คณิต A-Level 1-2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 92

ALevel คณิตประยุกต ์ 1

ไฟลน้์ เป็นชุด 2 นาา



ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |1
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

ร ั วิชา 61 คณิตศา ตรประยุกต 1


อบวันอาทิตยที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2566
เวลา 08.30 – 10.00 น.


ั ลัก ณท่ใี ชในแบบทด อบ

เซต
 แทนเซตของจําน นเต็ม
 แทนเซตของจําน นจริง
 แทนเซต าง
A แทนคอมพลีเมนตของเซต A
n(A) แทนจําน น มาชิกของเซตจํากัด A

จําน นเชิงซอน
z แทน ังยุคของจําน นเชิงซอน z
z แทนคา ัมบูรณของจําน นเชิงซอน z
Re(z) แทน  นจริงของจําน นเชิงซอน z

เมทริกซ
A 1 แทนเมทริกซผกผันของเมทริกซ A
det  A  แทนดีเทอรมิแนนตของเมทริกซ A

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |2
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

ร ั วิชา 61 คณิตศา ตรประยุกต 1


อบวันอาทิตยที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2566 เวลา 08.30 – 10.00 น.
…………………………………………………………………………………………..………
ตอนที่ 1 : แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกตองที่ ุด
จํานวน 25 ขอ (ขอ 1-25) ขอละ 3 คะแนน รวม 75 คะแนน

0. แบบทด อบที่ทานกําลังทําอยูนี้ เปนแบบทด อบชุดที่เทาใด


(ฝนในกระดา คําตอบ ขอที่ 0)
1. ชุดที่ 1
2. ชุดที่ 2

1. ใ  p(x)  x 3  (k  1)x2  k3 เมื่อ k เปนจําน นจริงลบ


ถาเ เ ลือจากการ าร p(x) ด ย x  3 เทากับ 18
แล เ เ ลือจากการ าร p(x) ด ย 2x + 1 เทากับเทาใด
1. 3
2. 18
3. 22
207
4.
8
209
5.
8

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |3
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

2. ใ  
A  x   2x  3  2 x  5 
และ B  x   0  x  5 
พิจารณาขอค ามตอไปนี้
ก) มาชิกของเซต A ที่มีคามากที่ ุด คือ 0
ข) A  B เปนเซตอนันต
ค) x x  A  x  B  มีคาค ามจริงเปนเท็จ
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ก) และ ข) ถูกตองเทานั้น
4. ขอค าม ข) และ ค) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ก) ข) และ ค) ถูกตอง

3. ใ  p, q, r และ s เปนประพจน
โดยที่   p  q     r   r  s   มีคา ค ามจริงเปนเท็จ
ประพจนในขอใดมีคาค ามจริงเปนจริง
1.  p  r
2. pr
3. ps
4. qs
5. q r

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |4
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

4. กํา นด p และ q เปนประพจน


และรูปแบบของประพจน p  q มีคาค ามจริง แ ดงดังตาราง

p q pq
T T F
T F T
F T F
F F T

พิจารณาขอค ามตอไปนี้
ก) (p  q)  p   q เปน ัจนิรันดร
ข) นิเ ธของ p  q คือ p   q
ค) p  q มมูลกับ  p   q     p   q 
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ค) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
4. ขอค าม ก) และ ข) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ข) และ ค) ถูกตองเทานั้น

2 log 625
5. ถา log 1 256   3a เมื่อ a เปนจําน นจริง
log 5
4
แล คาของ a เทากับเทาใด
1. log3 2
2. log3 4
33
3. log3
4
4. log 3 10
5. log 3 12

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |5
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

6. รูป ี่เ ลี่ยม ABCD มีมุม A ขนาด 60 อง า ดานประกอบมุม A ยา เทากัน


มุม C เปนมุมที่อยูตรงขามกับมุม A มีขนาด 120 อง า และดานประกอบมุม C
ยา 30 และ 50 น ย ดาน AB ยา กี่ น ย
1. 80
2. 70
3. 60
4. 50
5. 40

  5   3 
7. tan  arccos    arcsin    เทากับเทาใด
  13   5 
63
1. 
16
7
2. 
40
9
3.
8
32
4.
25
63
5.
20

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |6
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

8. ใ  
A  1 , 0 , 1 , 2 
B เปน ับเซตของ A โดยที่ B   และ 2  B
และ f เปนฟงกชันจาก A ไปทั่ ถึง B โดยที่ f(1) = 1 และ f(1) =  1
พิจารณาขอค ามตอไปนี้
ก) ถา f(2) > 0 แล f(2) = 1
ข) f เปนฟงกชันเพิ่ม
ค) f มีฟงกชันผกผัน
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ค) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
4. ขอค าม ก) และ ข) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ก) และ ค) ถูกตองเทานั้น

 x 1   2 0 
9. ใ  A    และ B   เมื่อ x เปนจําน นจริง
0 3   x 1
   
ถา  
det B 1A  6 แล คาของ x เทากับเทาใด
1. –4
2. –1
3. 1
4. 4
5. 9

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |7
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

1 1
10. ถา a1 , a2 , a 3 , ... , a n , ... เปนลําดับอนันต โดยที่ an  
n n2

แล  a n เทากับเทาใด
n 1
1. 0
2
2.
3
3. 1
3
4.
2
5. าผลบ กไมได เพราะอนุกรมนี้เปนอนุกรมลูออก

11. กํา นดแบบรูปของแผนภาพบันไดไมขดี ไฟดังนี้

รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3 …


บันไดไมขีดไฟ 1 ขั้น บันไดไมขีดไฟ 2 ขั้น บันไดไมขดี ไฟ 3 ขั้น

โดยที่ แทน ไมขีดไฟ 1 กาน

ถามะลิมไี มขีดไฟจําน น 990 กาน เพื่อตอเปนรูปบันได 1 รูป


แล มะลิจะ ามารถ รางบันไดไมขีดไฟไดจําน นขั้นบันไดมากที่ ุดกี่ขั้น
1. 25
2. 29
3. 30
4. 31
5. 33

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |8
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

12. โตงกูเงินจาก ินเพื่อการลงทุนจําน น 200,000 บาท โดยโตงทํา ญ ั ญากับ ิน า


จะชําระเงินกูพรอมดอกเบี้ยทั้ง มดในอีก 2 ปขาง นา และ ินกํา นดอัตราดอกเบี้ย 2% ตอป
โดยคิดดอกเบี้ยแบบทบตนทุกป เมื่อครบ 2 ปตาม ัญญา โตงขอเลื่อนเ ลาชําระออกไปอีก 1 ป
โตงและ ินจึงไดทํา ัญญาฉบับใ ม โดยกํา นดใ เงินกูพรอมดอกเบี้ยทั้ง มดจาก 2 ปที่ผานมา
เปนยอดเงินกูใน ัญญาฉบับใ มนี้ และปรับอัตราดอกเบี้ยใ มเปน 3% ตอป โดยคิดดอกเบี้ยแบบ
ทบตนทุก 6 เดือน เมื่อครบกํา นด 1 ปตาม ญ ั ญาฉบับใ ม โตงจะตองชําระเงินกูพรอมดอกเบี้ย
ทั้ง มดกี่บาท
  1.015 
2 2
1. 200, 000 1.02

200, 000 1.02   1.03 


2
2.

200, 000 1.02  1.03 


2 2
3.
 2
200, 000  1.02   1.015  
2
4.
 
