Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 189

การออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

โดยวิ ธี ห น่ ว ยแรงใช้ ง าน

REINFORCED CONCRETE DESIGN


(Working Stress Design : WSD)

ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ ส าโรจน์ ดารงศี ล


การออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
โดยวิ ธี ห น่ ว ยแรงใช้ ง าน

REINFORCED CONCRETE DESIGN


(Working Stress Design : WSD)

ผู้ ช่ วยศาสตราจารย์ ส าโรจน์ ดารงศี ล


สาขาวิศ วกรรมโยธา คณะวิศ วกรรมศาสตร์
มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลรั ต นโกสิ น ทร์

คำนำ

ตำราำล่มนี้ใ ช้สำำรราบกกำราลรา้ นีกำราำนีิช้ำ CVE 3235 กำรานนกแกกโครางำราสำงคนีกรา้ ตลำราช น


ลร่็ก โดนิชธ้รีม ินแรางช้สงำี ซึ่ งลป็ ีิช้ำกบงคบกำำขำิช้ำิชศิกรารานโนธำ ร่บกำู ตราิชศิกรารานศำำตรา์
นรำิชท นำ่บน ลทคโีโ่น้ ราำ้นงค่ราบ ตีโกำช ีทรา์ ลีืใ นรำปราะกนกดสิน คนีกรา้ ตแ่ะลร่็ก ลำราช น กำรา
ิชลคราำะร์โครางำราสำงแ่ะกำรานนกแกก กำรานนกแกกคำีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กตสำีทำีโนลนีต์ดดบ แราง
ลฉื นี แรางนึดรีมิง แ่ะกำรากชด พืใีแ่ะกบีได ลำำคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก แ่ะฐำีราำกคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก
ราินทบใงรนด 7 กท ซึ่ งครานกคุ่ น ลีืใ น รำำำราะตำนลกณฑ์ ่ บก ษณะิช้ ำ แ่ะลป็ ีำม ิีรีึ่ ง ขนงิช้ ำชี
ร่บกำู ตรา โดนช้สราะนะลิ่ำชีกำราลรา้ นีกำราำนี 7 ำบปดำร์ จำกทบใงรนด 15 ำบปดำร์ ต่นดร่บกำู ตรา
ำช่ งำำคบญชีกำรานนกแกกโครางำราส ำงคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก คื น คิำนลขสำชจพฤตชกรารานชีกำราราบก
ีใ ำรีบกขนงโครางำราส ำง ำู ตราท้่ ช้สชีกำราคำีิณนนกแกกภำนชตสำนนตช ฐำี แ่ะขสนกำรีดนำตราฐำี
ำำรราบก กำรานนกแกก ลพื่ นชรสไดสข ีำดขนงโครางำราส ำงท้่ ลรนำะำนแ่ะน้ ค ิำนป่นดภบนภำนชตสีใ ำรีบก
กราราทุกช้สงำี แกกฝึ กรบดทสำนกทจะ้มินชรสีกบ ศึกษำลกชดทบกษะจำกกำราคำีิณนนกแกกชี้บิ่ โนงปฏชกตบ ช
โดนน้ตำราำง้มินนนกแกกชีภำคผีิก แ่ะน้ติบ นนมำงราำนกำราคำีิณโครางำราสำงกสำีพบกนำศบน ซึ่งลป็ ีงำี
ท้่นนกรนำนชีภำคกำราศึกษำ ผูลส รา้ นกลรา้ นงขนกราำกขนกคุณ พมน แนม คราู นำจำราน์ ผูชส รสิ้ช ำคิำนราู สทใ งบ ทำงตราง
จำกกำรานกรานำบ่ งำนี แ่ะทำงนสนนจำกกำรานม ำีรีบงำื น ตำราำ ขนงทม ำีทบใงร่ำน ริบงลป็ ีนนมำงนช่งิมำ
ีบก ศึ ก ษำจะไดสราบก ปราะโน้ี์ จำกต ำราำล่ม น ี้ใ แ่ะำำนำราถี ำไปช้สศึ ก ษำชีราำนิช้ ำนื่ ี ๆ ท้่ ลก้่ น ิขสน ง
ตมนลีื่ นงไดส รำกน้ำช่งชดขำดตกกกพราม นงรราื นผชดพ่ำดท้่นำจลกช ดขึใีไดสโดนนชไดสตใ งบ ชจก็ขนนภบน แ่ะกราุ ณำ
ชรสคำแีะีำดสินจบกลป็ ีพราะคุณนชง่

ผู้ส มินศำำตราำจำราน์ ำำโราจี์ ดำรางศ้่


18 ธบีิำคน 2559

แกสไขปราบกปราุ ง : พฤษภำคน 2562


สำรบัญ

ลราื่ นง รีสำ
คำีำ ก
ำำรากบญ ข
ำำรากบญราู ป จ
ำำรากบญตำราำง ้
ำบญ่บกษณ์ ซ

กทท้่ 1 คนีกรา้ ตแ่ะลร่็กลำราช น 1


1.1 คนีกรา้ ต 1
1.1.1 กำ่บงนบดขนงคนีกรา้ ต (fc') 1
1.1.2 กำ่บงดึงขนงคนีกรา้ ต 5
1.1.3 โนดู่ำบ นืดรนุีม ขนงคนีกรา้ ต (Ec) 6
1.2 ลร่็กลำราช น 8

