
3 0.70
5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า CB 32A, It ≥ 32/(0.91 0.8) ≥ 44A สาย 10 ตรมม (45A)
It ≥ In/(Ca × Cg)
CB 40A, It ≥ 40/(0.91 0.8) ≥ 55A สาย 16 ตรมม (60A)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 56
ตารางที่ 5-20 (บางส่วน) ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน
(U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสายในอากาศ
ลักษณะการติดตัง้ กลุม่ ที่ 1 กลุม่ ที่ 2
จํานวนตัวนํ ากระแส 2 3 2 3
ลักษณะตัวนํ า แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน
รูปแบบการติดตัง้
ระบบไฟฟ้ า AC หรือ DC AC AC หรือ DC AC
รหัสชนิ ดเคเบิล 60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06,
รหัสชนิ ดเคเบิล
60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 รวมถึงสายที่มีคณ ุ สมบัตติ ่าง ๆ เช่น สายทนไฟ
ที่ใช้งาน สายไรฮาโลเจน และ สายควันน้อย เป็ นต้น
ขนาดสาย (ตร.มม.) ขนาดกระแส (A)
2.5 17 16 16 15 21 20 18 17
4 23 22 21 20 28 26 24 23
6 30 28 27 25 36 33 31 30
10 40 37 37 34 50 45 44 40
16 53 50 49 45
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล
66 60 59 54
57

ตัวอย่างที่ 2.3 (P59)


หม้อแปลงไฟฟ้ าขนาด 630 kVA ด้านแรงตํา่ ใช้เซอร์กติ เบรกเกอร์ขนาด 800 A (การ
กําหนดขนาดเซอร์กติ เบรกเกอร์ ดูเรื่องหม้อแปลงไฟฟ้ า) ใช้สาย NYY ชนิ ดแกนเดียวเดิน
บนรางเคเบิลแบบระบายอากาศไปยัง MDB ต้องการกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า กําหนดให้ใช้
สายเฟสละ 3 เส้น สายวางเรียงชิดติดกัน อุณหภูมิโดยรอบสถานที่ตดิ ตัง้ 40OC

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 58


ตารางขนาดกระแสของสายบนรางเคเบิล (กลุม่ ที่ 7)
ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน PVC ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70ºC อุณหภูมิ
5-30 โดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบระบายอากาศหรือรางเคเบิลแบบบันได
PVC

ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน PVC มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U)


5-30(ก) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70ºC อุณหภูมิโดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ
ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน PVC ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70ºC อุณหภูมิ
5-31 โดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลมีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ แบบระบายอากาศ และแบบบันได
ตารางที 5- ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าตัวนําทองแดงหุม้ ฉนวน PVC ขนาดแรงดัน (U /U)
0
30
ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน ไม่XLPE
เ กิน 0.6/1ขนาดแรงดั
kV อุณหภูม ิต ัวนํา 70ºC
น (Uอุณหภู/U)
ม ิโ ดยรอบ เกินวางบนราง
ไม่40ºC 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 90ºC อุณหภูมิ
ตารางที่ เคเบิล ไม่ม ีฝ าปิ ด แบบระบายอากาศหรือ รางเคเบิ0ล แบบบัน ได

5-32 โดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบระบายอากาศและแบบบันได


XLPE

ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ XLPE มีเปลือกนอก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 90ºC
5-32(ก) อุณหภูมิโดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลไม่มีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ
ตารางที่ ตัวนํ าทองแดงหุม้ ฉนวน XLPE มีเปลือก ขนาดแรงดัน (U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 90ºC
5-33 อุณหภูคูม่มอื ิโการติ
ดยรอบ 40ºC วางบนรางเคเบิลมีฝาปิ ด แบบด้านล่างทึบ แบบระบายอากาศ และแบบบัน59ได
ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล

วิธที าํ
1. คํานวณโหลดและ
กําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระสเกิน (In) 800A
ตารางที่ 2.11
NYY รูปแบบการติดตัง้ สาย มอก.11 สาย XLPE
2. เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า และวิธกี ารเดินสาย กลุม่ 7 กลุม่ ที่ 5 & 6 ตารางที่ 5-23 ตารางที่ 5-29
กลุม่ ที่ 7 ตารางที่ 5-30 ตารางที่ 5-32
5-30(ก) & 5-31 5-32(ก) & 5-33
3. เลือกตารางขนาดกระสของสายไฟฟ้ า

4. กําหนดตัวคูณปรับค่า Ca & Cg

5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า
It ≥ In/(Ca × Cg)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล
60
หมายเหตุ ตารางที่ 5-30

หมายเหตุ
 อุ ณหภู มโ ิ ดยรอบที่แตกต่างจาก 40 ºC ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามที่ระบุ ไว้ในตารางที่ 5-43
 ในกรณี มจ ี าํ นวนตัวนํากระแสมากกว่า 1 กลุ่มวงจร ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าตามทีร่ ะบุ ไว้ใน
ตารางที่ 5-40 และตารางที่ 5-41 สําหรับสายแกนเดียวและสายหลายแกน ตามลําดับ
 ดูคาํ อธิบายรูปแบบการติดตัง้ ในตารางที่ 5-47
 ดูคา ํ อธิบายรหัสชนิ ดเคเบิลที่ใช้งาน ในตารางที่ 5-48
 สามารถใช้งานในระบบไฟฟ้ ากระแสตรงที่มข ี นาดแรงดันระบุ ไม่เกิน 1.5 กิโลโวลต์ได้

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 61

ตารางที่ 5-40 ดูหมายเหตุ


ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสสําหรับสายเคเบิลแกนเดียววางบนรางเคเบิล เป็ นกลุม่ มากกว่า 1 วงจร
จํานวน จํานวนกลุม่ วงจรต่อรางเคเบิล ลักษณะการ
วิธีการติดตัง้ ราง จัดเรียงเคเบิล
เคเบิล 1 2 3 4 5-6 7-9
1 1.00 0.91 0.87 0.82 0.78 0.77 รูปแบบวางชิด
รางเคเบิลแบบ 2 0.96 0.87 0.81 0.78 0.74 0.69 กันใน
ระบายอากาศ 3 0.95 0.85 0.78 0.75 0.70 0.65 แนวนอน