 2
   1.03 
2
5. 200, 000  1.02 

 
13. ใ จําน นเชิงซอน u  cos  i sin
3 3
 
และ v เปนรากที่ 3 ของจําน นเชิงซอน cos  i sin
2 2
u
ถา  นจริงของ เปนจําน นจริงลบ แล  นจริงของ v เทากับเทาใด
v

1. cos
6
5
2. cos
6
5
3. cos
4
4
4. cos
3
3
5. cos
2

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |9
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

14. ใ  A แทนเซตของจําน นเชิงซอน z ทั้ง มดในระนาบเชิงซอน


2 2
ซึ่ง อดคลองกับอ มการ zi  zi  4
พิจารณาขอค ามตอไปนี้
ก) ถา w  A แล Re(w)  A
ข) ถา w  A แล wA

ค) ถา w  A แล w2  A
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ก) และ ข) ถูกตองเทานั้น
4. ขอค าม ข) และ ค) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ก) ข) และ ค) ถูกตอง

15. กํา นดเ กเตอรในระบบพิกัดฉาก ามมิติ ดังนี้


   
u  2i  j  2k
   
v   i  2 j  3k
   
w  4i  3 j  ak เมื่อ a เปนจําน นจริง
  
ถา u  v ตั้งฉากกับ w แล คาของ a เทากับเทาใด
21
1. 
5
2. 4
1
3. 
3
1
4.
3
5. 1

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |10
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

16. กํา นดทรง ี่เ ลี่ยมมุมฉาก ABCDEFGH ในระบบพิกัดฉาก ามมิติที่มี จุด B(1, 1, 0)
จุด C(1, 2, 0) และจุด F(0, 1, 2) เมื่อลาก AC และ CE จะได ACE ˆ   ดังรูป

F (0, 1, 2)
E

H
G

A D Y
0

X B (1, 1, 0) C (1, 2, 0)

คาของ sec  เทากับเทาใด


1
1.
10
1
2.
10
3. 10
4. 10
5
5.
2

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |11
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

x2 y2
17. ใ จุด (a, b) เปนจุดบน งรี  1
2 3
ถาระยะ างระ างจุด (a, b) กับจุด (0,  5 ) เทากับระยะระ างจุด (a, b) กับเ นตรง
4
3
y   แล คาของ b เทากับเทาใด
4
1. –3
3
2. 
2
3
3. 
4
3
4.
2
5. 3

18. โฮม เตยแ ง นึ่งมี องพักอยู 3 อง ประกอบด ย


• องขนาดเล็ก เขาพักไดไมเกิน 2 คน
• องขนาดกลาง เขาพักไดไมเกิน 4 คน
• องขนาดใ ญ เขาพักไดไมเกิน 6 คน
ถามีลูกคาติดตอเพื่อขอจอง องพักใน ันที่ 16 เม ายน 2566 จําน น 2 กลุม
โดยกลุมที่ 1 แจง ามีผูเขาพัก 6 คน และกลุมที่ 2 แจง ามีผูเขาพัก 3 คน
แล โฮม เตยแ งนี้จะมี ิธีจดั คนทั้ง องกลุมเขา องพักไดทั้ง มดกี่ ิธี
โดยผูเขาพักที่อยูตางกลุมกัน ตองไมพัก องเดีย กัน และผูเขาพักที่อยูกลุมเดีย กัน ามารถเขาพัก อง
เดีย กัน รือแยก องพักได
1. 22
2. 28
3. 37
4. 40
5. 43

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |12
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

19. บริ ัทแ ง นึ่งมีเครื่องถายเอก ารอยู 2 เครื่อง คือ เครื่อง A และเครื่อง B


จากขอมูลการใชงาน เครื่องถายเอก ารทั้ง 2 เครื่องนี้ พบ า
• ค ามนาจะเปนที่เครื่อง A เ ีย เทากับ 0.11
• ค ามนาจะเปนที่เครื่อง B เ ยี เทากับ 0.15
• ค ามนาจะเปนที่เครื่อง A รือ เครื่อง B เ ีย เทากับ 0.18
ค ามนาจะเปนที่มีเครื่องถายเอก ารไมเ ียอยางนอย 1 เครื่อง เทากับเทาใด
1. 0.74
2. 0.82
3. 0.85
4. 0.89
5. 0.92

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |13
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

20. ผลการ อบคัดเลือกนักเรียนเพื่อเขา ึก าตอชั้นมัธยม ึก าปท่ี 4 ของโรงเรียนแ ง นึ่ง


ซึ่งมีนักเรียนเขา อบทั้ง มด 200 คน แ ดงด ยตารางแจกแจงค ามถี่ของคะแนนของนักเรียนทั้ง มด
ดังนี้

คะแนน อบ (คะแนน) จําน นนักเรียน (คน)


50 2
55 10
60 48
65 40
70 24
75 20
80 20
85 16
90 10
95 6
100 4
รม 200

จากขอมูล พิจารณาขอค ามตอไปนี้


ก) ฐานนิยมของขอมูลชุดนี้ เทากับ 60 คะแนน
ข) ค อไทลที่ 2 ของขอมูลชุดนี้ เทากับ 75 คะแนน
ค) เมื่อนําคะแนน อบของนักเรียนทั้ง มดมาเขียนแผนภาพกลอง พบ า
คะแนนตํ่า ุดจากการ อบครั้งนี้ เปนคานอกเกณฑของขอมูลชุดนี้
(เมื่อคานอกเกณฑ คือ ขอมูลที่มีคานอยก า Q1  1.5  Q3  Q1  รือ
ขอมูลที่มีคามากก า Q3  1.5  Q3  Q1  โดยที่ Q1 และ Q3 แทนค อไทลที่ 1
และค อไทลที่ 3 ของขอมูล ตามลําดับ)
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ก) และ ค) ถูกตองเทานั้น
4. ขอค าม ข) และ ค) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ก) ข) และ ค) ถูกตอง

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |14
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

21. นู ยดูแลผูป ยติดเตียงแ ง นึ่งมีจําน นผูป ยเขามาใชบริการ นู ยแ งนี้ทั้ง มด 120 คน


โดยจําน นผูป ยเพ ชายคิดเปนรอยละ 40 ของจําน นผูป ยทั้ง มด และอายุ (ป) ของผูป ย
จําแนกตามเพ แ ดงด ยแผนภาพกลอง ดังนี้

90

80

70
อายุ (ป)

60

50

40

30
ชาย ญิง

ใ  คาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป ยเพ ชาย เทากับ 70 ป


และ คาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป ยเพ ญิง เทากับ 55 ป
พิจารณาขอค ามตอไปนี้
ก) คาเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของผูป ยทั้ง มดเทากับ 62.5 ป
ข) พิ ยั ระ างค อไทลของอายุผูป ยเพ ชาย นอยก า
พิ ยั ระ างค อไทลของอายุผูป ยเพ ญิง
ค) ผูป ยที่มีอายุนอยก า 65 ป มีจําน นไมเกิน 50 คน
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ก) และ ข) ถูกตองเทานั้น
4. ขอค าม ก) และ ค) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ข) และ ค) ถูกตองเทานั้น

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |15
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

22. จากขอมูลเกี่ย กับอาการแพ ัคซีนชนิด นึ่ง พบ า


ค ามนาจะเปนที่ผูรับการฉีด ัคซีนแตละคนจะมีอาการแพเปน 0.0002
ถานัก ิจัย ุมผูรับการฉีด ัคซีนชนิดนี้จําน น 500 คน ที่เปนอิ ระกัน
แล ค ามนาจะเปนที่ผูรับการฉีก คั ซีนจะมีอาการไมเกิน 1 คน เทากับเทาใด
1. 0.9998499
2. 
0.1 0.9998 499 
3. 
1.0998 0.9998499 
4. 0.9998500

5. 
0.1 0.9998500 

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |16
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

23. กํา นดกราฟของฟงกชัน f เปนพาราโบลาที่จุดยอดอยูที่จุด (2, 4) และ ตัดแกน X ที่จดุ (0, 0)


และ (4, 0) และกราฟของฟงกชัน g และ h เปนเ นตรง ดังรูป

Y
h 6

4 f
g
2

X
–2 0 2 4 6
–2

–4

ขอใดถูกตอง
2 4
1. f (x)  h(x) และ  h(x)dx  4  g(x)dx
0 2
2 4
2. f (x)  h(x) และ  h(x)dx  3 g(x)dx
0 2
2 4
3. f (x)  h(x) และ  h(x)dx  4  g(x)dx
0 2
2 4
4. f (x)  g(x) และ  h(x)dx  4  g(x)dx
0 2
2 4
5. f (x)  g(x) และ  h(x)dx  4  g(x)dx
0 2

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |17
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

24. กํา นดกราฟของฟงกชัน f และ g ดังรูป


Y Y

5 5
4 4
3 3
f
2 2
g
1 1
X X
–3 –2 –1 0 1 2 3 4 5 –3 –2 –1 0 1 2 3 4 5
–1 –1
–2 –2
–3 –3

