ruchjira1234,+{$userGroup},+7-4

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็งที่มีภาวะแทรกซ้อน /

The Role of Nurses in Caring for Patients with Complications of Cirrhosis

บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็ง
ที่มีภาวะแทรกซ้อน
The Role of Nurses in Caring for Patients with
Complications of Cirrhosis
ญานิศา ดวงเดือน*
Yanisa Duangduen*

บทคัดย่อ
โรคตับแข็งเป็นโรคทีพ่ บได้บอ่ ยและเป็นสาเหตุของการเสียชีวติ ได้ในทุกประเทศทัว่ โลก เนือ่ งจาก
ในระยะแรกผูป้ ว่ ยจะแสดงอาการไม่ชดั เจน จึงไม่มารักษาทีโ่ รงพยาบาล ระยะหลังผูป้ ว่ ยจะมีอาการจำ�เพาะ
ต่อโรคตับแข็งมากขึ้นและมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน เนื่องจากเซลล์ตับมีการ
เปลีย่ นแปลงและการทำ�หน้าทีข่ องตับลดลง ส่งผลกระทบต่ออวัยวะอืน่ ๆ จนเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา
มากมาย ภาวะแทรกซ้อนทีพ่ บ คือ ความดันในหลอดเลือดดำ�พอร์ทลั สูง เลือดออกจากหลอดเลือดดำ�
บริเวณทางเดินอาหารขอด ท้องมาน ติดเชือ้ ในช่องท้อง มีความผิดปกติทางสมอง ไตเสียหน้าที่ และขาด
สารอาหาร ซึง่ เป็นการเพิม่ อัตราการเสียชีวติ ของผูป้ ว่ ยมากขึน้ ดังนัน้ พยาบาลซึง่ เป็นผูท้ ด่ี แู ลผูป้ ว่ ยอย่าง
ใกล้ชดิ ตลอดเวลา ควรมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับอาการ อาการแสดง และภาวะแทรกซ้อนทีอ่ าจเกิดขึน้
และบทบาทพยาบาลในการดูแลผูป้ ว่ ยตับแข็งทีม่ ภี าวะแทรกซ้อน เพือ่ ช่วยลดความทุกข์ทรมานของผูป้ ว่ ย
และลดอัตราการเสียชีวติ ของผูป้ ว่ ย รวมถึงประคับประคองให้ผปู้ ว่ ยมีชวี ติ ทีย่ นื ยาวขึน้

คำ�สำ�คัญ: โรคตับแข็ง ภาวะแทรกซ้อนของโรคตับแข็ง บทบาทพยาบาล

Received : August 3, 2016 Revised : October 7, 2019 Accepted : November 29, 2019

* อาจารย์ สาขาวิชาการพยาบาลพืน้ ฐานและบริหารการพยาบาล สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย,


E-mail: yanisa.d@stin.ac.th
* Instructure, Fundamentals of Nursing and Nursing Administration Branch, Srisararindhira Thai
Red Cross Institute of Nursing, E-mail: yanisa.d@stin.ac.th

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62 ...51


ญานิศา ดวงเดือน / Yanisa Duangduen

Abstract
Cirrhosis is a disease that is common and is the leading cause of death in every
country around the world. In the first phase, the patient shows general symptoms of
illness. As they do not seem serious, the patients often do not to a hospital. After
that, patients will experience more specific symptoms of liver cirrhosis and physical
changes. The liver cell changes and the disfunction affects other organs and causes many
complications. Common complications include portal hypertention, esophageal varices,
ascites, spontaneous bacterial peritonitis, hepatic encephalopathy, hepatorenal syndrome,
and malnutrition, which increases the mortality rate of more patients. Nurses should have
knowledge about the signs and symptoms, complications of cirrhosis, and the role of
nurses to care for patients with liver cirrhosis complications. This will help to reduce the
suffering of patients and reduce mortality among patients including helping palliative
patients to live longer.

Keywords: cirrhosis, complications of cirrhosis, nurse’s role

บทนำ� liver disease) ภาวะไขมันพอกตับทีไ่ ม่ได้เกิดจาก


โรคตับแข็ง (Cirrhosis) เป็นโรคเรือ้ รังทีก่ อ่ แอลกอฮอล์ (non-alcoholic fatty liver disease)
ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทีอ่ นั ตราย โดยเป็นสาเหตุ และภาวะเหล็กเกิน (hemochromatosis)3 ปัจจัย
การตายลำ�ดับที่ 13 ของประชากรโลก1 และพบ เหล่านีม้ ผี ลทำ�ให้ตบั เกิดการบาดเจ็บและซ่อมแซม
อุ บั ติ ก ารณ์ ก ารเกิ ด มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ นในหลาย ตัวเองจนเกิดเป็นพังผืดภายในเนื้อเยื่อตับ ซึ่งใน
ประเทศรวมถึงประเทศไทย มีรายงานในปี 2560 ระยะต่อมาผูร้ บั บริการจำ�นวนมากจะเสียชีวติ ด้วย
ของสำ � นั ก งานพั ฒ นานโยบายสุ ข ภาพระหว่ า ง โรคตับแข็งหรือภาวะแทรกซ้อนของโรคตับแข็งใน
ประเทศ เกีย่ วกับภาระโรคของประชากรไทย พบ ทีส่ ดุ
โรคตับแข็งอยูใ่ นลำ�ดับที่ 6 และ 12 ของประชากร พยาธิสรีรวิทยาของตับแข็ง เกิดจากมีการ
ไทยเพศชายและเพศหญิงตามลำ�ดับ2 โดยมีอนั ดับ ตายของเซลล์ตบั ทำ�ให้เกิดเป็นพังผืด (fibrosis)
สูงขึ้นจากปีก่อน ซึ่งปัจจัยเสี่ยงสำ�คัญที่ทำ�ให้เกิด และแผลเป็น (scar) อุดกัน้ การไหลเวียนเลือดใน
โรคตับแข็ง ได้แก่ การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตับ เซลล์ตบั ทีง่ อกใหม่มลี กั ษณะเป็นปุม่ (nodules)
เรือ้ รัง (chronic hepatitis B cirrhosis) การติด เป็นผลให้โครงสร้างและประสิทธิภาพของเซลล์
เชื้อไวรัสตับอักเสบซี (chronic hepatitis C ตับเปลีย่ นแปลง เกิดความไม่สมดุลของสารน้�ำ และ
cirrhosis) การดืม่ สุราเป็นเวลานาน (alcoholic แร่ธาตุ ไม่สามารถเผาผลาญฮอร์โมนและกำ�จัด
52... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62
บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็งที่มีภาวะแทรกซ้อน /
The Role of Nurses in Caring for Patients with Complications of Cirrhosis