รางเคเบิลแบบ 1 1.00 0.86 0.80 0.75 0.71 0.70 รูปแบบวางชิด


ระบายอากาศวาง 2 0.95 0.84 0.77 0.72 0.67 0.66 กันในแนวตัง้
แนวตัง้

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 62


หมายเหตุ ตารางที่ 5-40
1. ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การวางสายไฟฟ้ าเป็ นกลุ่มชัน้ เดียว หรือวางชิดติดกันเป็ น
สามเหลีย่ ม เท่านัน้
2. ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติดตัง้ รางเคเบิลในแนวนอนที่มรี ะยะห่างระหว่างรางเคเบิลใน
แนวดิ่ง ไม่นอ้ ยกว่า 300 มม. และติดตัง้ รางเคเบิลห่างจากผนังไม่นอ้ ยกว่า 20 มม.เท่านัน้
3. ตัวคูณปรับค่าขนาดกระแสให้ใช้กบั การติดตัง้ รางเคเบิลในแนวดิ่งที่มรี ะยะห่างระหว่างรางเคเบิลใน
แนวราบ ไม่นอ้ ยกว่า 225 มม.เท่านัน้
4. กรณี ท่จี าํ นวนรางเคเบิลมากกว่า 1 ราง ตัวคูณปรับค่าให้คดิ จากรางเคเบิลที่มกี ลุ่มวงจรมากที่สุด (ที่มี
ตัวปรับค่าตํา่ สุด)
5. จํานวนรางเคเบิล 1 ราง และกลุ่มวงจรมากกว่า 9 ให้ใช้ตวั คูณปรับค่าเช่นเดียวกับ 9 วงจร
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 63

วิธที าํ
1. คํานวณโหลดและ
กําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระสเกิน (In) 800A
ตารางที่ 2.11
NYY รูปแบบการติดตัง้ สาย มอก.11 สาย XLPE
2. เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า และวิธกี ารเดินสาย กลุม่ 7 กลุม่ ที่ 5 & 6 ตารางที่ 5-23 ตารางที่ 5-29
ตารางที่ 5-30 ตารางที่ 5-32
กลุม่ ที่ 7
5-30(ก) & 5-31 5-32(ก) & 5-33
3. เลือกตารางขนาดกระสของสายไฟฟ้ า
Cg= 0.87 (ตารางที่ 5-40) Ca= 1 (อุณหภูมิเดิม)
4. กําหนดตัวคูณปรับค่า Ca & Cg
It ≥ (800/3) /(1 x 0.87)
5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า ≥ 307 A
It ≥ In/(Ca × Cg)
ได้สายขนาด 150 ตร.มม. (324A)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล
64
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 65

การเดินสายในรางเดินสาย ทัง้ 1 เฟส และ 3 เฟส

ขนาดกระแส ให้ใช้ค่ากระแสตามตารางที่ 5-20 หรือ 5-27 ช่องตัวนํ ากระแส 3 เส้น


และไม่ตอ้ งปรับค่าเนื่ องจากตัวนํ าเกิน 1 วงจร ถ้าตัวนํ าที่มีกระแสไหลรวมไม่เกิน 30 เส้น
ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ า 1 เฟส 230 V จํานวน 2 วงจร
วงจรที่ 1 เซอร์กติ เบรกเกอร์ขนาด 32 A สําคัญมาก
วงจรที่ 2 เซอร์กติ เบรกเกอร์ขนาด 40 A
ใช้สายไฟฟ้ าชนิ ด NYY 2 แกน เดินรวมในรางเดินสาย (wireways) เดียวกัน
ต้องการกําหนดขนาดสายไฟฟ้ าของแต่ละวงจร กําหนดให้อณุ หภูมิโดยรอบสถานที่
ติดตัง้ สายไฟฟ้ าเท่ากับ 40OC
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 66
สายเดินในรางเดินสาย
1. คํานวณโหลดและ
กําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระสเกิน (In) 32A
40A ขนาดกระแส ให้ใช้ค่ากระแสตามตารางที่ 5-20
2. เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า และวิธกี ารเดินสาย หรือ 5-27 ช่องตัวนํ ากระแส 3 เส้น และไม่ตอ้ ง
NYY
กลุม่ 2 ปรับค่าเนื่ องจากตัวนํ าเกิน 1 วงจร ถ้าตัวนํ าที่มี
3. เลือกตารางขนาดกระสของสายไฟฟ้ า กระแสไหลรวมไม่เกิน 30 เส้น

4. กําหนดตัวคูณปรับค่า Ca & Cg Ca = 1, Cg = 1
5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า CB 32A, It ≥ 32/(1 1) ≥ 32A สาย 10 ตรมม (40A)
It ≥ In/(Ca × Cg)
CB 40A, It ≥ 40/(1 1) ≥ 40A สาย 10 ตรมม (40A)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 67

ตารางที่ 5-20 (บางส่วน) ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ าทองแดงหุม้ ฉนวนพีวซี ี มี/ไม่มีเปลือกนอก สําหรับขนาดแรงดัน


(U0/U) ไม่เกิน 0.6/1 kV อุณหภูมิตวั นํ า 70OC อุณหภูมิโดยรอบ 40OC เดินในช่องเดินสายในอากาศ
ลักษณะการติดตัง้ กลุม่ ที่ 1 กลุม่ ที่ 2
จํานวนตัวนํ ากระแส 2 3 2 3
ลักษณะตัวนํ า แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน แกนเดียว หลายแกน
รูปแบบการติดตัง้
ระบบไฟฟ้ า AC หรือ DC AC AC หรือ DC AC
รหัสชนิ ดเคเบิล 60227 IEC 01, 60227 IEC 02, 60227 IEC 05, 60227 IEC 06,
รหัสชนิ ดเคเบิล
60227 IEC 10, NYY, NYY-G, VCT, VCT-G, IEC 60502-1 รวมถึงสายที่มีคณ ุ สมบัตติ ่าง ๆ เช่น สายทนไฟ
ที่ใช้งาน สายไรฮาโลเจน และ สายควันน้อย เป็ นต้น
ขนาดสาย (ตร.มม.) ขนาดกระแส (A)
2.5 17 16 16 15 21 20 18 17
4 23 22 21 20 28 26 24 23
6 30 28 27 25 36 33 31 30
10 40 37 37 34 50 45 44 40
16 53 50 49 45
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล
66 60 59 54
68
หัวข้อการบรรยาย