พิจารณาขอค ามตอไปนี้
ก) lim  f(x)  g(x)   1
x 1
ข) lim
x  1
 f(x)  g(x)   0
ค) f + g เปนฟงกชันตอเนื่องบนช ง (2, 4]
จากขอค าม ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอค าม ก) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
2. ขอค าม ข) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
3. ขอค าม ค) ถูกตองเพียงขอเดีย เทานั้น
4. ขอค าม ก) และ ข) ถูกตองเทานั้น
5. ขอค าม ข) และ ค) ถูกตองเทานั้น

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |18
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

25. ใ  p(x)  ax 4  bx 3  cx2  dx  e


เมื่อ a, b, c, d และ e เปนจําน นจริง และ a0

โดยที่ x2  1 าร p(x) ลงตั


p(0) = 2
และ p(0) = 4
ใ  S แทนเซตของจําน นจริงทั้ง มดที่เปนคําตอบของ มการ p(x) = 0
ถา n(S) = 3 แล ผลบ กของ มาชิกทั้ง มดในเซต S เทากับเทาใด
1. 6
2. 2
1
3. 
3
2
4.
3
5. 2

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |19
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

ตอนที่ 2 : แบบระบายคําตอบที่เปนตัวเลข จํานวน 5 ขอ (ขอที่ 26  30)


ขอละ 5 คะแนน รวม 25 คะแนน

26. กํา นด U แทนเอกภพ ัมพัทธ และ A , B เปน ับเซตของ U


โดยที่ n(U) = 100 , n(A  B)  35 และ n(A  B)  9
ถา n(A)  61 แล n(B) ที่มากที่ ุดที่เปนไปไดเทากับเทาใด

27. รูป ี่เ ลี่ยมมุมฉากรูป นึ่งมีการแบงพื้นที่ออกเปน 4  น ดังรูป

ถามี ีอยู 6 ี และตองการระบาย ีรูป ี่เ ลี่ยมมุมฉากนี้ทั้ง 4  น


โดยแตละ  นใช ีเพียง ีเดีย และ  นที่อยูติดกันตองใช ที ี่แตกตางกัน
แล จะมี ิธีระบาย ีรูป ่เี ลี่ยมมุมฉากนี้ไดแตกตางกันทั้ง มดกี่ ิธี

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |20
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

28. ขอมูลการผลิตเ ล็กเ นของโรงงานแ ง นึ่งเปนดังนี้


“นํ้า นักของเ ล็กเ นที่ผลิตไดมีการแจกแจงปกติ โดยมีนํ้า นักเฉลี่ย เทากับ a กิโลกรัม
และ  นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ b กิโลกรัม”
าก ุมเ ล็กเ นจากโรงงานแ งนี้มา 1 เ น พบ า
ค ามนาจะเปนที่ไดเ ล็กเ น มีนํ้า นักนอยก า 8.86 กิโลกรัม คือ 0.31
และค ามนาจะเปนที่จะไดเ ล็กเ น มีนํ้า นักมากก า 8.90 กิโลกรัม คือ 0.31
คาของ a + 2b เทากับเทาใด

กํา นดตารางแ ดงพื้นที่ใตเ นโคงปกติมาตรฐาน ดังนี้

z 0 0 z

z –2 –1.5 –1 –0.5 0.5 1 1.5 2

พื้นที่ใตเ นโคง
0.02 0.07 0.16 0.31 0.69 0.84 0.93 0.98
ปกติมาตรฐาน

29. งกลม  x  1 2   y  2 2  1 มีเ น มั ผั ที่ผานจุดกําเนิด 2 เ น คือแกน Y และเ นตรง L


ค ามชันของเ นตรง L เทากับเทาใด

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


ร ั ิชา 61 คณิต า ตรประยุกต 1 นา |21
อบ ันอาทิตยท่ี 19 มีนาคม พ. . 2566 เ ลา 08.30 – 10.00 น.

30. กํา นดใ  p(t) แทนปริมาณประจุไฟฟาในตั เก็บประจุตั นึ่งที่คิดเปนเปอรเซ็นต


(เทียบกับปริมาณประจุไฟฟา ูง ุดที่ ามารถเก็บได) เมื่อชารจตั เก็บประจุที่มีปริมาณประจุไฟฟา
เริ่มตน 0 เปอรเซ็นต เปนระยะเ ลา t นาที
 
t 
โดยที่ p(t)  100  1  2 20 
 
 
ถาครั้งที่
1 ธิดาชารจตั เก็บประจุตั นี้ที่มีปริมาณประจุไฟฟาเริ่มตน 0 เปอรเซ็นต
จนไดปริมาณประจุไฟฟาเปน 50 เปอรเซ็นต
และครั้งที่ 2 ธิดาชารจตั เก็บประจุตั นี้ที่มีปริมาณประจุไฟฟาเริ่มตน 0 เปอรเซ็นต
จนไดปริมาณประจุไฟฟาเปน 87.5 เปอรเซ็นต
แล ระยะเ ลาที่ใชในการชารจตั เก็บประจุครั้งที่ 2 มากก าครั้งที่ 1 กี่นาที

อ.รังสรรค์ ทองสุกนอก GTRmath


เฉลย

ALevel คณิตประยุกต ์ 1
ALevel คณิตประยุกต ์ 2

ไฟลน้์ เป็นชุด 2 นาา



A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66

ตอนที่ 1 : แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบทีถ


่ ก
ู ตองทีส
่ ด
ุ จํานวน 25 ขอ (ขอ 1-25)
ขอละ 3 คะแนน รวม 75 คะแนน

1. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริง ถา a เปนรากที่ 2 ของ 9 โดยที่


a < 0 และ b เปนรากที่ 5 ของ -32 แลว a + b มีคาเทากับเทาใด
1. -5 2. -2 3. -1 4. 1 5. 5

64 6 4
2. + (-3) 32 เทากับเทาใด
2
((-6 ))5 5

1. -4 2. -3 3. 2 4. 3 5. 4

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 1
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
3. พิจารณาขอความตอไปนี้
3
ก) ถา a เปนจํานวนเต็มลบ แลว a £ a
2 1 2 1
ข) ถา a และ b เปนจํานวนจริงบวก แลว (-a) (-b)
3 3 = a 3b 3
ค) ถารากที่ 2 ของจํานวนจริงบวกจํานวนหนึ่ง คือ a และ b
โดยที่ a เปนจํานวนจริงลบ และ b เปนจํานวนจริงบวก แลว a4 < b4
จากขอความ ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอความ ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
2. ขอความ ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
3. ขอความ ค) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
4. ขอความ ก) และ ข) ถูกตองเทานัน

5. ขอความ ก) และ ค) ถูกตองเทานัน

4. กําหนดให p และ q เปนประพจนท่ม


ี ีคาความจริงเปนจริง และเท็จ
ตามลําดับ ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนจริง

1. p « (p  q) 2. p « (p  q) 3. p « ( p  q)
4. q « ( p  q) 5. q « (p  q)

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 2
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
5. กําหนดใหประพจน “ปติกวาดบานหรือปติรดนํ้าตนไม” มีคา ความจริงเปนจริง และ
“ถาปติไมไดรดนํ้าตนไมแลวปติไมไดซกผา” มีคาความจริงเปนเท็จ
ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนเท็จ
1. ปตก
ิ วาดบานก็ตอเมื่อปติซกผา
2. ปตก
ิ วาดบานและปตไ
ิ มไดรดนํ้าตนไม
3. ปติไมไดรดนํ้าตนไมและปติซกผา
4. ปติไมไดกวาดบานหรือปตริ ดนํา้ ตนไม
5. ปติไมไดรดนํ้าตนไมหรือปติไมไดซกผา

6. กําหนดให A = {-1, 0, 3, Æ} เมื่อ Æ แทนเซตวาง


และ B = x { x เปนจํานวนเต็ม และ x3 = 1 }
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก) ประพจน “ Æ Î A และ A Ç B = Æ ” มีคา ความจริงเปนจริง
ข) ประพจน “ 1 Ï B หรือ B Ì A ” มีคาความจริงเปนจริง
ค) ประพจน “ถา n(B) ¹ 1 แลว {1} Ì A ” มีคาความจริงเปนจริง เมื่อ n(B)
แทนจํานวนสมาชกของเซต B
จากขอความ ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอความ ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
2. ขอความ ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
3. ขอความ ค) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
4. ขอความ ก) และ ข) ถูกตองเทานัน