กทท้่ 2 กำราิชลคราำะร์โครางำราสำงแ่ะกำรานนกแกก 11
2.1 ีใ ำรีบกกราราทุกแ่ะแรางท้่กราะทำกบกโครางำราสำง 11
2.1.1 ีใ ำรีบกกราราทุกคงท้่รราื นีใ ำรีบกกราราทุกตำนตบิ (Dead loads) 11
2.1.2 ีใ ำรีบกกราราทุกจรา (Live loads) 12
2.1.3 แราง่น (Wind loads) 13
2.1.4 แรางกราะแทก (Impact loads) 14
2.1.5 แรางแผมีดชีไริ (Earthquake loads) 14
2.2 แกกจำ่นงทำงโครางำราสำง 15
2.3 กำราจบดิำงีใ ำรีบกกราราทุก 17
2.4 กำราิชลคราำะร์โครางำราสำง 19
2.5 กำรานนกแกกโครางำราสำงคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 21
2.5.1 รีมินแรางท้่นนนชรส 21
2.5.2 ำนนตชฐำีชีกำรานนกแกกโดนิชธ้รีมินแรางช้สงำี 22
2.5.3 คมำคงท้่ำำรราบกกำรานนกแกก (n, k แ่ะคมำ j) 22

กทท้่ 3 กำรานนกแกกคำีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กตสำีทำีโนลนีต์ดดบ 25


3.1 พฤตชกรารานขนงคำีภำนชตสโนลนีต์ดดบ แ่ะกำราลำราช นลร่็ก 26
3.2 กำรานนกแกกคำีลำราช นลร่็กราบกแรางดึงนนมำงลด้นิ 28
3.3 ขสนกำรีดลก้่นิกบกคำีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 30
3.4 ขบใีตนีชีกำราคำีิณนนกแกกคำีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กราบกแรางดึงนนมำงลด้นิ 31
3.5 กำรานนกแกกคำีลำราช นลร่็กราบกแรางดึงแ่ะแรางนบด 34
3.6 ขบใีตนีชีกำราคำีิณนนกแกกคำีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กราบกแรางดึงแ่ะแรางนบด 36
3.7 กำราตราิจำนกคิำนำำนำราถชีกำราตสำีทำีโนลนีต์ดดบ ขนงคำี 44
แกกฝึ กรบด 47

กทท้่ 4 แรางลฉื นี แรางนึดรีมิง แ่ะแรางกชด 48


4.1 แรางลฉื นี 48
4.1.1 แรางลฉื นีแ่ะแรางดึงทแนงชีคำี 49
4.1.2 ลร่็กลำราช นตสำีทำีแรางลฉืนี 50
4.1.3 ขสนกำรีดนำตราฐำี ิ.ำ.ท. 51
4.2 แรางนึดรีมิง 55
4.3 แรางกชด 61
แกกฝึ กรบด 66

กทท้่ 5 พืใีแ่ะกบีได 67
5.1 พืใีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 67
5.1.1 พืใีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กทำงลด้นิ 67
5.1.2 พืใีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กำนงทำง 74
5.1.3 พืใีำำลรา็ จราู ป 82
5.1.4 พืใีิำงกีดชี 83
5.2 กบีไดคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 84
5.2.1 กบีไดพำด้มิงกิสำงราะริมำงคำีแนมกีบ ได 84
5.2.2 กบีไดพำด้มิงนำิ 87
แกกฝึ กรบด 90

กทท้่ 6 ลำำคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 92


6.1 ลำำำบใีราบกีใ ำรีบกตำนแีิแกี 93
6.2 ขสนกำรีดทบิ่ ไปลก้่นิกบกลำำคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 96
6.3 ลำำำบใีราบกแรางนบดตำนแีิแกีแ่ะโนลนีต์ดดบ ราม ินกบี 102
6.3.1 ้มิงท้่ 1 : e  ea 104
6.3.2 ้มิงท้่ 2 : ea  e  eb 105
6.3.3 ้มิงท้่ 3 : e  eb 106
6.4 ลำำนำิ 111
6.4.1 คิำน้ะู่ดขนงลำำ 111
6.4.2 ตบิคูณ่ดกำ่บงลำำ้ะู่ด (R) 112
แกกฝึ กรบด 115

กทท้่ 7 ฐำีราำกคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 116


7.1 ราู ปแกกขนงฐำีราำก 117
7.2 ฐำีราำกแผมิำงกีดชี 118
7.2.1 พฤตชกรารานชีกำราราบกีใ ำรีบกแ่ะกำราิชกตบ ชขนงฐำีราำกแผมิำงกีดชี 119
7.2.2 กำราลำราช นลร่็กชีฐำีราำก 121
7.2.3 แรางลฉื นีแ่ะแรางนึดรีมิง 122
7.2.4 คิำนรีำต่ำำุ ดขนงฐำีราำกคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 122
7.2.5 กำราถมำนรีมินแรางท้่ฐำีขนงลำำ 123
7.3 ขบใีตนีชีกำราคำีิณนนกแกกฐำีราำกแผมิำงกีดชี 123
7.4 ฐำีราำกแผมิำงกีลำำลข็น 134
7.4.1 ลำำลข็น 134
7.4.2 พฤตชกรารานชีกำราราบกีใ ำรีบกแ่ะกำราิชกตบ ชขนงฐำีราำกแผมิำงกีลำำลข็น 136
7.4.3 กำราลำราช นลร่็กฐำีราำกแผมิำงกีลำำลข็น 140
7.5 ขบใีตนีชีกำราคำีิณนนกแกกฐำีราำกแผมิำงกีลำำลข็น 140
แกกฝึ กรบด 151