บทที่ 2 ชนิ ดของสายไฟฟ้ าและการใช้งาน

บทที่ 3 การเดินสายไฟฟ้ า

บทที่ 6 มอเตอร์ไฟฟ้ า

บทที่ 7 หม้อแปลงไฟฟ้ า
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 69

การเดินสายฝังดิน
สายฝังดินโดยตรง

สายร้อยท่อฝังดิน

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 70


ตารางที่ 3.1 ความลึกในการติดตัง้ ใต้ดิน สําหรับระบบแรงตํา่ (แรงดันไม่เกิน 1,000 V)
ความลึก ความลึก2) ความลึก3)
วิธที ่ี วิธกี ารเดินสาย น้อยสุด (m) น้อยสุด (m) น้อยสุด (m)
1 สายเคเบิลฝังดินโดยตรง 0.60 0.45 0.15
2 ท่อโลหะหนาและหนาปานกลาง 0.15 0.15 0.10
ท่ออโลหะซึ่งได้รบั การรับรองให้ฝงั ดินโดยตรงได้โดยไม่ตอ้ งมี
3 0.45 0.30 0.10
คอนกรีตหุม้ (เช่น ท่อ HDPE ท่อ RTRC และ ท่อ PVC)
4 ท่อร้อยสายอืน่ ๆ ที่ได้รบั ความเห็นชอบจากการไฟฟ้ าฯ 0.45 0.30 0.10
หมายเหตุ 1) ท่อร้อยสายที่ได้รบั การรับรองให้ฝังดินได้โดยมีคอนกรีตหุม้ ในวิธที ่ี 2,3 และ 4 ต้องหุม้ ด้วยคอนกรีตหนาไม่นอ้ ยกว่า 50 มม.
2) ใต้แผ่นคอนกรีตหนาไม่นอ้ ยกว่า 50 มม.
3) ใต้พ้ นื คอนกรีตหนาไม่นอ้ ยกว่า 100 มม. และยืน่ เลยออกไปจากแนวติดตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 150 มม.
4) สําหรับทุกวิธี หากอยู่ในบริเวณที่มรี ถยนต์ว่ งิ ผ่าน ความลึกต้องไม่นอ้ ยกว่า 0.60 เมตร
5) การติดตัง้ ใต้อาคารไม่บงั คับเรื่องความลึก
6) ความลึกหมายถึงระยะตํา่ สุดวัดจากส่วนบนของสายหรือท่อถึงผิวบนสุดของส่วนปกคลุม
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 71

ความลึกในการติดตัง้ ใต้ดิน

0.15 ม. 0.45 ม.
0.60 ม.

ร้อยท่อฝังดิน ฝังดินโดยตรง
มีแผ่นคอนกรีตกัน้
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 72
ข้อกําหนดในการติดตัง้ ใต้ดิน

2
2.4 ม. ป้ องกันทางกายภาพ
ตารางที่ 6.1

1 ใต้อาคาร ต้องเดินในท่อ
และท่อเลยพ้นอาคาร
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 73

การติดตัง้ ใต้ดิน (ต่อ)



ต้องไม่เป็ นวัสดุท่มี ีคม
หรือเป็ นสิง่ ที่ทาํ ให้ผกุ ร่อน
หรือมีขนาดใหญ่
MDB

Sealing Bushing
ต้องอุดปลายท่อ ❸
ป้ องกันสายชํารุดจากดินทรุด ❷
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 74
การต่อสายใต้ดิน

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 75

ข้อกําหนดอืน่ ๆ
 การป้ องกันการผุกร่อน อุปกรณ์การ
เดินสายทุกชนิ ด ต้องเลือกให้เหมาะสมกับ
สภาพการติดตัง้ และมีการป้ องกันการผุ
กร่อนที่เหมาะสม
ช่องเดินสายและอุปกรณ์ ต้องมีการจับยึด
อย่างมัน่ คง และมีความต่อเนื่ องทัง้ ทางกล
และทางไฟฟ้ า

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 76


การจับยึดสายแนวดิ่ง
จับยึดที่จุดบนสุด

จับยึดเป็ นระยะ
ตามตารางที่ 3.2

MDB
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 77

ตารางที่ 3.2 ระยะจับยึดสายในแนวดิ่ง


ขนาดสาย (ตร.มม.) ระยะจับยึดสูงสุด (ม.)
ไม่เกิน 50 30
70 – 120 24
150 – 185 18
240 15
300 12
เกิน 300 10

สายไฟฟ้ าต้องจับยึดที่จุดบนสุด และห่างไม่เกินที่กาํ หนดในตารางที่ 3.2


ถ้าระยะน้อยกว่า 25% ของค่าในตาราง ไม่ตอ้ งจับยึด
คูม่ อื การติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมืออาชีพ...ลือชัย ทองนิล 78
การป้ องกันความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํา
เมื่อติดตัง้ สายไฟฟ้ ากระแสสลับในเครื่องห่อหุม้ โลหะ ต้องจัดทําไม่ให้เกิดความร้อน
เนื่ องจากการเหนี่ ยวนํ า...ดังนี้
◦รวมสายทุกเส้นของวงจรเดียวกันและสายดิน ในเครื่องห่อหุม้ เดียวกัน
◦การเดินสายควบ ในแต่ละท่อต้องมีสายของวงจรเดียวกันครบทุกเส้น รวมทัง้ สายดิน
เมนสวิตช์ ท่อร้อยสาย แผงย่อย
A
B
C
N G
มีสายครบทุกเฟสรวมนิ วทรัลและสายดิน
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 79

ตัวอย่าง ความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํ าในท่อโลหะ

แนวทางการป้ องกัน
G
N
C
B
A

A B C NG A B CN G
A B C NG

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล ท่อโลหะ 80


ความร้อนจากกระแสเหนี่ ยวนํ า
เมื่อเดินผ่านโลหะที่เป็ นสารแม่เหล็ก

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 81

• ต้องใช้สายขนาดไม่เล็กกว่า 50 ตร.มม. และ


การเดิน
• ใช้สายชนิ ดเดียวกัน และ ขนาดเดียวกัน และ
สายควบ • มีความยาวเท่ากัน และ วิธีการต่อสายเหมือนกัน