5. ขอความ ก) และ ค) ถูกตองเทานัน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 3
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
7. ถา m เปนพจนที่ 10 ของลําดับเลขคณิตที่มีพจนที่ 2 คือ 7 และผลตางรวมคือ
2
-2 และ m เปนพจนแรกของลําดับเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมคือ แลวพจนท่ี 5
3
ของลําดับเรขาคณิตนี้เทากับเทาใด
19 16 32 176 208
1. - 2. - 3. - 4. - 5. -
3 9 27 81 81

8. โรงภาพยนตรแหงหนึ่งเปดรับสมัครสมาชกเพื่อรับสวนลดในการชมภาพยนตร และ เก็บ


ขอมูลจํานวนผูสมัครสมาชกในแตละวัน ถาจํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 1 ถึงวันที่ 5
เรียงกันเปนลําดับเรขาคณิต โดยที่
จํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 1 เทากับ 4 คน
และ จํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 5 เทากับ 5,184 คน
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 2 ถึงวันที่ 4 เทากับกี่คน
1. 144 คน 2. 344 คน 3. 1,032 คน
4. 1,244 คน 5. 2,594 คน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 4
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
9. เมื่อ 4 ปทแ
ี่ ลว เกงเปดบัญชและฝากเงินไวกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง ซงกําหนด
อัตราดอกเบีย
้ รอยละ 1.8 ตอป โดยคิดดอกเบี้ยทบตนทุก 6 เดือน ถาตอนนี้เกงฝากครบ
4 ป และมีเงินทั้งหมดในบัญชนี้ 37,600 บาท โดยที่เกงไมไดฝากเงินเพิ่มและไมได
ถอนเงินออกมา ในชวง 4 ปที่ผา นมา แลวเกงไดรับดอกเบี้ยจากการฝากเงินครั้งนีก
้ ี่บาท
(
1. 37600 1 - (1.009)
8
) บาท 2. 37600 (1 - (1.009) )
-4
บาท

37600 (1 - (1.009) ) บาท 37600 (1 - (1.003) )


-8 24
3. 4. บาท

37600 (1 - (1.003) ) บาท


-24
5.

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 5
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
10. ในวันที่ 1 มีนาคม 2565 ซอเฟอรนิเจอรจากรานคาแหงหนึง่ โดยไมมีเงินดาวน และ
ผอนชาระ ดวยยอดเทากันทุกเดือน เดือนละ 4,000 บาท เปนเวลา 2 ป โดยผอน
ชาระทุกสนเดือน ซงรานคานี้คิดอัตราดอกเบี้ย 6% ตอป และคิดดอกเบี้ยแบบทบตนทุก
เดือน รานคาขายเฟอรนิเจอรน้รี าคากีบ
่ าท
(
4000 1 - (1.06)
-24
)
1. บาท
( (
1.06 1 - 1.06 )-1
)
4000 (1 - (1.005) )
-24
2. บาท
( (
1.005 1 - 1.005 ) -1
)
4000 (1 - (1.005) )
-24
3. บาท
-1
1 - (1.005)
(
4000 (1.06) 1 - (1.06)
-24
)
4. บาท
1
1 - (1.06)
(
4000 (1.005) 1 - (1.005)
-24
)
5. บาท
-1
1 - (1.005)

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 6
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
11. ลูกไกตัวหนึง่ มีนํ้าหนักตอนแรกเกิดเทากับ 40 กรัม ชงนํ้าหนักของลูกไกตัวนี้ เมื่ออายุ
ครบ 1 วัน 2 วัน 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบวา นํ้าหนักของลูกไกในแตละวัน
เพิ่มขึ้น 10% ของนํ้าหนักของลูกไกในวันกอนหนา ถา f เปนฟงกชน
 โดยที่
f(t) แทนนํา้ หนักของลูกไกตัวนี้เมือ่ อายุครบ t วัน (มีหนวยเปนกรัม) เมือ่
t Î {1, 2, 3, 4, 5}
แลวขอใดถูกตอง
1. f(t) = 40(1.1)t 2. f(t) = 40(0.1)t 3. f(t) = 40 + 4t
4. f(t) = 40 + 1.1t 5. f(t) = 40 + 0.1t

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 7
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
12. สนามหญารูปสเหลี่ยมมุมฉากกวาง 5 เมตร ยาว 8 เมตร มีทางเดินรอบสนาม (สวนที่
แรเงา) กวาง x เมตร เมื่อ x เปนจํานวนจริงบวก ดังรูป

ให f เปนฟงกชน
 โดยที่
f(x) แทนพืน
้ ที่ของทางเดินรอบสนามกวาง X เมตร (มีหนวยเปนตารางเมตร)
กราฟในขอใดเปนกราฟของฟงกชน f
1 2.

3. 4.

5.

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 8
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
13. มีรูปหกเหลี่ยม 5 รูป เรียงตอกัน ดังรูป

และมีสอยู 3 สที่แตกตางกัน
ถาตองการเลือกสไประบายสรูปหกเหลี่ยมทั้ง 5 รูปนี้ โดยรูปหกเหลี่ยมแตละรูปใชส
เพียง 1 ส และรูปหกเหลี่ยมที่อยูติดกัน ระบายดวยสที่ตางกัน แลวมีวิธีในการระบายส
รูปหกเหลี่ยมทั้ง 5 รูปนี้ ไดท้งั หมด วิธี
1. 24 วิธี 2. 32 วิธี 3. 48 วิธี 4. 108 วิธี 5. 243 วิธี

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 9
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
14. รานขนมแหงหนึ่งมีเมนูพิเศษเปนแพนเคก 3 ชน ประกอบดวยแปงแพนเคก 3 แผน ที่
วางซอนกัน แทรกดวยครีมสดรสตางๆ และราดนํา้ ผึ้งบนชนบนสุดของแพนเคก ดังรูป

รานขนมนี้มแ
ี ปงแพนเคก 2 ชนิด และมีครีมสด 6 รส
ถาตองการทําแพนเคก 3 ชน
 ที่มีครีมสดไมซา รสกันแทรกระหวางชน

และแปงแพนเคกแตละชน
 เปนชนิดใดก็ได แลวจะทําแพนเคก 3 ชน
 ไดแตกตางกัน
ทั้งหมดกี่แบบ
1. 60 แบบ 2. 120 แบบ 3. 180 แบบ 4. 240 แบบ 5. 288 แบบ

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 10
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
15. อาคารเรียนหลังหนึ่งมี 4 ชน คือ ชน 1 ชน
 2 ชน
 3 และชน 4 ถามีนักเรียน 3
คน ขึ้นลิฟตของอาคารนีพ
้ รอมกันจากชน
 1 ไปชนอืน
่ โดยที่นักเรียนแตละคนมีโอกาส
ออกจากลิฟตแตละชนเทากัน แลวความนาจะเปนที่นักเรียนทัง้ 3 คน ออกจากลิฟตชน

เดียวกันเทากับเทาใด
1 1 1 1 3
1. 2. 3. 4. 5.
9 16 27 64 64

16. กลองทึบใบหนึ่งบรรจุลก
ู บอลสแดง 4 ลูก สฟา 3 ลูก และสเหลือง 3 ลูก โดยที่ลูก
บอลแตละลูกแตกตางกัน ถาสุมหยิบลูกบอลออกจากกลองนี้ 3 ครั้ง โดยหยิบครั้งละ 1
ลูก และใสคืนกอนหยิบลูกบอลครั้งตอไป แลวความนาจะเปนของเหตุการณที่หยิบไดลูก
บอลสแดงจากการสุมหยิบลูกบอลครั้งที่ 1 และอีกสองครั้งถัดไปหยิบไดลูกบอลสอน
ื่
เทากับเทาใด
1 2 4 18 9
1. 2. 3. 4. 5.
6 25 27 125 150