กราราณำีุกราน 152
ภำคผีิก 154

สำรบัญรูป

ราู ปท้่ รีสำ


1.1 ตบินนมำงทดำนกราู ปทรางกราะกนกแ่ะราู ปทรางู่กกำศก์ 2
1.2 กำราทดำนกกำ่บงนบดขนงคนีกรา้ ต 2
1.3 กราำฟคิำนำบนพบีธ์ราะริมำงกำ่บงนบดคนีกรา้ ตราู ปทรางกราะกนกกบกทรางู่กกำศก์ 3
1.4 ตบินนมำงทดำนกแ่ะแผมีนำงรานงผชิทดำนกกำ่บงนบด 4
1.5 กำราทดำนกแรางดึงแกกผมำซ้ ก 5
1.6 กำราทดำนกแรางดึงโดนิชธ้กำราดบด 6
1.7 คิำนำบนพบีธ์ราะริมำงรีมินแรางนบดกบกคิำนลครา้ นดขนงคนีกรา้ ตแ่ะกำราตชด Compressometer 7
1.8 ลร่็กก่นผชิลรา้ นกแ่ะลร่็กขสนนสนน 8
1.9 คิำนำบนพบีธ์ราะริมำงรีมินแราง (Stress) กบกรีมินกำรานืดตบิ (Strain) ขนงลร่็กลำราช น 9
1.10 รีบงำื นนำตราฐำีำำรราบกนำคำราคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 10
2.1 โครางำราสำงนำคำราคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 15
2.2 ผบงโครางำราสำงนำคำราคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 16
2.3 แกกจำ่นงทำงโครางำราสำง คำี B1, B7 แ่ะคำี B9 17
2.4 กำราจบดิำงีใ ำรีบกกราราทุก 19
2.5 กำรากราะจำนขนงรีมินกำรานืดรดตบิแ่ะรีมินแรางกีรีสำตบดคำี 23
2.6 ขบใีตนีชีกำรารำคมำคงท้่ำำรราบกกำรานนกแกก 24
3.1 แรางภำนชีแ่ะกำรากราะจำนคิำนลคสีกีรีสำตบดคำี 25
3.2 ่บกษณะกำราโกมงตบิขนงคำี้มิงลด้นิแ่ะกำราลำราช นลร่็ก 26
3.3 ่บกษณะกำราโกมงตบิขนงคำีนืี่ แ่ะกำราลำราช นลร่็ก 26
3.4 ่บกษณะกำราโกมงตบิขนงคำีตมนลีื่ นงแ่ะกำราลำราช นลร่็ก 27
3.5 กำราิชกตบ ชขนงคำีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กแกก้มิงลด้นิภำนชตสีใ ำรีบกกราราทุก 28
3.6 กำรากราะจำนขนงรีมินกำรานืดรดตบิแ่ะรีมินแรางกีรีสำตบดคำี 29
3.7 คนีกรา้ ตรุนส ลร่็กลำราช น 31
3.8 กำรากราะจำนขนงรีมินกำรานืดรดตบิแ่ะรีมินแรางกีรีสำตบดคำี 34
4.1 กำราแตกราสำิขนงคำีภำนชตสีใ ำรีบกกราราทุก 48
4.2 กำราิชกตบ ชขนงคำีภำนชตสแรางลฉื นีแ่ะกำราลำราช นลร่็กตสำีทำีแรางลฉื นี 49
4.3 กำรานึดป่ำนรราื นกำรางนป่ำนลร่็กลำราช น 55
4.4 รีมินแรางนึดรีมิง 56

4.5 คิำนนำิราะนะฝบงขนงลร่็กลำราช น 58
4.6 กำราราบกีใ ำรีบกขนงคำีราบกพืใีนืี่ 61
5.1 กำราลำ้ นราู ปจำกกำราราบกีใ ำรีบกกราราทุกขนงแผมีพืใีลำราช นลร่็กทำงลด้นิ 67
5.2 ่บกษณะแผมีพืใีแ่ะกำราพชจำราณำรำแรางภำนชีแผมีพืใีจำกทำงดสำีำบใี 68
5.3 กำราลำราช นลร่็กพืใีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กทำงลด้นิ 69
5.4 กำราลำ้ นราู ปจำกกำราราบกีใ ำรีบกกราราทุกขนงแผมีพืใีลำราช นลร่็กำนงทำง 74
5.5 กำราแกมงพืใีท้่พใีื คนีกรา้ ตลำราช นลร่็กำนงทำง 75
5.6 คิำนตมนลีื่ นงขนงแผมีพืใีทบใง 5 กราณ้ 76
5.7 กำราลำราช นลร่็กชีแผมีพืใีคนีกรา้ ตลำราช นลร่็กำนงทำง 77
5.8 กำราถมำนีใ ำรีบก่งคำีรานงราบก 78
5.9 ่บกษณะแ่ะกำราิำงแผมีพืใีำำลรา็ จราู ป 82
5.10 พืใีิำงกีดชี 83
5.11 กบีไดคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 84
6.1 ราู ปแกกขนงลำำคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 92
6.2 กำ่บงราบกีใ ำรีบกขนงลำำำบใี 93
6.3 ่บกษณะกำราิชกตบ ชขนงลำำ 94
6.4 ลำำำบใีราบกแรางนบดตำนแีิแกีแ่ะโนลนีต์ดดบ ราม ินกบีนบีลกชดจำกแรางลนืในงศูีน์ 102
6.5 กราำฟปฏชำบนพบีธ์ (Interaction diagram) 103
6.6 กราำฟนนกแกกลำำแกมง้มิงตำนราะนะลนืในงศูีน์ 103
6.7 รีสำตบดลำำคนีกรา้ ตลำราช นลร่็ก 104
6.8 ่บกษณะกำราโกมงตบิแ่ะกำราลค่ื่นีท้่ทำงดสำีขสำงขนงลำำ 113
7.1 ปราะลภทขนงฐำีราำก 116
7.2 ราู ปแกกขนงฐำีราำก 117
7.3 กำราแผมกราะจำนขนงแรางดบีดชีชตสฐำีราำก 118
7.4 แีิรีสำตบดิชกฤตำำรราบกโนลนีต์ดดบ แ่ะแรางนึดรีมิง 120
7.5 แีิรีสำตบดิชกฤตำำรราบกแรางลฉื นี 121
7.6 กำราลำราช นลร่็กชีฐำีราำก 122
7.7 ราู ปแกกรราื นราู ปทรางขนงฐำีราำกจำกกำราจบดิำงกุ่มนลำำลข็นแกกำนนำตรา 136
7.8 กำรากราะจำนีใ ำรีบกขนงฐำีราำกแผมิำงกีลำำลข็น 137
7.9 แีิรีสำตบดิชกฤตำำรราบกโนลนีต์ดดบ แ่ะแรางนึดรีมิง 138
7.10 แีิรีสำตบดิชกฤตำำรราบกแรางลฉื นีแ่ะแรางลฉื นีชีฐำีราำกแผมิำงกีลำำลข็น 139