ของเสียออกจากร่างกาย รวมทัง้ ไม่สามารถดูดซึม สะสมที่ช้นั ไขมันใต้ผิวหนังเกิดตัวเหลือง และไป


ไขมันและวิตามินทีล่ ะลายในไขมันได้ ในระยะแรก สะสมที่ช้ันนอกของลูกตา (sclera) โดยจับกับ
จะมีอาการไม่ชดั เจน ตับแข็งทีย่ งั ทำ�งานได้ดเี รียก โปรตีนอีลาสตินทำ�ให้ตาเหลือง
ว่าระยะ compensate cirrhosis แต่เมือ่ มีการ 3. อาการคัน (itching) เกิดจากสารใน
เปลีย่ นแปลงภายในเซลล์ตบั มากขึน้ หลอดเลือดใน bilirubin คัง่ ในชัน้ ไขมันใต้ผวิ หนังไปกระตุน้ ปลาย
ตับจึงหลั่งไนตริกออกไซด์ (nitric oxide) และ ประสาททีร่ บั ความรูส้ กึ ชนิดคัน
กลูคากอน (glucagon) ทำ�ให้เกิดการขยายตัวทัง้ 4. ท้ อ งมาน (ascites) และบวมตาม
หลอดเลือดดำ�และหลอดเลือดแดง เป็นผลให้ความ ร่างกาย (edema) เกิดจากตับสร้างอัลบูมนิ ลดลง
ดันในหลอดเลือดพอร์ทลั สูง จนเกิดการย้อนกลับ ทำ�ให้นำ้�และโซเดียมรั่วออกจากหลอดเลือดไป
ของเลือดในระบบทางเดินอาหาร ส่งผลให้แรงดัน สะสมตามช่องว่างระหว่างเซลล์และช่องในร่างกาย
ในหลอดเลือดฝอยสูงขึ้น มีการรั่วซึมของสาร เช่น ช่องท้อง
น้�ำ เข้าไปในช่องท้อง เกิดภาวะท้องมาน โซเดียม 5. เกิดรอยฟกช้�ำ และจ้�ำ เลือดตามตัว เนือ่ ง
และสารน้ำ�คั่งในร่างกาย ส่งผลให้ผู้รับบริการมี จากตับสร้างโปรตีนที่เป็นปัจจัยการแข็งตัวของ
ระดับโซเดียมในเลือดต่�ำ ระยะนีจ้ ะเรียกว่า decom- เลือดลดลง ได้แก่ factor I (fibrinogen), factor
pensated cirrhosis ขณะเดี ย วกั น เลื อ ดไม่ II (prothrombin), factor V, VII, IX, X, XI,
สามารถไหลผ่านตับเข้า Inferior vena cava เพือ่ protein C, protein S และ antithrombin ทำ�ให้
กลับเข้าสูห่ วั ใจได้ ส่งผลให้ cardiac output ลดลง เลือดออกง่ายแต่หยุดยาก เกิดรอยจ้�ำ เลือดตามตัว
ร่างกายจึงกระตุ้นฮอร์โมน renin-Angiotensin- และเลือดออกตามไรฟันได้
Aldosterone system (RAAS) เพือ่ เพิม่ ปริมาณ 6. อาการทางสมอง (hepatic encepha-
น้ำ� และโซเดี ยมในระบบไหลเวีย นเลือ ด ขณะ lopathy) เกิดจากตับไม่สามารถเปลีย่ นแอมโมเนีย
เดียวกันความสามารถของไตจะลดลง เป็นผลให้ ไปเป็นยูเรียได้ ทำ�ให้ระดับแอมโมเนียสูงและผ่าน
เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา อัตราการเสีย เข้าสูส่ มอง เกิดอาการทางสมองในทีส่ ดุ
ชีวติ จากภาวะแทรกซ้อนจึงเพิม่ มากขึน้ 4,5 7. หลอดเลือดดำ�รอบสะดือโป่งพอง (caput
medusae) เกิดจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
อาการและอาการแสดง4,5 ของตับและเลือดไม่สามารถไหลผ่านหลอดเลือด
1. ระยะแรกอาจไม่มีอาการหรือมีอาการ พอร์ทลั (portal vein) ได้ ทำ�ให้เกิดภาวะ portal
น้อยมาก อาการจะไม่จ�ำ เพาะต่อโรค เนือ่ งจากตับ hypertension จึงเกิดแรงดันย้อนกลับทางหลอด
ยังสูญเสียหน้าทีไ่ ม่มาก เช่น อ่อนเพลีย น้�ำ หนักลด เลือดดำ�ทีผ่ นังหน้าท้อง (epigastric vein) ส่งผล
เบือ่ อาหาร ให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดรอบๆ สะดือ
2. ดีซา่ น (jaundice) มีตาเหลืองตัวเหลือง ผิวหนังโดยรอบจึงพบ spider nevi มีลกั ษณะเป็น
เกิดจากตับไม่สามารถขับ bilirubin ออกได้ จึงเกิด จุดแดงตรงกลางและมีขาแตกแขนงออกไปคล้าย
การคัง่ ในตับและถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดแล้วไป ขาแมงมุม
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62 ...53
ญานิศา ดวงเดือน / Yanisa Duangduen