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 11
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
17. ขอมูลในขอใดเปนขอมูลทุตย
ิ ภูมิ
1. รานคาออนไลนแหงหนึ่งนําขอมูลการสงซอสนคาผานเว็บไซตของรานนัน
้ ไปใช
ในการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาประเภทสนคาที่มียอดขายสูงสุด
2. บริษัทแหงหนึ่งนําขอมูลการสนทนาระหวางผูใชบริการกับเจาหนาที่ของบริษัทนั้น
ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเพื่อปรับปรุงการใหบริการ
3. กรมสรรพากรนําขอมูลเกีย
่ วกับการเงินของลูกคาของธนาคารแหงหนึ่ง ไปใชในการ
วิเคราะหขอมูลเพื่อตรวจสอบและติดตามการเสยภาษี
4. หองสมุดแหงหนึ่งนําขอมูลการยืมหนังสอของผูใชบริการหองสมุดนั้น ไปใชในการ
วิเคราะหขอมูลเพื่อวางแผนจัดซอหนังสอเพิ่มในอนาคต
5. การรถไฟนําขอมูลการซอ ตั๋วโดยสารรถไฟที่ไดจากการจําหนายตั๋วโดยสารทาง
โทรศพทของการรถไฟ ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเพื่อจัดสรรเจาหนาที่จําหนาย
ตัว๋ โดยสารทางโทรศพท

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 12
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
18. จากการตรวจสุขภาพประจําปของนักเรียนในโรงเรียนแหงหนึ่ง พบวา ผลการตรวจระดับ
นํ้าตาลในเลือด (มีหนวยเปนมิลลิกรัมตอเดซลิตร) ของนักเรียนหญิง จํานวน 200 คน
และนักเรียนชายจํานวน 100 คน โดยที่ระดับนํ้าตาลในเลือด ของนักเรียนทุกคนเปน
จํานวนเต็ม แสดงดวยฮิสโทแกรมไดดังนี้

ระดับนํา้ ตาลในเลือดของนักเรียนหญิง ระดับนํา้ ตาลในเลือดของนักเรียนชาย

จํานวนนักเรียนหญิงที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวา 100 มิลลิกรัมตอเดซลต


ิ ร มากกวา
จํานวนนักเรียนชายที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวา 100 มิลลิกรัมตอเดซลต
ิ ร อยูก
 ี่คน
1. 35 คน 2. 30 คน 3. 25 คน 4. 20 คน 5. 10 คน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 13
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
19. การทดสอบประสทธิภาพของปญญาประดิษฐ (AI) ในการจําแนกภาพผลไมวา สามารถ
ระบุชนิดของผลไมไดถูกตองหรือไม โดยทดสอบจากภาพผลไม 3 ชนิด ประกอบดวย
ภาพพุทรา 20 ภาพ ภาพนอยหนา 15 ภาพ และภาพฝรั่ง 20 ภาพ
ไดผลดังตาราง
ภาพผลไมท่ใ
ี ช ผลการระบุชนิดผลไมของ AI จากภาพผลไมท่ใ
ี ชทดสอบ
ทดสอบ (ภาพ)
ภาพพุทรา ภาพนอยหนา ภาพฝรั่ง
ภาพพุทรา 8 4 8
ภาพนอยหนา 5 9 1
ภาพฝรั่ง 3 7 10

กําหนดให
a แทนรอยละของจํานวนภาพพุทราที่ AI ระบุไดถก
ู ตอง เมื่อเทียบกับจํานวนภาพ
พุทราที่ใชทดสอบทั้งหมด
b แทนรอยละของจํานวนภาพนอยหนาที่ AI ระบุไดถก
ู ตอง เมื่อเทียบกับจํานวน
ภาพนอยหนาที่ใชทดสอบทั้งหมด
c แทนรอยละของจํานวนภาพฝรั่งที่ AI ระบุไดถก
ู ตอง เมื่อเทียบกับจํานวนภาพ
ฝรั่งที่ใชทดสอบทั้งหมด
ขอใดเรียงลําดับ a, b, c จากมากไปนอย
1. a, c, b 2. b, a, c 3. b, c, a
4. c, a, b 5. c, b, a

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 14
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
20. การสารวจขอมูลความชน
 ชอบกลิ่นดอกไม จากลูกคารานขายนํ้าหอมแหงหนึ่ง ที่มีอายุ
ตั้งแต 21 ถึง 35 ป จํานวน 330 คน โดยแตละคนเลือกกลิ่นดอกไมทช
่ี นชอบ ได
เพียงหนึ่งกลิน
่ เทานัน
้ ไดผลสารวจดังนี้

ฐานนิยมของกลิ่นดอกไมท่ล
ี ูกคารานขายนํ้าหอมแหงนี้ท่ม
ี ีอายุต้งั แต 21 ถึง 30 ป
ชนชอบ คือกลิ่นใด
1. กลิน
่ ดอกลีลาวดี 2. กลิน
่ ดอกจําป 3. กลิ่นดอกการเวก
4. กลิ่นดอกแกว 5. กลิน
่ ดอกปบ

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 15
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
21. ผลการสารวจเงินเดือนของพนักงานทุกคนในแผนกบัญชและแผนกจัดซอ ซงมีพนักงาน
รวมกัน 30 คน และมีเงินเดือนรวมกัน 870,000 บาท พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิตของ
เงินเดือนของพนักงานแผนกบัญชเทากับ 31,000 บาท และ คาเฉลี่ยเลขคณิตของ
เงินเดือนของพนักงานแผนกจัดซอเทากับ 28,000 บาท พนักงานทุกคนในแผนกจัดซอ
มีเงินเดือนรวมกันกี่บาท
1. 280,000 บาท 2. 310,000 บาท 3. 420,000 บาท
4. 560,000 บาท 5. 620,000 บาท

22. การสอบวิชาคณิตศาสตรครั้งหนึ่งมีนักเรียนเขาสอบทั้งหมด 100 คน โดยการสอบครัง้ นี้


มีคะแนนเต็ม 45 คะแนน จากผลการสอบของนักเรียนกลุมนี้ พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิต
ของคะแนนสอบ เทากับ 30 คะแนน และ พิสย
 ของคะแนนสอบ เทากับ 10 คะแนน
ถาการสอบนี้มีการปรับคะแนนเต็มเปน 100 คะแนน และปรับคะแนนสอบของนักเรียน
ทุกคน โดยนําคะแนนสอบของนักเรียนแตละคน คูณดวย 2 แลวบวกดวย 10 คะแนน
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตและพิสยของคะแนนสอบที่ปรับใหมเทากับเทาใด ตามลําดับ
1. 70 คะแนน และ 30 คะแนน
2. 70 คะแนน และ 20 คะแนน
3. 70 คะแนน และ 10 คะแนน
4. 60 คะแนน และ 20 คะแนน
5. 60 คะแนน และ 10 คะแนน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 16
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
23. ขอมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรทแ
ี่ สดงดวยแผนภาพกลองในขอใด มีพิสยระหวางค
วอรไทลมากที่สุด เมื่อพิสยระหวางควอรไทล คือ ผลตางระหวาง ควอรไทลที่ 3 และ
ควอรไทลที่ 1 ของขอมูลชุดนัน

1.

2.

3.

4.

5.