แผงย่อย ท่อร้อยสาย แผงย่อย


A
B
N
G
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 82
ตัวอย่างที่ผิด

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 83

การป้ องกันไฟลุกลาม
การเดินสายผ่านผนัง ฉากกัน้ พื้น
เพดาน หรือช่อง shaft ต้องมีการ
ป้ องกันไฟลุกลาม

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 84


การป้ องกันการควบแน่ น
ซีล ด้านใดด้านหนึ่ ง

ท่อร้อยสาย
ห้องเย็น

เมื่อเดินผ่านที่ท่มี ีอณ
ุ หภูมิต่างกัน ต้องมีการป้ องกันการไหลเวียนของอากาศในท่อ
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 85

วิธกี ารเดินสาย
ข้อกําหนดต่อไปนี้ ป็ นวิธีการเดินสายทัว่ ไป
การเดินสายสําหรับอาคารหรือสถานที่บางประเภท อาจมีขอ้ กําหนด
เพิม่ เติมที่ตอ้ งนํ ามาใช้ประกอบด้วย เช่น โรงมหรสพ สถานบริการ อาคาร
ชุด อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พเิ ศษ รวมถึงในบริเวณอันตรายด้วย

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 86


การเดินสายในช่องเดินสาย…จุดประสงค์
ใช้เป็ นช่องทางเดินของสายไฟฟ้ า

ป้ องกันสายไฟฟ้ าจากความเสียหายทางกายภาพ

ป้ องกันอันตรายจากการสัมผัสสายไฟฟ้ าที่ฉนวนอาจชํารุด

ป้ องกันการลุกลามไฟกรณี ท่สี ายไฟฟ้ าเกิดลุกไหม้

เพิม่ ความสวยงามและความสะดวกในการเดินสายไฟฟ้ า
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 87

การเดินสายร้อยท่อ
ท่อโลหะหนา Ø 15-150 mm.
(Rigid Metal
Conduit)
เป็ นท่อเหล็กชุบ
สังกะสี

Ø 15-50 mm. ท่อโลหะ Ø 15-100 mm.


ท่อโลหะบาง ท่อโลหะหนาปานกลาง
(Electrical (Intermediate Metal
Metallic Tubing) Conduit)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 88
จํานวนสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสาย
คํานวณจากพื้นที่หน้าตัดรวมทุกเส้นของสายไฟฟ้ าที่เดินในท่อ ต้องไม่เกินที่กาํ หนดใน
ตารางที่ 3.6
ตารางที่ 3.6 พื้นที่หน้าตัดสูงสุดรวมของสายไฟฟ้ าทุกเส้น
คิดเป็ นร้อยละเทียบกับพื้นที่หน้าตัดของท่อ
จํานวนสายไฟฟ้ าในท่อร้อยสาย 1 2 3 4 มากกว่า 4
สายไฟฟ้ าทุกชนิ ด ยกเว้น สายชนิ ดมีปลอก 53 31 40 40 40
ตะกัว่ หุม้
สายไฟชนิ ดมีปลอกตะกัว่ หุม้ 55 30 40 38 35
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 89

ตารางที่ 3.7 พื้นที่หน้าตัดของท่อร้อยสายเป็ นร้อยละ


ขนาดท่อ พื้นที่หน้าตัดเป็ นร้อยละ (ตร.มม.)
พื้นที่หน้าตัด
53% 40% 31%
(มม.) นิ้ ว (ตร.มม.)
(1 เส้น) (3 เส้นขึ้นไป) (2 เส้น)
15 ½ 177 94 71 55
20 ¾ 314 167 126 97
25 1 491 260 196 152
32 1¼ 804 426 322 249
40 1½ 1257 666 503 390
50 2 1964 1041 785 609
65 2½ 3318 1759 1327 1029
80 3 5027 2664 2011 1558
90 3½ 6362 3372 2545 1972
100 4 7854 4163 3142 2435
125 5 12272 6504 4909 3804
150 6 17672 9366 7069 5478
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 90
ภาคผนวก B ขนาดสายไฟฟ้ า
ตารางที่ B1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางรวมฉนวน (และเปลือก) สายไฟฟ้ า ตาม มอก 11
ขนาด ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสายไฟฟ้ ารวมฉนวน (และเปลือก) เป็ น มม.
สายไฟฟ้ า NYY NYY NYY NYY VCT VCT VCT VCT
IEC 01
(ตร.มม.) 1-C 2-C 3-C 4-C 1-C 2-C 3-C 4-C
1.5 3.3 9.2 - - - - - - -
2.5 4.0 9.8 - - - - - - -
4 4.6 10.5 - - - 8.6 14.5 15.5 17.0
6 5.2 11.0 - - - 9.4 16.0 17.5 19.5
10 6.7 12.0 - - - 12.0 20.0 21.5 24.0
16 7.8 13.0 - - - 13.5 23.0 25.0 28.0
25 9.7 14.5 - - - 16.0 27.5 30.0 33.0
35 10.9 16.0 - - - 17.5 31.0 33.5 37.0
50 12.8 17.0 33.5 36.0 39.5 - - - -
70 คู14.6
่ม อื การติ ด ตัง้ 19.0
ระบบไฟฟ้ าอย่38.0 40.5
างมือ อาชีพ...ลื อ ชัย ทองนิ44.5
ล - - - - 91

ท่อโลหะหนา ท่อโลหะหนาปานกลาง และท่อโลหะบาง

การใช้งาน
◦ใช้กบั งานเดินสายทัว่ ไป
การติดตัง้
◦ปลายท่อที่ตดั ออก ต้องลบคม
◦การทําเกลียว ต้องใช้เครื่องทําเกลียว
ชนิ ดปลายเรียว

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 92


การติดตัง้
การติดตัง้ ท่อร้อยสายเข้ากับกล่องต่อสายหรือเครื่อง
ประกอบการเดินท่อ ต้องมีบชุ ชิ่งเพือ่ ป้ องกันมิให้ฉนวนหุม้
สายชํารุด นอกเสียจากว่ากล่องต่อสายและเครื่อง
ประกอบการเดินท่อได้ออกแบบเพือ่ ป้ องกันการชํารุดของ
ฉนวนไว้แล้ว
กล่องต่อสาย ล็อกนัต
ล็อกนัต