สำรบัญตำรำง

ตำราำงท้่ รีสำ
1.1 ขีำดลำสีผมำีศูีน์ก่ำงแ่ะลกณฑ์คิำนคำดลค่ื่นี
ำำรราบกนิ่ตมนลนตราขนงลร่็กลำราช น 8
1.2 ก่ำนกบตชขนงลร่็กลำราช นตำนนำตราฐำีนุตำำรกราราน 9
2.1 ีใ ำรีบกขนงิบำดุกมนำราสำง 12
2.2 ีใ ำรีบกกราราทุกจราำำรราบกนำคำรา (ขสนกบญญบตชขนงกราุ งลทพนรำีครา พ.ศ. 2522) 13
2.3 แราง่นำำรราบกำม ิีขนงนำคำรา (ขสนกบญญบตชขนงกราุ งลทพนรำีครา พ.ศ. 2522) 14
2.4 คมำำบนปราะำช ทธช์ โนลนีต์แ่ะแรางลฉืนี 20
2.5 คมำนบตราำำม ิีโนดู่ำบ : n 24
4.1 รีมินแรางนึดรีมิงท้่นนนชรส 57
5.1 คมำำบนปราะำช ทธช์ ขนงโนลนีต์ (c) 76
7.1 กำ่บงแกกทำีขนงดชี ตำน พ.รา.ก. คิกคุนนำคำรา ป้ พ.ศ. 2522 119
7.2 ลำำลข็นคนีกรา้ ตนบดแราง 134

สัญลักษณ์

AC : ลีืใ นท้่คนีกรา้ ตชีลำำป่นกลก่้นิ ิบดจำกขนกีนกขนงลร่็กป่นกลก่้นิ


Ag : พืใีท้่รีสำตบดทบใงรนดขนงลำำ
As : พืใีท้่รีสำตบดขนงลร่็กลำราช นราบกแรางดึง
As' : พืใีท้่รีสำตบดขนงลร่็กลำราช นราบกแรางนบด
AsB : ปราช นำณลร่็กลำราช นทำงดสำีำบใีขนงฐำีราำก
Ast : พืใีท้่รีสำตบดขนงลร่็กนืีทบใงรนดชีลำำ
Ast : พืใีท้่รีสำตบดลร่็กลำราช นกบีราสำิ
Av : พืใีท้่รีสำตบดขนงลร่็กลำราช นราบกแรางลฉื นี
b : คิำนกิสำงขนงคำี
B : ความกว้างด้านสั้นของฐานราก
c : ำบนปราะำช ทธช์ ขนงโนลนีต์ำำรราบกคำีแ่ะพืใีตมนลีื่นงรราื นแผมีพืใีำนงทำง
C : แรางนบดท้่กราะทำกีรีสำตบดขนงำม ิีโครางำราสำง
Cc : แรางนบดท้่ราบกโดนคนีกรา้ ตกีรีสำตบดขนงำม ิีโครางำราสำง
Cs' : แรางนบดท้่ราบกโดนลร่็กลำราช นกีรีสำตบดขนงำม ิีโครางำราสำง
d : คิำน่ึกปราะำช ทธช ผ่ (จำกขนกผชิกีดสำีราบกแรางนบดถึงจุดศูีน์ถมิงขนงลร่็กลำราช นราบกแรางดึง)
d' : ราะนะจำกขนกผชิกีดสำีราบกแรางนบดถึงจุดศูีน์ถมิงขนงลร่็กลำราช นราบกแรางนบด
db : ขีำดลำสีผมำีศูีน์ก่ำงลร่็กลำราช น
D : ขีำดลำสีผมำีศูีน์ก่ำงลำำรีสำตบดก่น
Dc : ขีำดลำสีผมำีศูีน์ก่ำงราะริมำงขนกีนกลร่็กป่นกขนงลำำป่นกลก่้นิ
Ds : ขีำดลำสีผมำีศูีน์ก่ำงราะริมำงศูีน์ก่ำงลร่็กนืีขนงลำำป่นกลก่้นิ
DL : ีใ ำรีบกกราราทุกคงท้่
e : ราะนะลนืในงศูีน์
eb : ราะนะลนืในงศูีน์ำนดุ่
Ec :โนดู่ำบ นืดรนุีม ขนงคนีกรา้ ต (คนีกรา้ ตธรารานดำ : Ec  15,100 fc ; กก./ซน.2)
Es : โนดู่ำบ นืดรนุีม ขนงลร่็กลำราช น (Es = 2.04x106; กก./ซน.2)
fa : รีมินแรางนบดตำนแีิแกี
fb : รีมินแรางดบด
fc : รีมินแรางนบดคนีกรา้ ต รราื นรีมินแรางนบดท้่นนนชรสขนงคนีกรา้ ต
fc' : รีมินแรางนบดปราะ่บนขนงคนีกรา้ ต

fr : โนดู่ำบ แตกราสำิขนงคนีกรา้ ต ( fr  2.0 fc ; กก./ซน.2)