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 17
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
24. คะแนนสอบยอยวิชาภาษาไทยของนักเรียนชน
 มัธยมศกษาปที่ 6 หองหนึ่ง จํานวน 24
คน ซงมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน แสดงดวยแผนภาพจุดไดดังนี้

ถานักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาเปอรเซนตไทลท่ี 40 จะตองสงงานพิเศษเพิ่ม และ


นักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาเปอรเซนตไทลท่ี 20 จะตองเรียนเสริมกับครู แลวมี
นักเรียนที่ตองสงงานพิเศษเพิ่มแตไมตองเรียนเสริมกับครูอยูก
 ี่คน
1. 2 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. 5 คน 5. 6 คน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 18
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
25. นํ้าหนัก (มีหนวยเปนกิโลกรัม) ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงหองหนึ่งรวม 19
คน แสดงดวยแผนภาพลําตนและใบดังนี้
นักเรียนชาย นักเรียนหญิง
3 7 9
4 0 4 3 7 7 7
4 2 2 5 0 2 2
8 6 0 6 0 7
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก) พิสยของนํา้ หนักของนักเรียนหญิงหองนี้มากกวาพิสยของนํา้ หนักของ
นักเรียน ชายหองนี้อยู 2 กิโลกรัม
ข) ฐานนิยมของนํ้าหนักของนักเรียนหองนี้เทากับ 52 กิโลกรัม
ค) ควอรไทลที่ 1 ของนํ้าหนักของนักเรียนหองนี้เทากับ 44 กิโลกรัม
จากขอความ ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอความ ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
2. ขอความ ค) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
3. ขอความ ก) และ ข) ถูกตองเทานัน

4. ขอความ ข) และ ค) ถูกตองเทานัน

5. ขอความ ก) ข) และ ค) ถูกตอง

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 19
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
ตอนที่ 2 : แบบระบายคําตอบที่เปนตัวเลข จํานวน 5 ขอ (ขอที่ 26 – 30)
ขอละ 5 คะแนน รวม 25 คะแนน

26. กําหนดให f เปนฟงกชนเชงเสนถา f(0) = 3 และ f(2) = 5 แลว f(6) เทากับ


เทาใด

27. ลําดับเลขคณิตลําดับหนึ่งมีพจนที่ 9 คือ 35 และพจนที่ 17 คือ 51 ผลบวกของพจนที่


7 ถึงพจนท่ี 15 ของลําดับนี้เทากับเทาใด

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 20
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
28. โรงเรียนแหงหนึ่งกําหนดใหนก
ั เรียนทุกคนตองสมัครเปนสมาชกของชมรมใน
โรงเรียน อยางนอย 1 ชมรม โดยพบวา
1) มีนักเรียนทีส
่ มัครเปนสมาชกของทั้งชมรมคหกรรมและชมรมหัตถกรรม จํานวน
48 คน
2) จํานวนนักเรียนที่สมัครเปนสมาชกของชมรมคหกรรม เทากับ จํานวนนักเรียน
ที่ สมัครเปนสมาชกของชมรมหัตถกรรม
3) มีนักเรียนทีส
่ มัครเปนสมาชกของชมรมคหกรรมหรือชมรมหัตถกรรม อยางนอย
1 ชมรม จํานวน 168 คน
จากขอมูลขางตน มีนก
ั เรียนที่สมัครเปนสมาชกของชมรมคหกรรม แตไมไดสมัครเปน
สมาชกของชมรมหัตถกรรมกี่คน

29. กําหนดให
S = {x x เปนจํานวนนับ 4 หลัก ที่มีเลขโดดในแตละหลักเปน 8 หรือ 9 เทานั้น}
ถาสุมจํานวนนับจากเซต S มา 1 จํานวน แลวความนาจะเปนที่จะไดจํานวนนับที่มี 9
ปรากฏอยูทั้งในหลักสบและหลักหนวย สวนหลักอื่นเปน 8 หรือ 9 ก็ได เทากับเทาใด

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 21
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
30. การสอบสมภาษณนก
ั เรียนเพื่อรับทุนไปศกษาตอที่ตางประเทศของมหาวิทยาลัย
แหง หนึ่ง มีผเู ขาสอบสมภาษณ จํานวน 3 คน หลังจากการสอบสมภาษณเสร็จ
พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนการสอบสมภาษณน้เี ทากับ 50 คะแนน มัธยฐาน
เทากับ 48 คะแนน และ พิสยเทากับ 12 คะแนน ความแปรปรวนของคะแนนการสอบ
สมภาษณนเ้ี ทากับกี่ คะแนน2

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 22
เฉลย

ALevel คณิตประยุกต ์ 2
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66

ตอนที่ 1 : แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบทีถ


่ ก
ู ตองทีส
่ ด
ุ จํานวน 25 ขอ (ขอ 1-25)
ขอละ 3 คะแนน รวม 75 คะแนน

1. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริง ถา a เปนรากที่ 2 ของ 9 โดยที่


a < 0 และ b เปนรากที่ 5 ของ -32 แลว a + b มีคาเทากับเทาใด
1. -5 2. -2 3. -1 4. 1 5. 5

64 6 4
2. + (-3) 32 เทากับเทาใด
2
((-6 ))5 5

1. -4 2. -3 3. 2 4. 3 5. 4

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 1
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
3. พิจารณาขอความตอไปนี้
3
ก) ถา a เปนจํานวนเต็มลบ แลว a £ a
2 1 2 1
ข) ถา a และ b เปนจํานวนจริงบวก แลว (-a) (-b)
3 3 = a 3b 3
ค) ถารากที่ 2 ของจํานวนจริงบวกจํานวนหนึ่ง คือ a และ b
โดยที่ a เปนจํานวนจริงลบ และ b เปนจํานวนจริงบวก แลว a4 < b4
จากขอความ ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอความ ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
2. ขอความ ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
3. ขอความ ค) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
4. ขอความ ก) และ ข) ถูกตองเทานัน

5. ขอความ ก) และ ค) ถูกตองเทานัน

4. กําหนดให p และ q เปนประพจนท่ม


ี ีคาความจริงเปนจริง และเท็จ
ตามลําดับ ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนจริง

1. p « (p  q) 2. p « (p  q) 3. p « ( p  q)
4. q « ( p  q) 5. q « (p q)

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 2
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
5. กําหนดใหประพจน “ปติกวาดบานหรือปติรดนํ้าตนไม” มีคา ความจริงเปนจริง และ
“ถาปติไมไดรดนํ้าตนไมแลวปติไมไดซกผา” มีคาความจริงเปนเท็จ
ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนเท็จ
1. ปตก
ิ วาดบานก็ตอเมื่อปติซกผา
2. ปตก
ิ วาดบานและปตไ
ิ มไดรดนํ้าตนไม
3. ปติไมไดรดนํ้าตนไมและปติซกผา
4. ปติไมไดกวาดบานหรือปติรดนํา้ ตนไม
5. ปติไมไดรดนํ้าตนไมหรือปติไมไดซกผา

6. กําหนดให A = {-1, 0, 3, Æ} เมื่อ Æ แทนเซตวาง


และ B = x { x เปนจํานวนเต็ม และ x3 = 1 }
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก) ประพจน “ Æ Î A และ A Ç B = Æ ” มีคา ความจริงเปนจริง
ข) ประพจน “ 1 Ï B หรือ B Ì A ” มีคาความจริงเปนจริง
ค) ประพจน “ถา n(B) ¹ 1 แลว {1} Ì A ” มีคาความจริงเปนจริง เมื่อ n(B)
แทนจํานวนสมาชกของเซต B
จากขอความ ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอความ ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
2. ขอความ ข) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
3. ขอความ ค) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
4. ขอความ ก) และ ข) ถูกตองเทานัน

5. ขอความ ก) และ ค) ถูกตองเทานัน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 3
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
7. ถา m เปนพจนท่ี 10 ของลําดับเลขคณิตที่มีพจนที่ 2 คือ 7 และผลตางรวมคือ
2
-2 และ m เปนพจนแรกของลําดับเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมคือ แลวพจนท่ี 5
3
ของลําดับเรขาคณิตนี้เทากับเทาใด
19 16 32 176 208
1. - 2. - 3. - 4. - 5. -
3 9 27 81 81

8. โรงภาพยนตรแหงหนึ่งเปดรับสมัครสมาชกเพื่อรับสวนลดในการชมภาพยนตร และ เก็บ


ขอมูลจํานวนผูสมัครสมาชกในแตละวัน ถาจํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 1 ถึงวันที่ 5
เรียงกันเปนลําดับเรขาคณิต โดยที่
จํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 1 เทากับ 4 คน
และ จํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 5 เทากับ 5,184 คน
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนผูสมัครสมาชกในวันที่ 2 ถึงวันที่ 4 เทากับกี่คน
1. 144 คน 2. 344 คน 3. 1,032 คน
4. 1,244 คน 5. 2,594 คน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 4
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
9. เมื่อ 4 ปทแ
ี่ ลว เกงเปดบัญชและฝากเงินไวกับสถาบันการเงินแหงหนึ่ง ซงกําหนด
อัตราดอกเบีย
้ รอยละ 1.8 ตอป โดยคิดดอกเบี้ยทบตนทุก 6 เดือน ถาตอนนี้เกงฝากครบ
4 ป และมีเงินทั้งหมดในบัญชนี้ 37,600 บาท โดยที่เกงไมไดฝากเงินเพิ่มและไมได
ถอนเงินออกมา ในชวง 4 ปที่ผา นมา แลวเกงไดรับดอกเบี้ยจากการฝากเงินครั้งนีก
้ ี่บาท
(
1. 37600 1 - (1.009)
8
) บาท (
2. 37600 1 - (1.009)
-4
) บาท

37600 (1 - (1.009) ) บาท 37600 (1 - (1.003) )


-8 24
3. 4. บาท

37600 (1 - (1.003) ) บาท


-24
5.