8. ม้ามโต (splenomegaly) เกิดจากมีภาวะ 13. ติดเชือ้ ง่าย เนือ่ งจากเม็ดเลือดขาวหรือ


portal hypertension และเลือดไม่สามารถไหล แมคโครฟาจ (macrophage) ทีอ่ ยูใ่ นตับ ซึง่ เรียก
ผ่าน Portal vein จึงย้อนกลับเข้าหลอดเลือดดำ� ว่า kuffer cell ไม่สามารถทำ�งานได้อย่างมี
ของม้าม (splenic vein) ทำ�ให้เกิดม้ามโตได้ ประสิทธิภาพ ทำ�ให้ผปู้ ว่ ยติดเชือ้ ได้งา่ ย
9. หลอดเลือดดำ�บริเวณทางเดินอาหารโป่ง
พอง (esophageal varices) เมือ่ เลือดไม่สามารถ ภาวะแทรกซ้อนของโรคตับแข็งที่พบได้บ่อย
ไหลผ่าน portal vein จนเกิดภาวะ portal hyper- ภาวะตับแข็งที่มีการสูญเสียเซลล์ตับและมี
tension ทำ�ให้เลือดดำ�ไหลผ่านหลอดเลือดดำ�ของ การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดมากขึ้นจะทำ�ให้
กระเพาะอาหารด้านซ้าย (left gastric vein) เข้า เกิดภาวะแทรกซ้อน ดังนี้
สูห่ ลอดเลือดดำ�บริเวณหลอดอาหาร (esophageal 1. ความดันในหลอดเลือดดำ�พอร์ทัลสูง
vein) ทำ�ให้เกิดการโป่งพองของหลอดเลือดดำ�ใน (portal hypertention) คือความดันในหลอดเลือด
ชัน้ submucosa ดำ�พอร์ทลั ทีม่ ากกว่า 10 มม.ปรอท เกิดจากการ
10. ถ่ายอุจจาระดำ� (melena) หรืออาเจียน บาดเจ็บในเนื้อเยื่อตับซ้ำ�ๆ ซึ่งจะกระตุ้นเซลล์ท่ี
เป็นเลือด (hematemesis) เกิดจากมีภาวะแรงดันสูง สร้างพังผืดในเนือ้ เยือ่ ตับ (hepatic stellate cell)
ในระบบหลอดเลือดดำ�ของตับ (portal hyperten- ให้สร้างพังผืด ตับจึงเกิดรอยแผลเรือ้ รังและมีแรง
sion) เป็นผลให้หลอดเลือดดำ�บริเวณหลอดอาหาร ต้านในเนื้อตับมากขึ้น เป็นผลให้เกิดแรงดันใน
และกระเพาะอาหารขยายตัวออก (varices) หลอดเลือดดำ�ของตับ (hepatic vascular resis-
หลอดเลือดดำ�เหล่านี้จึงมีผนังบางและแตกง่าย tance) นำ�ไปสูก่ ารเกิดภาวะ portal hyperten-
หากมีความดันภายในหลอดเลือดสูงมาก หลอด sion และเกิดแรงดันย้อนกลับไปยังหลอดเลือดดำ�
เลือดดำ�นีจ้ ะแตกและเกิดภาวะเลือดออกในหลอด ทีเ่ ชือ่ มต่อกัน (mesenteric vein) ส่งผลต่ออวัยวะ
อาหารหรือกระเพาะอาหารได้ ผู้ป่วยจะมีอาการ ต่างๆ ทีห่ ลอดเลือดดำ�นัน้ ผ่านด้วย เช่น เลือดไหล
ถ่ายดำ�หรืออาเจียนเป็นเลือด ย้อนกลับไปยังม้าม ทำ�ให้มา้ มโต หลอดเลือดดำ�ใน
11. รอยแดงบริเวณฝ่ามือ (palmer erythema) หลอดอาหารและกระเพาะอาหารขยายใหญ่ขน้ึ 6,7
เป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน estrogen 2. เลื อ ดออกจากหลอดเลื อ ดดำ � ขอดใน
และตับไม่สามารถเผาผลาญสเตียรอยด์ฮอร์โมนได้ หลอดอาหาร (esophageal varices) เกิดจากการ
12. ผู้รับบริการจะมีการเปลี่ยนแปลงของ ทีม่ คี วามดันหลอดเลือดพอร์ทลั สูง มากกว่า 12 มม.
ฮอร์โมน เช่น ต่อมหมวกไตผลิตฮอร์โมน estrogen ปรอท7 ความดันในตับที่สูงขึ้น ส่งผลให้ตับหลั่ง
มากขึน้ ทำ�ให้ผชู้ ายมีเต้านมโต (gynaecomastia) ไนตริกออกไซด์เพิม่ มากขึน้ เกิดหลอดเลือดขยายตัว
ระดับความเข้มข้นของฮอร์โมน testosterone ทั่วร่างกาย รวมถึงหลอดเลือดในระบบทางเดิน
ลดลง ทำ�ให้อวัยวะเพศชายมีขนาดเล็กลง ความ อาหารขยายตัว (splanchnic vasodilatation) จน
รู้สึกทางเพศลดลง ผู้หญิงมีความผิดปกติของ นำ�ไปสูภ่ าวะเลือดออกเฉียบพลันจากหลอดเลือดดำ�
ประจำ�เดือน ในหลอดอาหารโป่งพองแตก (acute esophageal
54... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62
บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็งที่มีภาวะแทรกซ้อน /
The Role of Nurses in Caring for Patients with Complications of Cirrhosis

varices bleeding) โดยผูร้ บั บริการจะอาเจียนเป็น เป็นอาหารทีด่ ขี องเชือ้ ผูร้ บั บริการจะมีไข้ ปวดท้อง