fr : รีมินแรางท้่นนนชรสขนงแกีลร่็กราู ปพราราณ
fs : รีมินแรางดึง รราื นรีมินแรางดึงท้่นนนชรสขนงลร่็กลำราช น
fs' : รีมินแรางนบดขนงลร่็กลำราช นราบกแรางนบด
fv : รีมินแรางดึงขนงลร่็กลำราช นราบกแรางลฉืนี
fy : รีมินแรางดึงท้่จุดคราำกขนงลร่็กลำราช น
Fa : รีมินแรางนบดตำนแีิแกีท้่นนนชรสขนงลำำ
Fb : รีมินแรางดบดตำนแีิแกีท้่นนนชรสขนงลำำ
h : คิำนำู งขนงลำำ
I : โนลนีต์นชีลีนรา์ล้้นขนงรีสำตบด
Ig : โนลนีต์นชีลีนรา์ ล้้นขนงรีสำตบดคนีกรา้ ตทบใงรนด
jd : ้มิงแขีขนงโนลนีต์
k : คมำคงท้่ำำรราบกกำรานนกแกก
kd : ราะนะตำแรีมงขนงแกีำะลทชี (ิบดจำกผชิกีดสำีราบกแรางนบดถึงแกีำะลทชี)
K : ำตชฟลีำกำราดบด :
L : ดสำีนำิขนงแผมีพืใี
LL : ีใ ำรีบกกราราทุกจรา
m : นบตราำำม ิีดสำีำบใีตมนดสำีนำิขนงแผมีพืใี
m : นบตราำำม ิี :
M : โนลนีต์ดดบ
Mt : โนลนีต์กชด
n : นบตราำำม ิีโนดู่ำบ :
P : แรางนบดตำนแีิแกี
Pb : แรางนบดตำนแีิแกีชีำภำิะำนดุ่
P' : กำ่บงราบกีใ ำรีบกขนงลำำลข็น รราื นแรางตสำีขนงลำำลข็น
r : ราบศน้ไจลรา้บี่
rj : นบตราำำม ิีราะริมำง ตมน ท้่จุดตมน j
R : คมำคงท้่ำำรราบกกำรานนกแกก รราื นตบิคูณ่ดกำ่บงลำำ้ะู่ด
s : ราะนะรมำงขนงลร่็กู่กตบใง รราื นลร่็กป่นก
S : ดสำีำบใีขนงแผมีพืใี รราื นนบตราำำม ิีดสำีนำิตมนดสำีำบใีขนงฐำีราำก

t : คิำนรีำขนงแผมีพืใีรราื นำม ิีขนงโครางำราสำง


T : แรางกชด
u : รีมินแรางนึดรีมิง รราื นรีมินแรางนึดรีมิงท้่นนนชรส
v : รีมินแรางลฉื นี
vc : รีมินแรางลฉื นีขนงคนีกรา้ ต
V : แรางลฉืนี
Vc : กำ่บงตสำีทำีแรางลฉื นีโดนคนีกรา้ ต
V', Vs : กำ่บงตสำีทำีแรางลฉื นีโดนลร่็กลำราช นราบกแรางลฉื นี
w : ีใ ำรีบกกราราทุกแผมตมนรีมินคิำนนำิ
: นุนราะริมำงลร่็กลำราช นราบกแรางลฉื นีกบกแกีตำนนำิขนงำม ิีโครางำราสำง
: รีมินกำรารดตบิขนงคนีกรา้ ต
: รีมินกำรานืดตบิขนงลร่็กลำราช นราบกแรางดึง
: รีมินกำรารดตบิขนงลร่็กลำราช นราบกแรางนบด
: รีมินกำรานืดรดตบิท้่จุดคราำกขนงลร่็กลำราช น
: นบตราำำม ิีขนงพืใีท้่รีสำตบดลร่็กลำราช นราบกแรางดึงตมนพืใีท้่รีสำตบดปราะำช ทธช ผ่ขนงคำี
: นบตราำำม ิีขนงพืใีท้่รีสำตบดลร่็กลำราช นราบกแรางนบดตมนพืใีท้่รีสำตบดปราะำช ทธช ผ่ขนงคำี
: นบตราำำม ิีขนงพืใีท้่รีสำตบดลร่็กลำราช นขนงคำีชีำภำิะำนดุ่
: นบตราำำม ิีขนงพืใีท้่รีสำตบดลร่็กนืีตมนพืใีท้่รีสำตบดลำำ
: นบตราำำม ิีขนงปราช นำตราลร่็กป่นกลก่้นิตมนปราช นำตราขนงแกีลำำป่นกลก่้นิ
 O : ลำสีรานกราู ปขนงลร่็กลำราช น
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 1

บทที่ 1
คอนกรีตและเหล็กเสริม

โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ประกอบด้วย วัสดุสองชนิดคือคอนกรี ตและเหล็กเสริ ม ทาหน้าที่


รับ น้ าหนักหรื อรับ แรงที่ ก ระท าต่อโครงสร้ างร่ วมกัน แต่ คอนกรี ตและเหล็ กเสริ มมี คุณ สมบัติต่างกัน
ดังนั้น เมื่ อนาวัสดุ ท้ งั สองชนิ ดมาใช้งานร่ วมกัน สิ่ งที่ ส าคัญคื อความรู ้ ด้านคุ ณสมบัติของวัสดุ ซึ่ งวิชา
พื้ น ฐาน เช่ น คอนกรี ตเทคโนโลยี (Concrete technology) และวัส ดุ วิศวกรรม (Materials engineering)
ช่ ว ยให้ ท ราบถึ ง ลัก ษณะและคุ ณ สมบัติ ข องวัส ดุ ท้ ัง สองชนิ ด และวิช าการทดสอบวัส ดุ วิศ วกรรม
(Engineering materials and testing) ท าให้ เข้า ใจถึ ง กลสมบัติ แ ละกลไกในการรั บ แรงของวัส ดุ วิช า
พื้ นฐานเหล่ านี้ เป็ นวิชาที่ ศึก ษาก่ อนวิชาออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ ม เหล็ก ในบทนี้ จะกล่ าวถึ ง
คุณสมบัติสาคัญของคอนกรี ตและเหล็กเสริ มที่จะนาไปใช้ต่อไป