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 5
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
10. ในวันที่ 1 มีนาคม 2565 ซอเฟอรนิเจอรจากรานคาแหงหนึง่ โดยไมมีเงินดาวน และ
ผอนชาระ ดวยยอดเทากันทุกเดือน เดือนละ 4,000 บาท เปนเวลา 2 ป โดยผอน
ชาระทุกสนเดือน ซงรานคานี้คิดอัตราดอกเบี้ย 6% ตอป และคิดดอกเบี้ยแบบทบตนทุก
เดือน รานคาขายเฟอรนิเจอรน้รี าคากีบ
่ าท
(
4000 1 - (1.06)
-24
)
1. บาท
( (
1.06 1 - 1.06 )-1
)
4000 (1 - (1.005) )
-24
2. บาท
( (
1.005 1 - 1.005 ) -1
)
4000 (1 - (1.005) )
-24
3. บาท
-1
1 - (1.005)
(
4000 (1.06) 1 - (1.06)
-24
)
4. บาท
1
1 - (1.06)
(
4000 (1.005) 1 - (1.005)
-24
)
5. บาท
-1
1 - (1.005)

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 6
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
11. ลูกไกตัวหนึง่ มีนํ้าหนักตอนแรกเกิดเทากับ 40 กรัม ชงนํ้าหนักของลูกไกตัวนี้ เมื่ออายุ
ครบ 1 วัน 2 วัน 3 วัน 4 วัน และ 5 วัน พบวา นํ้าหนักของลูกไกในแตละวัน
เพิ่มขึ้น 10% ของนํ้าหนักของลูกไกในวันกอนหนา ถา f เปนฟงกชน
 โดยที่
f(t) แทนนํา้ หนักของลูกไกตัวนี้เมือ่ อายุครบ t วัน (มีหนวยเปนกรัม) เมือ่
t Î {1, 2, 3, 4, 5}
แลวขอใดถูกตอง
1. f(t) = 40(1.1)t 2. f(t) = 40(0.1)t 3. f(t) = 40 + 4t
4. f(t) = 40 + 1.1t 5. f(t) = 40 + 0.1t

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 7
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
12. สนามหญารูปสเหลี่ยมมุมฉากกวาง 5 เมตร ยาว 8 เมตร มีทางเดินรอบสนาม (สวนที่
แรเงา) กวาง x เมตร เมื่อ x เปนจํานวนจริงบวก ดังรูป

ให f เปนฟงกชน
 โดยที่
f(x) แทนพืน
้ ที่ของทางเดินรอบสนามกวาง X เมตร (มีหนวยเปนตารางเมตร)
กราฟในขอใดเปนกราฟของฟงกชน f
1 2.

3. 4.

5.

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 8
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
13. มีรูปหกเหลี่ยม 5 รูป เรียงตอกัน ดังรูป

และมีสอยู 3 สที่แตกตางกัน
ถาตองการเลือกสไประบายสรูปหกเหลี่ยมทั้ง 5 รูปนี้ โดยรูปหกเหลี่ยมแตละรูปใชส
เพียง 1 ส และรูปหกเหลี่ยมที่อยูติดกัน ระบายดวยสที่ตางกัน แลวมีวิธีในการระบายส
รูปหกเหลี่ยมทั้ง 5 รูปนี้ ไดท้งั หมด วิธี
1. 24 วิธี 2. 32 วิธี 3. 48 วิธี 4. 108 วิธี 5. 243 วิธี

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 9
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
14. รานขนมแหงหนึ่งมีเมนูพิเศษเปนแพนเคก 3 ชน ประกอบดวยแปงแพนเคก 3 แผน ที่
วางซอนกัน แทรกดวยครีมสดรสตางๆ และราดนํา้ ผึ้งบนชนบนสุดของแพนเคก ดังรูป

รานขนมนี้มแ
ี ปงแพนเคก 2 ชนิด และมีครีมสด 6 รส
ถาตองการทําแพนเคก 3 ชน
 ที่มีครีมสดไมซา รสกันแทรกระหวางชน

และแปงแพนเคกแตละชน
 เปนชนิดใดก็ได แลวจะทําแพนเคก 3 ชน
 ไดแตกตางกัน
ทั้งหมดกี่แบบ
1. 60 แบบ 2. 120 แบบ 3. 180 แบบ 4. 240 แบบ 5. 288 แบบ

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 10
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
15. อาคารเรียนหลังหนึ่งมี 4 ชน คือ ชน 1 ชน
 2 ชน
 3 และชน 4 ถามีนักเรียน 3
คน ขึ้นลิฟตของอาคารนีพ
้ รอมกันจากชน
 1 ไปชนอืน
่ โดยที่นักเรียนแตละคนมีโอกาส
ออกจากลิฟตแตละชนเทากัน แลวความนาจะเปนที่นักเรียนทัง้ 3 คน ออกจากลิฟตชน

เดียวกันเทากับเทาใด
1 1 1 1 3
1. 2. 3. 4. 5.
9 16 27 64 64

16. กลองทึบใบหนึ่งบรรจุลก
ู บอลสแดง 4 ลูก สฟา 3 ลูก และสเหลือง 3 ลูก โดยที่ลูก
บอลแตละลูกแตกตางกัน ถาสุมหยิบลูกบอลออกจากกลองนี้ 3 ครั้ง โดยหยิบครั้งละ 1
ลูก และใสคืนกอนหยิบลูกบอลครั้งตอไป แลวความนาจะเปนของเหตุการณท่ห
ี ยิบไดลูก
บอลสแดงจากการสุมหยิบลูกบอลครั้งที่ 1 และอีกสองครั้งถัดไปหยิบไดลูกบอลสอน
ื่
เทากับเทาใด
1 2 4 18 9
1. 2. 3. 4. 5.
6 25 27 125 150

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 11
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
17. ขอมูลในขอใดเปนขอมูลทุติยภูมิ
1. รานคาออนไลนแหงหนึ่งนําขอมูลการสงซอสนคาผานเว็บไซตของรานนัน
้ ไปใช
ในการวิเคราะหขอมูลเพื่อหาประเภทสนคาที่มียอดขายสูงสุด
2. บริษัทแหงหนึ่งนําขอมูลการสนทนาระหวางผูใชบริการกับเจาหนาที่ของบริษท
ั นั้น
ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเพื่อปรับปรุงการใหบริการ
3. กรมสรรพากรนําขอมูลเกีย
่ วกับการเงินของลูกคาของธนาคารแหงหนึ่ง ไปใชในการ
วิเคราะหขอมูลเพื่อตรวจสอบและติดตามการเสยภาษี
4. หองสมุดแหงหนึ่งนําขอมูลการยืมหนังสอของผูใชบริการหองสมุดนั้น ไปใชในการ
วิเคราะหขอมูลเพื่อวางแผนจัดซอหนังสอเพิ่มในอนาคต
5. การรถไฟนําขอมูลการซอ ตั๋วโดยสารรถไฟที่ไดจากการจําหนายตั๋วโดยสารทาง
โทรศพทของการรถไฟ ไปใชในการวิเคราะหขอมูลเพื่อจัดสรรเจาหนาที่จําหนาย
ตั๋วโดยสารทางโทรศพท

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 12
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
18. จากการตรวจสุขภาพประจําปของนักเรียนในโรงเรียนแหงหนึ่ง พบวา ผลการตรวจระดับ
นํ้าตาลในเลือด (มีหนวยเปนมิลลิกรัมตอเดซลิตร) ของนักเรียนหญิง จํานวน 200 คน
และนักเรียนชายจํานวน 100 คน โดยที่ระดับนํ้าตาลในเลือด ของนักเรียนทุกคนเปน
จํานวนเต็ม แสดงดวยฮิสโทแกรมไดดังนี้