เลือดสด (hematemesis) หรือถ่ายเป็นสีเข้มคล้าย กดเจ็บทัว่ ท้อง5
เลือดเก่า (melena) อ่อนเพลียอย่างรวดเร็ว หัวใจ 5. ความผิดปกติทางสมอง (hepatic en-
เต้นเร็ว เหงือ่ ออก หน้ามืด มือและเท้าเย็น ความ cephalopathy) เกิดจากมีการคัง่ ของของเสียต่างๆ
ดันต่�ำ 8 ที่ควรถูกทำ�ลายที่ตับ โดยเฉพาะแอมโมเนีย ใน
3. ภาวะท้องมาน (Ascites) เกิดจากหลอด ภาวะปกติแบคทีเรียในลำ�ไส้จะสลายยูเรียเป็น
เลือดในระบบทางเดินอาหารขยายตัว ทำ�ให้ความ แอมโนเนียซึ่งจะถูกขนส่งเข้าสู่ตับผ่านทางหลอด
ดันของหลอดเลือดฝอยในระบบทางเดินอาหารจึง เลือดดำ�พอร์ทลั เพือ่ สังเคราะห์เป็นกลูตามีนเก็บไว้
สูงขึน้ ส่งผลให้มสี ารน้�ำ รัว่ ออกจากเส้นเลือดเข้าไป ในตับ และขับยูเรียออกทางปัสสาวะ ผูร้ บั บริการ
ในช่องท้อง อีกทัง้ เซลล์ตบั ยังสังเคราะห์อลั บูมนิ ลด โรคตับแข็งทีเ่ ซลล์ตบั ถูกทำ�ลายไปมาก จะมีความ
ลง ทำ�ให้รา่ งกายรักษา osmotic pressure ไม่ได้ สามารถในการกำ�จัดแอมโมเนียลดลง เกิดภาวะ
น้ำ�และโซเดียมจึงถูกดึงออกจากหลอดเลือดไป แอมโมเนียคัง่ ในเลือดและไหลผ่านวงจรไหลเวียน
สะสมทีช่ น้ั ไขมันใต้ผวิ หนังและช่องท้อง นอกจาก เลือดทัว่ ร่างกาย ผ่าน blood-Brain barrier และ
นั้นการขยายตัวของหลอดเลือดในระบบทางเดิน เข้าสูส่ มองในทีส่ ดุ ผูร้ บั บริการจะมีอาการหลงลืม
อาหารยังทำ�ให้การไหลเวียนโลหิตในระบบทางเดิน สับสน ประสาทหลอน บุคลิกภาพเปลีย่ นแปลง มี
อาหาร (splanchnic circulation) เพิม่ ขึน้ ความดัน อาการกระตุกขึ้นๆ ลงๆ ของข้อมือ (flapping
ของเลือดแดงเฉลี่ยในร่างกายจึงลดลง ทำ�ให้เกิด tremor) บางรายมีภาวะเลือดเป็นด่างจากการ
การกระตุ้นระบบ renin-angiotensin-aldoste- หายใจ (respiratory alkalosis) และหายใจมีกลิน่
rone (RAAS) ให้มีการเก็บสารน้ำ�และโซเดียม หวานเอียน (fetor hepaticus) อาการจะเด่นชัด
และเกิ ด การหดตั ว ของหลอดเลื อ ดไตทำ �ให้ มี ขึน้ ภายหลังผูร้ บั บริการรับประทานอาหารประเภท
การดูดกลับน้ำ�และโซเดียมมากกว่าปกติ จึงเกิด โปรตีนหรือมีเลือดออกจากระบบทางเดินอาหารมาก
ภาวะบวมตามร่างกายและท้องมานมากขึน้ ผูร้ บั เนือ่ งจากสาเหตุดงั กล่าวเป็นการเพิม่ แอมโมเนียใน
บริการจะมีทอ้ งบวมโต ปวดบริเวณท้อง ตรวจท้อง ลำ�ไส้5
พบ shifting dullness positive และ fluid thrill 6. ภาวะไตเสียหน้าที่ (hepatorenal syn-
positive8,9 drome) เป็นผลมาจากหลอดเลือดในระบบทางเดิน
4. ภาวะติดเชือ้ ในช่องท้อง (spontaneous อาหารขยายตัว ทำ�ให้เลือดทีไ่ หลเวียนมาเลีย้ งไต
bacterial peritonitis) เกิดจากภาวะความดันใน ลดน้อยลง อัตราการกรองของไตจึงลดลง ส่งผลให้
หลอดเลือดดำ�พอร์ทลั สูง ทำ�ให้มกี ารคัง่ ของเลือด ผูร้ บั บริการมีปสั สาวะออกน้อย9
ดำ� ลำ�ไส้จงึ บวมและเกิดการซึมผ่านของเชือ้ ได้งา่ ย 7. ภาวะพร่องโภชนาการ (malnutrition)
ขึ้น อีกทั้งระบบภูมิค้มุ กันภายในตับลดลงจากตับ เป็นปัจจัยเสีย่ งทีค่ กุ คามชีวติ ของผูร้ บั บริการโรคตับ
เสียหน้าที่ ส่งผลให้ตบั ไม่สามารถกำ�จัดแบคทีเรีย แข็งและทำ�ให้โรครุนแรงขึ้น โดยอัตราการเผา
ได้ ผูร้ บั บริการทีม่ ภี าวะท้องมาน น้�ำ ในช่องท้องจะ ผลาญพลั ง งานของร่ า งกายมี ค วามสั ม พั น ธ์ กับ

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62 ...55


ญานิศา ดวงเดือน / Yanisa Duangduen

ระดับความรุนแรงของโรค มีการศึกษาพบว่าผูร้ บั เป็นโรคตับแข็ง มาตรวจตามนัดอย่างสม่ำ�เสมอ