1.1 คอนกรีต
คอนกรี ตเป็ นวัส ดุ ผสม (Composite materials) ประกอบด้วย วัส ดุ ป ระสาน ได้แก่ ปู น ซี เมนต์
และน้ า ผสมกับ มวลรวม ได้แก่ ทราย หิ น หรื อกรวด เมื่ อนามาผสมรวมกันจะอยู่ในสภาพเหลวช่ วง
ระยะเวลาหนึ่ ง ซึ่ งเพียงพอที่จะนาไปใช้เทลงในแบบหล่อที่มีรูปร่ างตามต้องการ หลังจากนั้นจะเปลี่ ยน
สภาพเป็ นของแข็ง และพัฒนากาลังสู งขึ้นตามอายุของคอนกรี ตที่เพิ่มขึ้น คุณสมบัติเชิ งกลที่สาคัญของ
คอนกรี ต ได้แก่
1.1.1 กำลังอัดของคอนกรี ต (fc‫ )׳‬เป็ นคุ ณสมบัติดา้ นกาลังที่สาคัญสุ ด เนื่ องจากใช้ประกอบการ
คานวณโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ส่ วนกาลังดึง กาลังดัด และค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ ขึ้นอยูก่ บั กาลังอัด
หรื อเป็ นสัดส่ วนกับกาลังอัด กล่าวคือ เมื่อคอนกรี ตมีกาลังอัดสู งขึ้นกาลังด้านอื่นๆ ของคอนกรี ตก็จะสู ง
ตามไปด้วย กาลังอัดของคอนกรี ตขึ้นอยูก่ บั ปั จจัยที่สาคัญ 3 ประการ ได้แก่ กาลังของมอร์ ตาร์ กาลังและ
โมดูลสั ยืดหยุน่ ของมวลรวม และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างมอร์ ตาร์ กบั ผิวของมวลรวม นอกจากนี้ ยังมีปัจจัย
อื่นที่มีผลต่อกาลังของคอนกรี ต เช่น คุณสมบัติของวัสดุผสม การทาคอนกรี ต การบ่มคอนกรี ต และการ
ทดสอบ (ชัช วาลย์ เศรษฐบุ ตร, 2536) โดยปกติ ก ารออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตให้ ได้กาลังอัดตามที่
ต้องการจะต้องทราบถึงคุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ทาคอนกรี ต และควบคุมการทาคอนกรี ต ตลอดจนการบ่ม
คอนกรี ตให้เป็ นไปตามมาตรฐาน ส่ วนการทดสอบกาลังอัดจะเป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายที่แสดงถึงคุณภาพของ
คอนกรี ตโดยตรวจสอบจากการทดสอบกาลังอัดของคอนกรี ต ซึ่ งเป็ นวิธีที่ง่ายเมื่ อเปรี ยบเที ยบกับการ
ทดสอบอื่นๆ ข้อกาหนดมาตรฐานวัสดุและการก่อสร้างสาหรับโครงสร้างคอนกรี ต โดยคณะกรรมการ
วิช าการสาขาวิศ วกรรมโยธา วิศ วกรรมสถานแห่ งประเทศไทย (ว.ส.ท.) เสนอแนะว่า การประเมิ น
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 2

คุณภาพของคอนกรี ตโดยปกติจะพิจารณาจากกาลังอัดของแท่งคอนกรี ตทรงกระบอกที่อายุ 28 วัน ซึ่งถือ


เป็ นตัวแทนของคอนกรี ตที่ใช้จริ งในโครงสร้ างอาคาร การเก็บตัวอย่างทดสอบกาลังอัดจะกระทาอย่าง
น้อยวันละครั้ง หรื ออย่างน้อยหนึ่ งครั้งต่อการเทคอนกรี ตที่ติดต่อกันทุกๆ 50 ลูกบาศก์เมตร อย่างไรก็ตาม
ตัวอย่างทดสอบที่ นิ ยมใช้ก ัน ทั่วไปมี 2 แบบ คื อรู ป ทรงกระบอกเป็ นมาตรฐานของประเทศอเมริ ก า
ASTM C 192 และทรงลูกบาศก์เป็ นมาตรฐานของประเทศอังกฤษ BS 1881 Part 108 ดังรู ปที่ 1.1 กาลัง
อัดของคอนกรี ตหาได้จากค่ากาลังอัดสู งสุ ดหารด้วยพื้นที่หน้าตัดของตัวอย่างทดสอบ (fc‫=׳‬P/A) จากการ
กดตัวอย่างทดสอบจนกระทัง่ แตกหักไม่ สามารถรั บ แรงต่อไปได้ การทดสอบก าลังอัดของคอนกรี ต
แสดงในรู ปที่ 1.2

รู ปที่ 1.1 ตัวอย่างทดสอบรู ปทรงกระบอกและทรงลูกบาศก์

รู ปที่ 1.2 การทดสอบกาลังอัดของคอนกรี ต


คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 3

ความแตกต่างด้านรู ปทรงของตัวอย่างทดสอบทั้งสองแบบเป็ นผลให้กาลังอัดของคอนกรี ตที่ได้


จากการทดสอบมีค่าแตกต่างกัน ถึ งแม้ว่าตัวอย่างทดสอบจะมีส่วนผสมเดียวกัน หรื อเก็บตัวอย่างพร้อม
กันจากแหล่งเดียวกันก็ตาม โดยกาลังอัดของคอนกรี ตรู ปทรงกระบอกมีค่าประมาณร้อยละ 80 ของทรง
ลูกบาศก์ มาตรฐาน ว.ส.ท. 6102 (ก) เสนอกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกาลังอัดคอนกรี ตรู ปทรงกระบอก
กับทรงลูกบาศก์ สาหรับแปลงกาลังอัดตัวอย่างทดสอบ ดังรู ปที่ 1.3

600

500
กำลังอัดทรงกระบอกมำตรฐำน, ksc.