ระดับนํา้ ตาลในเลือดของนักเรียนหญิง ระดับนํา้ ตาลในเลือดของนักเรียนชาย

จํานวนนักเรียนหญิงที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวา 100 มิลลิกรัมตอเดซลต


ิ ร มากกวา
จํานวนนักเรียนชายที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกวา 100 มิลลิกรัมตอเดซลต
ิ ร อยูก
 ี่คน
1. 35 คน 2. 30 คน 3. 25 คน 4. 20 คน 5. 10 คน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 13
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
19. การทดสอบประสทธิภาพของปญญาประดิษฐ (AI) ในการจําแนกภาพผลไมวา สามารถ
ระบุชนิดของผลไมไดถูกตองหรือไม โดยทดสอบจากภาพผลไม 3 ชนิด ประกอบดวย
ภาพพุทรา 20 ภาพ ภาพนอยหนา 15 ภาพ และภาพฝรั่ง 20 ภาพ
ไดผลดังตาราง
ภาพผลไมที่ใช ผลการระบุชนิดผลไมของ AI จากภาพผลไมที่ใชทดสอบ
ทดสอบ (ภาพ)
ภาพพุทรา ภาพนอยหนา ภาพฝรั่ง
ภาพพุทรา 8 4 8
ภาพนอยหนา 5 9 1
ภาพฝรั่ง 3 7 10

กําหนดให
a แทนรอยละของจํานวนภาพพุทราที่ AI ระบุไดถก
ู ตอง เมื่อเทียบกับจํานวนภาพ
พุทราที่ใชทดสอบทั้งหมด
b แทนรอยละของจํานวนภาพนอยหนาที่ AI ระบุไดถก
ู ตอง เมื่อเทียบกับจํานวน
ภาพนอยหนาที่ใชทดสอบทั้งหมด
c แทนรอยละของจํานวนภาพฝรั่งที่ AI ระบุไดถก
ู ตอง เมื่อเทียบกับจํานวนภาพ
ฝรั่งที่ใชทดสอบทั้งหมด
ขอใดเรียงลําดับ a, b, c จากมากไปนอย
1. a, c, b 2. b, a, c 3. b, c, a
4. c, a, b 5. c, b, a

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 14
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
20. การสารวจขอมูลความชน
 ชอบกลิ่นดอกไม จากลูกคารานขายนํ้าหอมแหงหนึ่ง ที่มีอายุ
ตั้งแต 21 ถึง 35 ป จํานวน 330 คน โดยแตละคนเลือกกลิ่นดอกไมทช
ี่ นชอบ ได
เพียงหนึ่งกลิน
่ เทานัน
้ ไดผลสารวจดังนี้

ฐานนิยมของกลิ่นดอกไมที่ลูกคารานขายนํ้าหอมแหงนี้ท่ม
ี ีอายุตั้งแต 21 ถึง 30 ป
ชนชอบ คือกลิ่นใด
1. กลิน
่ ดอกลีลาวดี 2. กลิน
่ ดอกจําป 3. กลิ่นดอกการเวก
4. กลิ่นดอกแกว 5. กลิน
่ ดอกปบ

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 15
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
21. ผลการสารวจเงินเดือนของพนักงานทุกคนในแผนกบัญชและแผนกจัดซอ ซงมีพนักงาน
รวมกัน 30 คน และมีเงินเดือนรวมกัน 870,000 บาท พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิตของ
เงินเดือนของพนักงานแผนกบัญชเทากับ 31,000 บาท และ คาเฉลี่ยเลขคณิตของ
เงินเดือนของพนักงานแผนกจัดซอเทากับ 28,000 บาท พนักงานทุกคนในแผนกจัดซอ
มีเงินเดือนรวมกันกี่บาท
1. 280,000 บาท 2. 310,000 บาท 3. 420,000 บาท
4. 560,000 บาท 5. 620,000 บาท

22. การสอบวิชาคณิตศาสตรครั้งหนึ่งมีนักเรียนเขาสอบทั้งหมด 100 คน โดยการสอบครัง้ นี้


มีคะแนนเต็ม 45 คะแนน จากผลการสอบของนักเรียนกลุมนี้ พบวา คาเฉลี่ยเลขคณิต
ของคะแนนสอบ เทากับ 30 คะแนน และ พิสย
 ของคะแนนสอบ เทากับ 10 คะแนน
ถาการสอบนี้มีการปรับคะแนนเต็มเปน 100 คะแนน และปรับคะแนนสอบของนักเรียน
ทุกคน โดยนําคะแนนสอบของนักเรียนแตละคน คูณดวย 2 แลวบวกดวย 10 คะแนน
แลวคาเฉลี่ยเลขคณิตและพิสยของคะแนนสอบที่ปรับใหมเทากับเทาใด ตามลําดับ
1. 70 คะแนน และ 30 คะแนน
2. 70 คะแนน และ 20 คะแนน
3. 70 คะแนน และ 10 คะแนน
4. 60 คะแนน และ 20 คะแนน
5. 60 คะแนน และ 10 คะแนน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 16
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
23. ขอมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรทแ
ี่ สดงดวยแผนภาพกลองในขอใด มีพิสยระหวางค
วอรไทลมากที่สุด เมื่อพิสยระหวางควอรไทล คือ ผลตางระหวาง ควอรไทลที่ 3 และ
ควอรไทลท่ี 1 ของขอมูลชุดนัน

1.

2.

3.

4.

5.

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 17
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
24. คะแนนสอบยอยวิชาภาษาไทยของนักเรียนชน
 มัธยมศกษาปที่ 6 หองหนึ่ง จํานวน 24
คน ซงมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน แสดงดวยแผนภาพจุดไดดังนี้

ถานักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาเปอรเซนตไทลท่ี 40 จะตองสงงานพิเศษเพิ่ม และ


นักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาเปอรเซนตไทลท่ี 20 จะตองเรียนเสริมกับครู แลวมี
นักเรียนที่ตองสงงานพิเศษเพิ่มแตไมตองเรียนเสริมกับครูอยูก
 ี่คน
1. 2 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. 5 คน 5. 6 คน

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 18
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
25. นํ้าหนัก (มีหนวยเปนกิโลกรัม) ของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงหองหนึ่งรวม 19
คน แสดงดวยแผนภาพลําตนและใบดังนี้
นักเรียนชาย นักเรียนหญิง
3 7 9
4 0 4 3 7 7 7
4 2 2 5 0 2 2
8 6 0 6 0 7
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก) พิสยของนํา้ หนักของนักเรียนหญิงหองนี้มากกวาพิสยของนํา้ หนักของ
นักเรียน ชายหองนี้อยู 2 กิโลกรัม
ข) ฐานนิยมของนํ้าหนักของนักเรียนหองนี้เทากับ 52 กิโลกรัม
ค) ควอรไทลท่ี 1 ของนํ้าหนักของนักเรียนหองนี้เทากับ 44 กิโลกรัม
จากขอความ ก) ข) และ ค) ขางตน ขอใดถูกตอง
1. ขอความ ก) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
2. ขอความ ค) ถูกตองเพียงขอเดียวเทานั้น
3. ขอความ ก) และ ข) ถูกตองเทานัน

4. ขอความ ข) และ ค) ถูกตองเทานัน

5. ขอความ ก) ข) และ ค) ถูกตอง

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 19
A-Level วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ป 66
ตอนที่ 2 : แบบระบายคําตอบที่เปนตัวเลข จํานวน 5 ขอ (ขอที่ 26 – 30)
ขอละ 5 คะแนน รวม 25 คะแนน

26. กําหนดให f เปนฟงกชนเชงเสนถา f(0) = 3 และ f(2) = 5 แลว f(6) เทากับ


เทาใด

27. ลําดับเลขคณิตลําดับหนึ่งมีพจนที่ 9 คือ 35 และพจนที่ 17 คือ 51 ผลบวกของพจนที่


7 ถึงพจนท่ี 15 ของลําดับนี้เทากับเทาใด

FB : คณิตศาสตร พี่เมน 20
A-Level 2 66
28.
1
1)
48
2)

3)
1 168

29.
S x x 4 8 9
S 1 9
8 9

FB : 21
A-Level 2 66
30.
3
50
48 12
2

FB : 22

You might also like