บุชชิง บุชชิง
ท่อโลหะ ท่อโลหะบาง
หนาปานกลาง
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 93

การติดตัง้
◦ ข้อต่อต้องเป็ นชนิ ดที่เหมาะสมเช่น เมื่อฝังในคอนกรีตต้องใช้ชนิ ดฝังในคอนกรีต
◦ การต่อสายให้ต่อในกล่องต่อสาย หรือกล่องจุดต่อไฟฟ้ าที่เปิ ดออกได้สะดวก ระวัง
การใช้กล่องพลาสติกกับท่อโลหะ

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล


94
ตัวอย่าง ข้อต่อเปิ ดชนิ ดต่างๆ

ข้อต่อเปิ ดแบบ LL ข้อต่อเปิ ดแบบ LR ข้อต่อเปิ ดแบบ LB

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 95

ห้าม…ต่อสายในท่อ
เป็ นอันตรายจากไฟดูด

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 96


ระยะระหว่างจุดจับยึดไม่เกิน
3.0 ม. และห่างจากกล่องไม่
เกิน 0.9 ม

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 97

การติดตัง้ ….
ท่อโลหะบาง ห้ามทําเกลียว
มุมดัดโค้งไม่เกิน 360 องศา
ห้ามใช้ท่อขนาดเล็กกว่า 15 มม.
ต้องติดตัง้ ระบบท่อเสร็จก่อน จึงเดินสาย
ท่อร้อยสายต้องต่อเนื่ องทางไฟฟ้ าโดยตลอด
ห้าม ใช้ท่อโลหะเป็ นตัวนํ าต่อลงดิน แต่ท่อโลหะ
ต้องต่อลงดิน
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 98
การเดินสายร้อยท่ออโลหะ

ท่อต้องเป็ นชนิ ดที่ทนความชื้น สภาวะอากาศ และสารเคมี

ท่อที่ใช้เหนื อดิน ต้องต้านเปลวเพลิง

ไม่เสียสภาพจากการใช้งาน และทนแสงแดด ถ้าฝังดินต้อง


รับนํ้ าหนักกดภายหลังการติดตัง้ ได้
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 99

ท่ออโลหะแข็ง

ท่อ PVC (Polyvinyl Chloride) มีคณ ุ สมบัตติ า้ นเปลว


เพลิง ทนอุณหภูมิได้สูงถึง 70OC (หรือตามที่ผูผ้ ลิตกําหนด)
ท่อ HDPE (High Density Polyethylene) ไม่ตา้ นเปลว
เพลิง จึงห้ามใช้เหนื อดินในอาคาร ทนอุณหภูมิได้สูงถึง
80OC (หรือตามที่ผูผ้ ลิตกําหนด)
ท่อ RTRC (Reinforced Thermosetting Resin
Conduit) หรือท่อ FRE (fiberglass reinforced epoxy
conduit) ทนอุณหภูมิได้สูงถึง 110OC (หรือตามที่ผูผ้ ลิต
กําหนด)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 100
การอนุ ญาตให้ใช้งาน
อนุ ญาตให้ใช้ท่อ PVC และ RTRC กรณี ดงั ต่อไปนี้
 เดินซ่อนในผนัง พื้นและเพดาน
 ในบริเ วณที่ทํ า ให้เ กิด การผุก ร่อ นและเกี่ย วข้อ งกับ สารเคมี ถ้า ท่อ และเครื่อ ง
ประกอบการเดินท่อได้ออกแบบไว้สาํ หรับใช้งานในสภาพดังกล่าว
 ในที่เปี ยกหรือชื้นซึ่งได้จดั ให้มีการป้ องกันนํ้ าเข้าไปในท่อ
 ในที่เปิ ดโล่ง (exposed) ซึ่งไม่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ
 การติดตัง้ ใต้ดินโดยต้องเป็ นไปตามที่กาํ หนดในเรื่องการติดตัง้ ใต้ดินด้วย

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 101

การอนุ ญาตให้ใช้งาน
อนุ ญาตให้ใช้ท่อ HDPE กรณี ดงั ต่อไปนี้
 เหนื อดินภายนอกอาคาร โดยมีคอนกรีตหุม้ หนาไม่นอ้ ยกว่า 50 มม.
 ฝังใต้ดิน
 ในบริเ วณที่ ทํา ให้เ กิด การผุ ก ร่ อ น และเกี่ย วข้อ งกับ สารเคมี ถ้า ท่ อ และเครื่อ ง
ประกอบการเดินสายได้ออกแบบไว้ใช้งานในสถานที่ดงั กล่าว

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 102


ห้ามใช้
ห้ามใช้ท่อพีวซี ีและอาร์ทอี าร์ซี กรณี ดงั ต่อไปนี้
 ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้เป็ นอย่างอืน่
 ใช้เป็ นเครื่องแขวนและจับยึดดวงโคม
 ในบริเวณที่อณ ุ หภูมิโดยรอบเกิน 50º C
 อุณหภูมิใช้งานของสายเกินกว่าพิกดั อุณหภูมิของท่อที่ระบุไว้
 ตามที่ระบุไว้ในบทอืน่ ที่เกี่ยวข้อง

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 103

ห้ามใช้
ห้ามใช้ท่อ HDPE กรณี ดงั ต่อไปนี้
 ในที่เปิ ดโล่ง
 ภายในอาคาร
 ในบริเวณอันตราย
 ในบริเวณที่อณ ุ หภูมิโดยรอบเกิน 50°C
 อุณหภูมิใช้งานของสายเกินกว่าพิกดั อุณหภูมิของท่อที่ระบุไว้

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 104


การติดตัง้

ปลายท่อต้องมีบชุ ชิ่ง หรือใช้วธิ กี ารอืน่

มุมดัดโค้งไม่เกิน 360 องศา

การจับยึดต้องมัน่ คงแข็งแรง ทุกระยะ 3 ม.

ติดตัง้ ระบบท่อให้เสร็จก่อนเดินสายไฟ

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 105

ทุกข้อ
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 106
ห้ามใช้
ในปล่องลิฟต์หรือปล่องขนของ
ในห้องแบตเตอรี่
ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุไว้เป็ นอย่างอืน่
ฝังดินหรือฝังในคอนกรีต
ในสถานที่เปี ยก นอกจากจะใช้สายไฟชนิ ดที่เหมาะสมและป้ องกันนํ้ าเข้าช่องเดินสายที่ท่อ
โลหะอ่อนต่ออยู่
 ท่อโลหะอ่อนที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม. ยกเว้น ท่อโลหะอ่อนที่ประกอบมากับขัว้ หลอดไฟ
และยาวไม่เกิน 1.80 ม.
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 107

การใช้งาน

1.80 ม.