400

300

200

100

0
0 100 200 300 400 500 600
ว.ส.ท. 6102 (ก) กำลังอัดทรงลูกบำศก์ มำตรฐำน, ksc.

รู ปที่ 1.3 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างกาลังอัดคอนกรี ตรู ปทรงกระบอกกับทรงลูกบาศก์

ในปั จจุบนั การทดสอบกาลังอัดมีแนวโน้มใช้ตวั อย่างคอนกรี ตรู ปทรงกระบอกมากขึ้นซึ่ งเป็ นผล


มาจากการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็กนิ ยมใช้มาตรฐานตามแบบอเมริ กนั หรื อมาตรฐาน
ว.ส.ท. เป็ นหลัก และการค านวณออกแบบส่ ว นผสมคอนกรี ต ส่ ว นใหญ่ ใ ช้ม าตรฐานของอเมริ ก า
เช่ นเดี ยวกัน อีกทั้งตัวอย่างทดสอบรู ปทรงกระบอกมีขอ้ ดีกว่าทรงลูกบาศก์หลายประการ เช่ น การหล่อ
และการทดสอบกระทาในแนวตั้งซึ่ งเป็ นลักษณะของการเทและรับแรงของโครงสร้างคอนกรี ตในงาน
จริ งทัว่ ไป จึงถือว่าคอนกรี ตทรงกระบอกมีความเหมือนจริ งมากกว่าคอนกรี ตทรงลูกบาศก์ที่ทิศทางการ
เทคอนกรี ต นอกจากนี้ คอนกรี ตรู ป ทรงกระบอกยังมี ผลกระทบจากขนาดของหิ นน้อยกว่า และการ
กระจายของหน่ วยแรงสม่ าเสมอกว่าคอนกรี ตทรงลู กบาศก์ เนื่ องจากมี ผลกระทบของการยึดที่ ปลาย
ด้านบนและด้านล่างของคอนกรี ตในระหว่างการทดสอบน้อยกว่า (ชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2551)
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 4

การเตรี ยมตัวอย่างทดสอบรู ป ทรงกระบอกก่ อนเข้าเครื่ องกดเพื่ อหาค่ ากาลังอัด จะต้องท าผิว


ด้านรับแรงอัดให้เรี ยบเพื่อสามารถกระจายแรงอัดได้สม่ าเสมอเต็มพื้นที่ หน้าตัดขณะทดสอบ ซึ่ งส่ วน
ใหญ่ใช้วิธีเคลือบผิวด้วยกามะถัน (Capping) เป็ นไปตามมาตรฐาน ASTM C 617 หากผิวตัวอย่างทดสอบ
ไม่เรี ยบหรื อเอียงเพียง 0.25 มิลลิ เมตร อาจทาให้กาลังอัดของคอนกรี ตลดลงได้ถึงร้ อยละ 33 และความ
หนาของ Capping ควรมีความหนาประมาณ 1.5 ถึง 3.0 มิลลิเมตร หาก Capping หนามากเกินไปจะทาให้
กาลังอัดของคอนกรี ตลดลง (ชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2540) การทาแท่งคอนกรี ตทดสอบให้ผิวเรี ยบด้วยการ
เคลือบผิวด้วยกามะถันก็เพื่อมิให้มีผลกระทบโดยตรงต่อผลการทดสอบกาลังอัดในการประเมินคุณภาพ
ของคอนกรี ต งานศึกษาผลกระทบการใช้แผ่นยางแทนกามะถันเคลื อบผิวตามมาตรฐาน ASTM C 617
ในการทดสอบกาลังอัดของคอนกรี ต โดยใช้คอนกรี ตที่มีกาลังอัด 180 กก./ซม.2, 240 กก./ซม.2 และกาลัง
อัด 320 กก./ซม.2 เป็ นขอบเขตในการศึกษา และแผ่นยางที่ใช้มีความหนาประมาณ 15 มิลลิเมตร ได้มา
จากยางล้อรถบรรทุ ก ที่ ห มดสภาพใช้งานแล้ว แต่ ย งั คงมี ค วามยืดหยุ่น ตัว และมี ค วามแข็ง (shore A)
เท่ ากับ 65 จากการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM D 2240 ผลการทดสอบพบว่าการใช้แผ่นยางรองผิว
คอนกรี ตในการทดสอบกาลังอัดมี ผลให้กาลังอัดเฉลี่ ยสู งกว่ากลุ่มตัวอย่างทดสอบตามมาตรฐานที่ ใช้
กามะถันเคลื อบผิวคอนกรี ตร้อยละ 7.7 ดังนั้น การทดสอบกาลังอัดของคอนกรี ตโดยใช้แผ่นยางรองผิว
คอนกรี ตจะใช้ตวั คูณปรับแก้ค่ากาลังอัดเท่ากับ 0.923 เพื่อให้ได้ค่ากาลังอัดเทียบเท่ากับการทดสอบตาม
มาตรฐาน ขณะที่กลุ่มตัวอย่างทดสอบที่ ไม่ใช้วสั ดุ ใดๆ เคลื อบผิวคอนกรี ตมีกาลังอัดเฉลี่ ยลดลงต่ ากว่า
กลุ่มตัวอย่างทดสอบตามมาตรฐานร้อยละ 18.5 ถึงร้อยละ 25.7 เนื่องจากความไม่ราบเรี ยบของผิวตัวอย่าง
ทดสอบหรื อผิวตัวอย่างทดสอบมีความลาดเอียง จึงมีความเป็ นไปได้ที่จะใช้แผ่นยางจากล้อรถบรรทุก
แทนกามะถันเคลือบผิวในการทดสอบกาลังอัดของคอนกรี ต (สาโรจน์ ดารงศีล, 2559) ตัวอย่างทดสอบ
ทั้ง 3 กลุ่ม และแผ่นยางที่ใช้ในการศึกษาวิจยั แสดงในรู ปที่ 1.4