บริการที่เป็นโรคตับแข็งมีการสร้างพลังงานใน และควรมารับการส่องกล้องดูระบบทางเดินอาหาร
ร่างกายน้อยกว่าคนปกติ10 ผูร้ บั บริการทีเ่ ป็นโรคตับ โดยเร็ว เพือ่ ประเมินการเกิดและขนาดของหลอด
แข็งจะขาดไกลโคเจน และใช้ไขมันในการสังเคราะห์ เลือดดำ�ขอด เป็นการป้องกันการเกิดเลือดออก
กลูโคสหรือไกลโคเจนโดยไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต ทำ�ให้ ซึ่งการป้องกันเลือดออกครั้งแรกมีความสำ�คัญ
เปลีย่ นการเผาผลาญตามปกติไปเป็นการออกซิเดชัน่ เนือ่ งจากสัมพันธ์กบั อัตราการเสียชีวติ ทีส่ งู ขึน้ 12
ของไขมัน มีภาวะดื้ออินซูลินในกล้ามเนื้อลาย 1.4 ประเมินภาวะท้องมานโดยแนะนำ�
ร่ ว มกั บ เพิ่ม การเผาผลาญพลั ง งานจากโปรตี น ผูร้ บั บริการโรคตับแข็งให้ชง่ั น้�ำ หนักทุกวัน ในเวลา
เนือ่ งจากมีไกลโคเจนสะสมน้อย อีกทัง้ ยังมีการเพิม่ เดียวกัน ด้วยเครือ่ งชัง่ น้�ำ หนักเดิม และหากพบว่า
ของ aromatic amino acid และมีการลดลงของ น้�ำ หนักเพิม่ มากกว่า 0.91 กิโลกรัม/วัน นานติดต่อ
branch chain amino acid ทำ�ให้ผรู้ บั บริการอยู่ กัน 3 วัน12 ควรมาโรงพยาบาล
ในภาวะการเผาผลาญอาหารสูง (hypermeta- 1.5 แนะนำ�ให้ผรู้ บั บริการลดระดับโซเดียม
bolic state) และมีการใช้พลังงานมากกว่าปกติ11 ในร่างกาย เช่น แนะนำ�ไม่ให้ใส่เกลือลงในอาหาร
หรือหลีกเลี่ยงอาหารที่มีเกลือสูง13 รวมถึงเครื่อง
บทบาทพยาบาลในผู้รับบริการโรคตับแข็ง ปรุงรสประเภทซอส ซีอ๊วิ เนื่องจากมีเกลือเป็น
ส่วนประกอบ เพือ่ ลดการดูดกลับสารน้�ำ ในช่องท้อง
ที่มีภาวะแทรกซ้อน 1.6 ดูแลผูร้ บั บริการทีไ่ ด้รบั การเจาะท้อง
1. บทบาทด้านการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ระบายสารน้�ำ ดังนี้
จากโรคตับแข็ง 1.6.1 ก่อนเจาะท้อง
1.1 อธิบายปัจจัยเสีย่ งทีท่ �ำ ให้เกิดโรคตับ - พยาบาลต้องประเมินความพร้อม
แข็งกับผู้รับบริการที่มีความเสี่ยงและแนะนำ�ให้ ของผูร้ บั บริการว่าเคยเจาะท้องมาก่อนหรือไม่ วิตก
หลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ งเหล่านัน้ เพือ่ ป้องกันการเกิด กังวลกับการเจาะท้องหรือไม่ โดยต้องอธิบาย
โรคตับแข็ง ดังนี้ แนะนำ�ให้ผรู้ บั บริการหลีกเลีย่ ง เหตุผล วิธกี ารทำ�และการปฏิบตั ติ วั ของผูร้ บั บริการ
การดืม่ สุรา ลดการรับประทานอาหารหวานและ ให้ก�ำ ลังใจผูร้ บั บริการเพือ่ ลดความวิตกกังวล
ไขมันสูง ควบคุมน้�ำ หนักให้อยูใ่ นเกณฑ์ หลีกเลีย่ ง - ดูแลให้ผรู้ บั บริการลงนามยินยอม
การรั บ ประทานยาที่ ไ ม่ จำ � เป็ น หลี ก เลี่ ย งการ - ดูแลเรือ่ งความสะอาดของร่างกาย
รับประทานยาสมุนไพร เลิกรับประทานยาต้มหรือ และสิง่ แวดล้อมรอบตัวของผูร้ บั บริการ
ยาหม้อ เป็นต้น - ตรวจสอบสั ญ ญาณชี พ ก่ อ นทำ �
1.2 ให้ความรู้ผู้รับบริการที่เป็นโรคตับ หัตถการ
แข็งควรหลีกเลีย่ งการดืม่ สุรา เพือ่ ให้ความรุนแรง - จัดท่าศีรษะสูงเล็กน้อย หรือท่า
ของโรคลดลง ลดความเสีย่ งในการเกิดเลือดออก นอนตะแคงให้พร้อมสำ�หรับการเจาะท้อง
จากหลอดเลือดดำ�ขอด - จัดเตรียมวัสดุอปุ กรณ์ในการเจาะ
1.3 แนะนำ�ผูร้ บั บริการทีไ่ ด้รบั การวินจิ ฉัย ท้องโดยใช้หลักสะอาดปราศจากเชือ้

56... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62


บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็งที่มีภาวะแทรกซ้อน /
The Role of Nurses in Caring for Patients with Complications of Cirrhosis

1.6.2 ขณะเจาะท้อง ผลิตภัณฑ์จากถัว่ เหลือง


- ตรวจสอบอาการเปลีย่ นแปลงของผูร้ บั 2. บทบาทด้านการดูแลผูร้ บั บริการทีม่ ภี าวะ
บริการ โดยประเมินความดันโลหิต สังเกตชีพจร แทรกซ้อนจากโรคตับแข็ง
การหายใจ เหงือ่ ออก ระดับความรูส้ กึ ตัวของผูร้ บั 2.1 ภาวะเลือดออกจากระบบทางเดิน
บริการเป็นระยะ เพือ่ ป้องกันอันตรายทีอ่ าจเกิดจาก อาหาร
ภาวะไม่สมดุลของสารน้�ำ และเกลือแร่ 2.1.1 แนะนำ�ผู้รับบริการให้สังเกต
- ดูแลไม่ให้ของเหลวไหลออกเร็วเกินไป ภาวะเลือดออกจากระบบทางเดินอาหาร เช่น การ
เพือ่ ป้องกันภาวะช็อค อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด หรืออุจจาระเป็น
1.6.3 หลังการเจาะท้อง สีคล้ายเลือดเก่า เนือ่ งจากมีโอกาสทีจ่ ะเกิดเลือด
- ประเมินระดับการรูส้ ติและตรวจสอบ ออกซ้�ำ ได้สงู 7 การติดตามและเฝ้าระวังอย่างใกล้
สัญญาณชีพทุก 15 นาที จำ�นวน 4 ครัง้ และทุก ชิดจะช่วยให้พยาบาลพบเจอปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
30 นาที จำ�นวน 2 ครัง้ เพือ่ เฝ้าระวังการเปลีย่ น และสามารถให้การพยาบาลได้ทนั ท่วงที
แปลงของผูร้ บั บริการ 2.1.2 แนะนำ � ผู้ รั บ บริ ก ารให้ ง ด
- ติดตามดูส่ิงคัดหลั่งที่อาจออกมาจาก รับประทานอาหารทีม่ สี ดี �ำ หรือสีแดง เพือ่ ให้ประเมิน
รูเปิด หากพบว่าผ้าก๊อซเปียกชุม่ จากของเหลวใน ภาวะเลือดออกจากระบบทางเดินอาหารได้ง่าย
ช่องท้อง ควรเปลีย่ นแผ่นใหม่ โดยไม่ปล่อยให้เกิด หากพบว่าผูร้ บั บริการถ่ายอุจจาระเป็นสีเลือด
การสะสมของเชือ้ โรค และเฝ้าระวังภาวะช็อคหาก 2.1.3 ดูแลควบคุมอุณหภูมิห้องให้
ของเหลวรัว่ ซึมออกมาจำ�นวนมาก อยู่ในระดับที่พอเหมาะ ไม่ให้ตำ�่ กว่า 20 องศา
- ดูแลเรื่องความเจ็บปวดและความไม่ เซลเซียส เนือ่ งจากมีการศึกษาวิจยั แบบย้อนหลัง
สุขสบาย 10 ปี ในกลุม่ ผูร้ บั บริการตับแข็งจากหลากหลาย
- บั น ทึ ก ข้ อ มู ล เพื่ อ ช่ ว ยวางแผนการ เชือ้ ชาติ โดยไม่ค�ำ นึงถึงอายุ เพศ และระดับความ
พยาบาลอย่างต่อเนื่องและเป็นหลักฐานทางการ รุนแรงของโรคตับแข็ง พบว่าอุณหภูมิท่ีตำ่�กว่า
พยาบาล ดังนี้ วัน เวลาทีเ่ จาะ ชือ่ แพทย์ ชือ่ ยาชา 20 องศาเซลเซียส จะเพิม่ ความเสีย่ งในการเกิด
ลักษณะสี จำ�นวนของเหลว อาการและอาการ เลือดออกจากหลอดเลือดดำ�ขอดในหลอดอาหาร
แสดงของผูร้ บั บริการก่อนเจาะ ขณะเจาะ และ เนื่องจากอากาศเย็นจะกระตุ้นระบบประสาทซิม
หลังเจาะ พาเทติก ทำ�ให้ความดันในหลอดเลือดดำ�พอร์ทัล
1.7 แนะนำ � ให้ ผู้ รั บ บริ ก ารรั บ ประทาน สูงขึ้น ส่งผลให้มีปริมาณเลือดในระบบทางเดิน
อาหารประเภท branch chain amino acid ซึง่ อาหาร และแรงต้านภายในตับเพิม่ ขึน้ 15
จะช่วยป้องกันและลดการเกิดอาการผิดปกติทาง 2.1.4 บันทึกสัญญาณชีพและเฝ้า
สมองได้ โดยป้องกันการผลิตสารสือ่ ประสาททีผ่ ดิ ระวังการเปลีย่ นแปลงสัญญาณชีพของผูร้ บั บริการ
ปกติในสมอง14 อาหารประเภท Branch chain รายงานแพทย์เมือ่ พบว่าผูร้ บั บริการมีอตั ราการเต้น
amino acid ได้แก่ ไข่ขาว โปรตีนจากสัตว์ ของหัวใจเร็วขึน้ ร่วมกับความดันโลหิตต่�ำ ลง เป็น