1.80 ม.

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 108


การติดตัง้ ใช้งาน

จํานวนสายไฟฟ้ า เหมือนท่อโลหะ

มุมดัดโค้งระหว่างจุดดึงสาย ไม่เกิน 360 องศา

ห้ามใช้เป็ นสายดิน

ขนาดกระแส ตารางที่ 5-20, 5-23, 5-27 และ 5-29

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 109

ท่อโลหะอ่อนกันของเหลว

มีลกั ษณะเหมือนท่อโลหะอ่อนแต่หมุ ้ ด้วย PVC หรือ PE ตามความต้องการใช้งาน ถ้าใช้ใน


อาคาร PE ต้องเป็ นชนิ ดต้านเปลวเพลิง มีความยืดหยุ่นได้ดแี ละกันนํ้ าได้ ใช้ป้องกันสายไฟ
จากการขูดขีด ควัน ฝุ่ น คราบนํ้ า คราบนํ้ ามัน ได้ดี

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 110


ท่อโลหะอ่อนกันของเหลว
 การใช้งาน
ใช้ในสถานที่ตอ้ งการความอ่อนตัว หรือเพือ่ ป้ องกันสายจากของแข็ง ของเหลว หรือใช้
ในบริเวณอันตราย
 ห้ามใช้ ในกรณี ดงั ต่อไปนี้
 ท่อที่มีขนาดเล็กกว่า 15 มม. หรือใหญ่กว่า 100 มม.
 ในที่ซ่งึ อาจได้รบั ความเสียหายทางกายภาพภายหลังการติดตัง้ ใช้งาน
 ที่ซ่ึงอุณหภูมิของสายไฟฟ้ าและอุณหภูมิโดยรอบสูงจนทําให้ท่อเสียหาย
 จํานวนสายไฟฟ้ า จํานวนสายไฟฟ้ าในท่อต้องไม่เกินตามที่กาํ หนดในตารางที่ 3.6
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 111

การติดตัง้ ใช้งาน

มุมดัดโค้งระหว่างจุดดึงสายรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 360 องศา

ต้องติดตัง้ ระบบท่อให้เสร็จก่อน จึงทําการเดินสายไฟฟ้ า

ห้ามใช้ท่อโลหะอ่อนกันของเหลวเป็ นตัวนํ าสําหรับต่อลงดิน

ข้อต่อยึดต้องได้รบั การรับรองเพือ่ ใช้กบั งานชนิ ดนี้ เท่านั้น

การจับยึด ต้องจับยึดให้มนั ่ คง แข็งแรง ทุกระยะไม่เกิน 3 ม.


คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 112
รางเดินสาย (Wireways)
อนุ ญาตให้ใช้รางเดินสายได้เฉพาะการติดตัง้ ในที่เปิ ดโล่ง
ซึ่งสามารถเข้าถึงเพือ่ ตรวจสอบและบํารุงรักษาได้ตลอด
ความยาวของรางเดินสาย
การเดินบนฝ้ าเพดานต้องเข้าบํารุงรักษาได้สะดวกตลอด
ความยาว และมีพ้ นื ที่เหนื อรางไม่นอ้ ยกว่า 200 ม.ม.
ถ้าติดตัง้ ภายนอกอาคารต้องเป็ นชนิ ดกันฝน (IPX4)
มีความแข็งแรงเพียงพอที่จะไม่เสียรูปภายหลังการติดตัง้

คู่มือการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมืออาชีพ...ลือชัย ทองนิ ล 113

ห้ามใช้

ในบริเวณที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ
ในบริเวณที่มีไอที่ทาํ ให้ผกุ ร่อน หรือในบริเวณอันตรายนอกจากจะระบุ
ไว้เป็ นอย่างอืน่
เป็ นตัวนํ าสําหรับต่อลงดิน

รางเดินสายขนาดเกิน 150x300 mm.


คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 114
การติดตัง้ ใช้งาน
จุดปลายรางต้องปิ ด

จับยึดทุกระยะ 1.5 ม. หรือมากกว่าได้ถา้ จําเป็ นแต่ไม่เกิน 3 ม.

ห้ามต่อตรงจุดที่ผ่านผนังหรือพื้น

ต่อสายได้เฉพาะส่วนที่เปิ ดและเข้าถึงได้สะดวกตลอดเวลา

ห้ามใช้เป็ นสายดิน

สายไฟแกนเดี่ยวของวงจรเดียวกันรวมทัง้ สายดิน ต้องวางเป็ นกลุม่ เดียวกัน


แล้วมัดรวมเข้ าด้วยกัน
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 115

การต่อลงดิน และความต่อเนื่ องของรางเดินสาย


รางเดินสายต้องมีความต่อเนื่ องทางไฟฟ้ า และต่อลงดิน
ต้องมีการต่อฝากระหว่างรางเดินสายกับแผงสวิตช์

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 116


จํานวนสายไฟฟ้ าและขนาดกระแส
• จํานวนสาย พื้นที่หน้าตัดรวมฉนวนและเปลือกของสายทุกเส้นรวมกัน
ไม่เกิน 20% ของพื้นที่หน้าตัดรางเดินสาย
• ขนาดกระแส ให้ใช้ค่ากระแสตามตารางที่ 5-20 (PVC) หรือ 5-27
(XLPE) กรณี ตวั นํ ากระแส 3 เส้น โดยไม่ตอ้ งใช้ตวั คูณลดกระแสเรื่อง
จํานวนสายตามตารางที่ 5-8 หากตัวนํ าที่มีกระแสไหลรวมกันไม่เกิน 30
เส้น

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 117

การเดินสายบนรางเคเบิล
(Cable Trays)

รางแบบบันได รางแบบระบายอากาศ รางแบบด้านล่างทึบ

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 118


โครงสร้าง
มีความแข็งแรงและมัน่ คง สามารถรับนํ้ าหนักสายทัง้ หมดที่ตดิ ตัง้ และไม่มี
ส่วนแหลมคมที่อาจทําให้ฉนวนหรือเปลือกสายชํารุด
มีการป้ องกันการผุกร่อนอย่างพอเพียงกับสภาพการใช้งานเช่น การ
พ่นสี และการชุบสังกะสี เป็ นต้น

ต้องมีผนังด้านข้าง และใช้เครื่องประกอบการติดตัง้ ที่เหมาะสม

ถ้าเป็ นรางเคเบิลอโลหะ ต้องทําด้วยวัสดุตา้ นทานเปลวเพลิง


คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 119

สายชนิ ด
MI, MC และ
Armored
Cable
สายแกนเดียวชนิ ดมี
ท่อร้อยสายไฟฟ้ า เปลือกนอกขนาดไม่เล็ก
กว่า 25 ตร.มม.
สายไฟฟ้ า
ที่วางได้
สายหลายแกนทุก
สายดิน ทุกขนาด ขนาด
สาย control
ทุกขนาด

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 120


การติดตัง้ ใช้งาน…ห้ามใช้
ในปล่องลิฟต์ หรือที่อาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ

ห้ามวางเคเบิลแรงตํา่ รวมกับแรงสูง ยกเว้นมีแผ่นกัน้

เป็ นสายดิน

ห้าม ท่อสําหรับงานอืน่ วางบนรางเคเบิล


คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 121

ห้าม ท่อสําหรับงานอืน่ วางบนรางเคเบิล

ท่อนํ้ า ท่อร้อยสาย
ยกเว้น HDPE

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 122


การวางสายไฟฟ้ า

 จํานวนสายในรางเคเบิล
N

2 OD
เป็ นตามวิธกี ารวางสาย

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 123

ตัวอย่างการวางสายบนรางเคเบิล
การวางสาย สายของวงจรเดียวกันต้องวางเป็ นกลุม่ เดียวกัน
A B C N A B C N A B C N

2D
C C
B A N A B N

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 124


การติดตัง้ ใช้งานรางเคเบิล
ต้องมีความต่อเนื่ องทัง้ ทางกลและทางไฟฟ้ า
เมื่อเดินสายแยกเข้าช่องเดินสายอืน่ ต้องจับยึดให้มนั ่ คงด้วยอุปกรณ์ท่ี
เหมาะสม
ต้องติดตัง้ ในที่เปิ ดเผยและเข้าถึงได้ และมีท่วี ่างพอเพียงที่จะปฏิบตั งิ าน
บํารุงรักษาสายเคเบิลได้สะดวก รางเคเบิลวางซ้อนได้ แต่ตอ้ งห่างกันไม่
น้อยกว่า 30 ซม.

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 125

การวางสายในรางเคเบิล
 เมื่อเดินสายแกนเดียว สายเส้นไฟและเส้น
ศูนย์ของแต่ละวงจรต้องเดินรวมกันเป็ นกลุม่
และมัดเข้าด้วยกัน เพือ่ ป้ องกันกระแสไม่สมดุล
เนื่ องจากการเหนี่ ยวนํ า และป้ องกันการเคลื่อน
ตัวอย่างรุนแรงเมื่อเกิดกระแสลัดวงจร
การต่อสายต้องทําให้ถกู ต้องตามวิธกี ารต่อสาย
จุดต่อสายต้องอยู่ภายในรางเคเบิลและไม่สูงเลย
ขอบด้านข้างของรางเคเบิล
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 126
หัวข้อการบรรยาย

บทที่ 2 ชนิ ดของสายไฟฟ้ าและการใช้งาน

บทที่ 3 การเดินสายไฟฟ้ า

บทที่ 6 มอเตอร์ไฟฟ้ า

บทที่ 7 หม้อแปลงไฟฟ้ า
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 127

มอเตอร์ไฟฟ้ า
เครื่องปลดวงจร
และป้ องกันกระแสลัดวงจร

เครื่องควบคุมมอเตอร์
เครื่องป้ องกันโหลดเกิน

มอเตอร์

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 128


ขนาดสายไฟฟ้ าสําหรับมอเตอร์ ดูจากกระแสโหลดเต็มที่

1.25 IFL ของมอเตอร์ตวั ใหญ่สดุ + IFL มอเตอร์ท่เี หลือ


มอเตอร์ท่เี ริ่มเดินแบบ วาย-เดลตา
ขนาดกระแสของสายแต่ละเส้นไม่
ตํา่ กว่า 72% ของกระแสมอเตอร์
(ไม่มีกาํ หนดในมาตรฐานฯ)

1.25 x IFL (แต่ไม่เล็กกว่า 1.5 ตร.มม.)


M1 M2 M3
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 129

พิกดั เครื่องป้ องกันกระแสลัดวงจร


CB ตัวใหญ่สุด + IFL มอเตอร์ทเ่ี หลือ

CB  ตารางที่ 6.1

 100% ของ IFL

M1 M2 M3
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 130
ตารางที่ 6.1 พิกดั หรือขนาดปรับตัง้ สูงสุดของเครื่องป้ องกันกระแสลัดวงจรระหว่างสาย
และป้ องกันการัว่ ลงดินของวงจรมอเตอร์
ร้อยละของกระแสโหลดเต็มที่
ชนิ ดของมอเตอร์ ฟิ วส์ทาํ งานไว ฟิ วส์ เซอร์กติ เบรกเกอร์ เซอร์กติ เบรกเกอร์
หน่ วงเวลา ปลดทันที เวลาผกผัน
มอเตอร์ 1 เฟส 300 175 800 250
มอเตอร์กระแสสลับแบบโพลีเฟสอืน่ ๆ ที่มากกว่า
300 175 800 250
แบบเวาด์โรเตอร์
มอเตอร์แบบกรงกระรอก 300 175 800 250
มอเตอร์แบบซิงโครนัส 300 175 800 250
มอเตอร์แบบเวาด์โรเตอร์ 150 150 800 150
มอเตอร์กระแสตรง (แรงดันคงที่) 150 150 250 150
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 131

ตัวอย่าง 6.2 (P162)