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62 ...57


ญานิศา ดวงเดือน / Yanisa Duangduen

อาการบ่งชีถ้ งึ สารน้�ำ ในร่างกายต่�ำ ซึง่ อาจเกิดเลือด 2.2.4 ดูแลให้ผรู้ บั บริการชัง่ น้�ำ หนักทุก
ออกจากระบบทางเดินอาหารได้ วัน วันละหนึง่ ครัง้ ด้วยเครือ่ งชัง่ เดิม วัดรอบท้อง
2.1.5 ให้สารน้ำ�ทดแทนตามแผนการ และประเมินอาการบวมบริเวณอวัยวะส่วนปลาย
รักษาของแพทย์ เมื่อพบว่ามีภาวะเลือดออกจาก ร่วมกับติดตามปริมาณสารน้�ำ เข้าออกจากร่างกาย
หลอดเลือดดำ�ขอดในหลอดอาหาร โดยรักษาระดับ เพือ่ ประเมินปริมาณสารน้�ำ ทีค่ ง่ั ค้างอยูใ่ นชัน้ ไขมัน
ความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pres- ใต้ผวิ หนังและช่องท้อง
sure) ให้มากกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท และมีอตั รา 2.2.5 ประเมินน้�ำ หนักของผูร้ บั บริการ
การเต้นของหัวใจน้อยกว่า 100 ครัง้ /นาที8 ทีไ่ ด้รบั ยาขับปัสสาวะทุกวัน โดยผูร้ บั บริการทีไ่ ม่มี
2.1.6 ติดตามภาวะเลือดออกจากระบบ การบวมบริเวณอวัยวะส่วนปลาย น้�ำ หนักควรลด
ทางเดินอาหารอย่างน้อย 5 วันตัง้ แต่รบั เข้าอยูใ่ น 0.3-0.5 กิโลกรัม/วัน และผูร้ บั บริการทีม่ อี วัยวะ
โรงพยาบาล โดยเฝ้าระวังอย่างใกล้ชดิ ภายใน 72 ชม. ส่วนปลายบวมน้ำ� ควรมีนำ้�หนักลดลง 0.8-1
เนื่องจากเป็นระยะที่อาจเกิดภาวะเลือดออกจาก กิโลกรัม/วัน12 เป็นการลดปริมาณสารน้�ำ ในร่างกาย
ระบบทางเดินอาหารเฉียบพลันได้7 และป้องกันการเกิดภาวะไตวายได้
2.2 ภาวะท้องมาน 2.2.6 เฝ้าระวังระดับอิเล็กโทรลัยต์ใน
2.2.1 ดูแลให้ผู้รับบริการได้รับอาหาร เลื อ ดเปลี่ ย นแปลงในผู้ รั บ บริ ก ารที่ ไ ด้ รั บ ยาขั บ
โซเดียมต่�ำ หรือจำ�กัดปริมาณเกลือให้ผรู้ บั บริการได้ ปัสสาวะ หรือได้รับการเจาะท้อง โดยเฉพาะ
รับน้อยกว่า 2,000 มิลลิกรัม/วัน12 นอกจากนัน้ ยัง โพแทสเซียมและโซเดียมต่�ำ
ต้องแนะนำ�ญาติเกีย่ วกับอาหารทีส่ ามารถนำ�มาให้ 2.3 ภาวะติดเชือ้ ในช่องท้อง
ผูร้ บั บริการรับประทานได้ เพือ่ ลดการดูดกลับของ 2.3.1 ดูแลให้ผรู้ บั บริการได้รบั ยาปฏิชวี นะ
สารน้�ำ เข้าสูร่ า่ งกาย ตามแผนการรักษาของแพทย์
2.2.2 จำ�กัดน้ำ�ดื่มตามแผนการรักษา 2.3.2 ดูแลร่างกายและสิง่ แวดล้อมรอบ
เพือ่ ลดปริมาณสารน้�ำ เข้าสูร่ า่ งกาย ตัวผูร้ บั บริการให้สะอาด เปลีย่ นผ้าปูเตียงทุกครัง้
2.2.3 จัดท่าศีรษะสูง 15 องศา ให้กบั เมือ่ ถึงกำ�หนด
ผู้รับบริการเพื่อให้สารน้ำ�ไหลลงตามแรงโน้มถ่วง 2.3.3 ติดตามอาการแสดงของการติด
ลดการกดจากกระบังลมหรือสารน้ำ�ในช่องท้อง เชือ้ ในช่องท้อง เช่น มีไข้ ปวดท้องและกดเจ็บ หน้า
ทำ�ให้ปอดขยายตัวได้ โดยมีการศึกษาพบว่าการจัด ท้องแข็งเกร็ง8 หากพบอาการดังกล่าว พยาบาล
ท่าศีรษะสูง 15 องศา, 30 องศา และ 45 องศา ต้องรีบประสานงานกับแพทย์ เพือ่ ให้การช่วยเหลือ
ให้ผลไม่แตกต่างกันในเรือ่ งของความสุขสบายและ ได้ทนั ท่วงที
ค่าออกซิเจนในเลือด แต่ผรู้ บั บริการทีม่ นี �ำ้ ในช่อง 2.4 อาการผิดปกติทางสมอง
ท้อง การจัดท่าศีรษะสูง 45 องศา จะทำ�ให้ผรู้ บั 2.4.1 ดูแลให้ผ้รู ับบริการได้รับยา เช่น
บริการหายใจลำ�บากมากกว่าการจัดท่าศีรษะสูง 15 lactulose เพื่ อ ลดการสร้ า งแอมโมเนี ย ของ
องศา16 แบคทีเรียในระบบทางเดินอาหาร และสอบถาม

58... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62


บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็งที่มีภาวะแทรกซ้อน /
The Role of Nurses in Caring for Patients with Complications of Cirrhosis

เกี่ยวกับการขับถ่าย ผู้รับบริการควรถ่ายอุจจาระ ทุก 8 ชัว่ โมง เช่น ระดับการรูส้ ติ การกระตุกขึน้


เป็นลักษณะเนื้อนิ่มอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง13 ลงของข้อมือ การพูดและความเข้าใจที่เปลี่ยน
นอกจากนัน้ การรับประทานอาหารทีม่ กี ากใย เช่น แปลงไป
ผัก ผลไม้ รวมถึงโยเกิรต์ และนมเปรีย้ วทีม่ สี ว่ นผสม 2.5 ปัญหาด้านโภชนาการ
ของโพรไบโอติ ก ยั ง ช่ ว ยกระตุ้ นให้ มี ก ารถ่ า ย 2.5.1 ดูแลให้ผรู้ บั บริการให้ได้รบั พลังงาน
อุจจาระเพิม่ ขึน้ อีกด้วย จากอาหาร 35-45 กิโลแคลอรี/่ กิโลกรัม/วัน17 การ
2.4.2 ดูแลผูร้ บั บริการอย่างใกล้ชดิ โดย ได้รับพลังงานอย่างเพียงพอจะช่วยลดการสร้าง
เฉพาะรายที่มีประวัติเลือดออกในทางเดินอาหาร พลังงานโดยการสลายกล้ามเนือ้ และไขมัน
มาก่อน จะเกิดเลือดออกซ้�ำ ได้งา่ ย ซึง่ เลือดทีค่ า้ ง 2.5.2 ดูแลให้ผรู้ บั บริการได้รบั อาหารมือ้
อยูใ่ นลำ�ไส้จะถูกเปลีย่ นเป็นโปรตีน ทำ�ให้มกี ารเพิม่ ละน้อยๆ แต่บอ่ ยครัง้ อาจจัดตารางเป็นอาหารมือ้
ของแอมโมเนีย เสีย่ งต่อการเกิดอาการทางสมอง หลัก 3 มือ้ ในเวลา 8.00 น., 12.00 น. และ 18.00 น.
มากขึน้ ดังนัน้ หากพบเลือดออกในทางเดินอาหาร แล้วเพิม่ อาหารว่างอีก 3 เวลา คือ 10.00 น.,
ต้องทำ�ให้เลือดหยุดโดยเร็ว และหากมีเลือดเก่าค้าง 14.00 น. และ 20.00 น. เนือ่ งจากมีการศึกษาพบ
อยูใ่ นทางเดินอาหาร อาจพิจารณาล้างกระเพาะ ว่าผูร้ บั บริการโรคตับแข็งทีไ่ ด้รบั อาหารว่างระหว่าง
อาหาร หรือดูแลให้ได้รับยาถ่ายเพื่อขับถ่ายเลือด มื้อปกติ จะมีการเพิ่มระดับการสร้างพลังงานใน
เก่าออก15 ร่างกาย โดยพบว่าระดับกรดไขมันอิสระลดลงและ
2.4.3 แนะนำ�ให้ผรู้ บั บริการรับประทาน ระดับอัลบูมนิ ในเลือดเพิม่ ขึน้ ภายหลังได้รบั อาหาร
อาหารทีช่ ว่ ยลดความเสีย่ งในการเกิดอาการผิดปกติ เพิม่ ขึน้ เป็น 6 มือ้ ต่อวัน10 และดูแลให้มโี ปรตีนใน
ทางสมอง เช่น ธัญพืช และอาหารที่มีแร่ธาตุ ทุกมือ้ อาหาร ปริมาณ 20-30 กรัม/มือ้ โดยมือ้ ก่อน
สั ง กะสี สู ง เนื่ อ งจากแร่ ธ าตุ สั ง กะสี ช่ ว ยใน นอนควรได้รบั เป็นอาหารเสริมประเภทโปรตีน18
กระบวนการกำ�จัดยูเรีย14 เช่น ตับ งา จมูกข้าว
ถัว่ ลิสง ช็อคโกแลต เป็นต้น สรุป
2.4.4 ดูแลให้ได้รบั โปรตีน 1.2-1.5 กรัม/ ความดันในหลอดเลือดดำ�พอร์ทลั สูง เลือด
กิโลกรัม/วัน ในผู้รับบริการที่มีอาการทางระบบ ออกจากหลอดเลือดดำ�ขอดในหลอดอาหาร ภาวะ
ประสาท และไม่ควรจำ�กัดอาหารประเภทโปรตีน ท้องมาน ภาวะติดเชือ้ ในช่องท้อง ความผิดปกติ
เพราะจะเกิดการสลายกล้ามเนือ้ มากขึน้ ส่งผลให้ ทางสมอง ภาวะไตเสียหน้าที่ และภาวะพร่อง
ระดับแอมโมเนียในเลือดสูงขึน้ ดังนัน้ การจำ�กัด โภชนาการ เป็นภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยใน
อาหารประเภทโปรตีนในผู้รับบริการที่เป็นโรคตับ ผูป้ ว่ ยโรคตับแข็ง พยาบาลสามารถช่วยลดความ
แข็งและมีอาหารทางสมองจะก่อให้เกิดผลกระทบ เสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ โดยมีบทบาทในการป้องกัน
มากขึน้ 17,18 แต่ควรเลือกรับประทานโปรตีนประเภท ภาวะแทรกซ้อน เช่น แนะนำ�ให้มาตรวจตามนัด
branch chain amino acid แทน ให้ความรูใ้ นการหลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ งหรือลดความ
2.4.5 ประเมินอาการทางระบบประสาท รุนแรง แนะนำ�อาหารทีเ่ หมาะสม ในบทบาทด้าน
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62 ...59
ญานิศา ดวงเดือน / Yanisa Duangduen