วงจรไฟฟ้ า (สายป้ อน) ประกอบด้วยมอเตอร์ 3 เฟส 400 V จํานวน 3 ตัว ต้องการ


กําหนดขนาดสายไฟฟ้ าและเซอร์กติ เบรกเกอร์ของของมอเตอร์แต่ละตัวและของสายป้ อน
วงจรมอเตอร์ (กําหนดให้ใช้สาย NYY แกนเดียวเดินร้อยท่อโลหะเกาะผนัง)
M1 ซิงโครนัสมอเตอร์ ขนาด 3.7 kW กระแส 9.2 A
M2 ซิงโครนัสมอเตอร์ ขนาด 5.5 kW กระแส 13 A
M3 สโควเรลเคจอินดักชัน่ มอเตอร์ ขนาด 15 kW กระแส 33 A

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 132


CB ตัวใหญ่สุด + IFL มอเตอร์ทเ่ี หลือ

ขนาดกระแสของสายไฟฟ้ า  2.5 IFL


เซอร์กติ เบรกเกอร์ (ตารางที่ 6.1)
M1  2.5  9.2 = 23, CB 20A
M2  2.5  13 = 32.5, CB 32A
M3  2.5  33 = 82.5, CB 63 หรือ 80A
M1 M2 M3 สายป้ อน
CB = 80 + 9.2 + 13 = 102.2, CB 100 or 125A
9.2 A 13 A 33 A
3.7 kW 5.5 kW 15 kW
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 133

สายไฟฟ้ า
M1 ขนาดกระแสของสาย = 1.25 x 9.2 = 11.5 A ได้สายขนาด 1.5 ตร.มม. (13A)
M2 ขนาดกระแสของสาย = 1.25 x 13 = 16.25 A ได้สายขนาด 2.5 ตร.มม. (18A)
M3 ขนาดกระแสของสาย = 1.25 x 33 = 41.25 A ได้สายขนาด 10 ตร.มม. (44A)
สายป้ อน = (1.25 x 33) + 9.2 + 13 = 63.45 A ได้สายขนาด 25 ตร.มม. (77A)
ภาคผนวก G ตารางที่ G3 จะได้ขนาด CB (P321)
ภาคผนวก G ตารางที่ G4 จะได้ขนาดสายไฟฟ้ า (P322)

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 134


หม้อแปลงไฟฟ้ า
Oil type

Less-
Dry type ชนิ ด flammable
liquid

Nonflammable
liquid
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 135

การป้ องกันหม้อแปลงไฟฟ้ า

กระแสเกิน L/A

การป้ องกัน

แรงดันเกิน

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 136


การป้ องกันแรงดันเกิน
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเกินคือ Lightning Arrester
พิกดั
◦แรงดัน 9 kV, 21 kV, 30 kV
(ยกเว้นบางพื้นที่)
◦กระแส 5 kA, 10 kA
การติดตัง้ L/A ต้องทําให้สายที่ตอ่
เข้าและออกสัน้ ที่สดุ

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 137

การป้ องกันกระแสเกิน
ตารางที่ 7.1 ขนาดปรับตัง้ สูงสุดของเครื่องป้ องกันกระแสเกินสําหรับหม้อแปลงไฟฟ้ า

ขนาด ด้านไฟเข้า ด้านไฟออก


อิมพีแดนซ์ แรงดันเกิน 1,000 V แรงดันเกิน 1,000 V แรงดันไม่เกิน 750 V
ของหม้อ เซอร์กติ เซอร์กติ เซอร์กติ เบรกเกอร์
แปลง เบรกเกอร์ ฟิ วส์ เบรกเกอร์ ฟิ วส์ หรือฟิ วส์
ไม่เกิน 6% 600% 300% 300% 250% 100%
มากกว่า 6%
แต่ไม่เกิน 10% 400% 300% 250% 225% 100%

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 138


ตัวอย่าง โรงงานแห่งหนึ่ งคํานวณโหลดได้ 850 kVA เลือกใช้หม้อแปลงขนาด 1,000 kVA
แรงดันด้านไฟออก 230/400 V ด้านแรงตํา่ เลือกใช้เซอร์กติ เบรกเกอร์ขนาด 1,400 A ใช้
สาย NYY ชนิ ดแกนเดียวควบ 4 เส้นต่อเฟส วางเรียงชิดติดกันบนรางเคเบิลแบบบันได
ต้องการกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า โดยใช้ค่าจากตารางในหนังสือคู่มือ (ตารางที่ F5)

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 139

การกําหนดขนาดสายไฟฟ้ า
1. คํานวณโหลดและ
กําหนดขนาดเครือ่ งป้ องกันกระสเกิน (In) 1400A
ตารางที่ 2.11
NYY รูปแบบการติดตัง้ สาย มอก.11 สาย XLPE
2. เลือกชนิ ดของสายไฟฟ้ า และวิธกี ารเดินสาย กลุม่ 7 กลุม่ ที่ 5 & 6 ตารางที่ 5-23 ตารางที่ 5-29
กลุม่ ที่ 7 ตารางที่ 5-30 ตารางที่ 5-32
5-30(ก) & 5-31 5-32(ก) & 5-33
3. เลือกตารางขนาดกระสของสายไฟฟ้ า
Cg= 0.94 (ตารางที่ 5-40) Ca= 1 (อุณหภูมิเดิม)
4. กําหนดตัวคูณปรับค่า Ca & Cg
It ≥ (1400/4) /(1 x 0.94)
5. กําหนดขนาดสายไฟฟ้ า ≥ 372.3 A
It ≥ In/(Ca × Cg)
ได้สายขนาด 240 ตร.มม. (441A)
คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล
140
ตารางที่ F5 (P299) สาย NYY แกนเดียววางบนรางเคเบิลแบบบันได
สายวางชิดติดกัน (กลุม่ ที่ 7)
หรือ
ขนาดหม้อแปลง (kVA) ขนาด CB (A) ขนาดสาย (ตร.มม.) ขนาดรางเคเบิล (มม.)
3(3  185, 1  95) 500
1000
800 4(3  120, 1  70) 500
3(3  240, 1  120) 500
1100
4(3  150, 1  95) 500
3(3  240, 1  120) 500
1250
4(3  185, 1  95) 600
1000
4(3  240, 1  120) 700
1400
5(3  150, 1  95) 700

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 141

ของฝาก….ต้อ งเรี ย นรู อ้ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง


THE END

คู่ม อื การติ ด ตัง้ ระบบไฟฟ้ าอย่างมือ อาชีพ...ลือ ชัย ทองนิ ล 142

You might also like