การดูแลผูร้ บั บริการทีม่ ภี าวะแทรกซ้อนแล้ว เช่น ภาวะแทรกซ้อนเพือ่ ลดความเสีย่ งในการเกิด ขณะ


การควบคุมอุณหภูมิในผู้รับบริการที่มีภาวะเลือด เกิดภาวะแทรกซ้อนเพื่อลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ออกในทางเดินอาหาร การประเมินน้ำ�หนักและ และภายหลังเกิดภาวะแทรกซ้อนเพือ่ ให้ผรู้ บั บริการ
การจัดท่าในผู้รับบริการที่มีภาวะท้องมาน ดูแล ปลอดภัยและมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี ช่วยลดอัตราการ
อาหารในผูท้ ม่ี อี าการทางสมอง เป็นต้น พยาบาล เสียชีวติ ในผูร้ บั บริการทีเ่ ป็นโรคตับแข็ง
ผูด้ แู ลต้องมีความรูใ้ นการพยาบาลทัง้ ระยะก่อนเกิด

เอกสารอ้างอิง
1. Asrani SK, Devarbhavi H, Eaton J, Kamath PS. Burden of liver disease in the world.
J Hepatol 2019;70(1):151-71.
2. International Health Policy Program. Disability-adjusted life years: burden of disease
Thailand 2014. Nonthaburi: Graphico system; 2017. (in Thai)
3. Bethea ED, Chopra S. Cirrhosis and Portal Hypertension. In: Lawrence SF, Paul M,
editors. Handbook of liver disease. 4th ed. Philadelphia: Elsevier; 2018. p.158-71.
4. Jirapongsathorn S. Cirrhosis. In: Sakarin J, Chaipichit P, editors. Manual of gastroen-
terology. Bangkok: Nam Aksorn Printing House; 2018. p.183-202. (in Thai)
5. Saeian K, Shaker R. Liver disorders: a point of care clinical guide. Zug, Switzerland:
Springer International Publishing; 2017.
6. Chirapongsathorn S. Stage and natural history of cirrhosis. Thai J Hepatol 2018;1(2):14-8.
7. Bosch J, Iwakiri Y. The portal hypertension syndrome: etiology, classification, relevance,
and animal models. Hepatol Int 2018;12(1):1-10.
8. Chainuvati S. Portal Hypertention and Complications. In: Supot P, Tawesak T,
Sathaporn M, editors. Clinical practice in gastroenterology. 3rd ed. Bangkok Wetchasan
Printing House; 2014. p.456-76. (in Thai)
9. Piano S, Tonon M, Angeli P. Management of ascites and hepatorenal syndrome.
Hepatol Int 2018;12(1):122-34.
10. Yao J, Zhou X, Kong M, Li L, Hua X, Zhao Y, et al. Effects of eating frequency on
respiratory quotient in patients with liver cirrhosis: a randomized controlled trial. Asia
Pac J Clin Nutr 2018;27(2):322-28.

60... วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62


บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็งที่มีภาวะแทรกซ้อน /
The Role of Nurses in Caring for Patients with Complications of Cirrhosis

11. Tanwandee T. Cirrhosis. In: Supot P, Tawesak T, Sathaporn M, editors. Clinical


practice in gastroenterology. 3rd ed. Bangkok: Bangkok Wetchasan Printing House;
2014. p.441-55. (in Thai)
12. Minor SE, Eliacin I, Kashan S, Whisenant EB. Cirrhosis complication: keeping them
under control. J Fam Pract 2015;64(6):338-42.
13. Clements A, Greenslade L. Nursing care for end-stage liver disease. Nurs Time.
2016;111(29):16-9.
14. Chaney A, Werner T, Kipple T. Primary care management of hepatic encephalopathy:
a common cirrhosis complication. J Nurse Pract 2015;11(3):300-6.
15. Wu WC, Chen YT, Chen PH, Su CW, Huang WM, Yang TC, et al. Low air temperature
increases the risk of oesophageal variceal bleeding: a population and hospital-based
case-crossover study in Taiwan. Liver Int 2016;36(6):856-64.
16. Hsu WC, Ho LH, Lin MH, Chiu HL. Effects of head posture on oxygenation saturation,
comfort, and dyspnea in patients with liver cirrhosis-related ascites. Hu Li Za Zhi
2014;61(5):66-74.
17. Amodio P, Bemeur C, Butterworth R, Cordoba J, Kato A, Montagnese S, et al.
The nutritional management of hepatic encephalopathy in patients with cirrhosis:
international society for hepatic encephalopathy and nitrogen metabolism consensus.
Hepatology 2013;58(1):325-36.
18. Liames J, Logomarsino JV. Protein recommendations for older adults with cirrhosis:
a review. J Gastroenterol Hepatol Res 2015;4(4):1546-56.

วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 12 ฉ.2 ก.ค.-ธ.ค. 62 ...61

You might also like