รู ปที่ 1.4 ตัวอย่างทดสอบและแผ่นยางรองผิวทดสอบกาลังอัด


คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 5

1.1.2 กำลังดึงของคอนกรี ต การทดสอบแรงดึงของคอนกรี ตโดยตรงจากการดึงตัวอย่างทดสอบ


ลักษณะเดียวกับการทดสอบเหล็กเสริ มไม่มีมาตรฐานทดสอบเนื่ องจากทาได้ยาก เกิดหน่วยแรงจากการ
ยึดจับตัวอย่างทดสอบ และเกิดการแตกหักบริ เวณหัวจับ ทาให้ผลทดสอบที่ได้คลาดเคลื่อนจากความเป็ น
จริ ง โดยทัว่ ไปจึงนิ ยมใช้การทดสอบทางอ้อมสองวิธีคือ วิธีทดสอบแรงดึงแบบผ่าซี ก และการทดสอบ
โดยการดัด ซึ่งสามารถทาได้สะดวกรวดเร็ ว การทดสอบแรงดึงแบบผ่าซี ก (Splitting tensile test) เป็ นการ
ทดสอบตามมาตรฐาน ASTM C 496 ใช้ก้อนตัวอย่างทดสอบทรงกระบอกมาตรฐาน วางตามยาวใน
แนวนอนบนเครื่ องทดสอบกาลังอัด และใช้ไม้อดั หนา 3 มิลลิเมตร วางตามยาวของตัวอย่างทดสอบ เพื่อ
เป็ นตัวส่ งถ่ายแรง ให้แรงอัดจนกระทัง่ ตัวอย่างทดสอบแตกตามแนวเส้นผ่านศูนย์กลาง ดังรู ปที่ 1.5

รู ปที่ 1.5 การทดสอบแรงดึงแบบวิธีผา่ ซี ก

โดยทั่ว ไปคอนกรี ต ธรรมดาจะมี ก าลัง ดึ ง ที่ ค านวณได้จ ากการทดสอบแบบผ่ า ซี ก


ประมาณร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 12 ของกาลังอัดคอนกรี ต อย่างไรก็ตาม งานศึกษาวิจยั สมบัติเชิ งกลของ
คอนกรี ตที่ใช้ส่วนผสมของกากแคลเซี ยมคาร์ ไบด์และเถ้าถ่านหิ นเป็ นวัสดุประสาน โดยใช้อตั ราส่ วนกาก
แคลเซี ยมคาร์ ไบด์ต่อเถ้าถ่านหิ นเท่ากับ 30:70 โดยน้ าหนัก บดละเอียดจนมีอนุภาคค้างตะแกรงมาตรฐาน
เบอร์ 325 น้อยกว่าร้ อยละ 5 โดยน้ าหนัก จากนั้น น าไปผสมกับ มวลรวมและวัส ดุ ผ สมอื่ น ในการท า
คอนกรี ตและทาการหล่ อตัวอย่างทดสอบเพื่ อทดสอบกาลังอัดและกาลังดึ งของคอนกรี ต ผลการวิจยั
พบว่าคอนกรี ตที่ใช้กากแคลเซี ยมคาร์ ไบด์ผสมเถ้าถ่านหิ นเป็ นวัสดุประสานเท่ากับ 450 กก./ม.3 และใช้
อัตราส่ วนน้ าต่อวัสดุ ประสานเท่ากับ 0.45 มีกาลังดึ งจากการทดสอบแบบผ่าซี กที่อายุ 28 วัน ร้ อยละ 19
ของกาลังอัด ซึ่ งสู งกว่าคอนกรี ตธรรมดาทัว่ ไป (ธนพล เหล่าสมาธิ กุล และชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2551)
การทดสอบแรงดึงของคอนกรี ตโดยวิธีการดัด (Flexural tensile test) เป็ นการทดสอบ
ตามมาตรฐาน ASTM C 78 ใช้ตวั อย่างทดสอบในรู ปของคานคอนกรี ตขนาด 15x15x50 เซนติเมตร ให้
แรงดัดตัวอย่างทดสอบจากการกดน้ าหนักแบบ 3 จุด (Third point loading) จนกระทัง่ ตัวอย่างทดสอบ
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 6

แตกหัก ดังรู ปที่ 1.6 คานวณหาหน่วยแรงดึงซึ่ งเกิดสู งสุ ดที่บริ เวณท้องคาน ซึ่ งเรี ยกว่าโมดูลสั การแตกร้าว
(Modulus of rupture; fr) มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ว.ส.ท. 1008 กาหนดค่าโมดูลสั การ
แตกร้าว : 𝑓𝑟 = 2.0√𝑓𝑐′ (กก./ซม.2) ในรู ปของความสัมพันธ์ระหว่างกาลังอัดกับกาลังดัดของคอนกรี ต
ซึ่ งจากการศึกษาผลกระทบของปูนซี เมนต์ผสมเถ้าชานอ้อยและเถ้าลอยในลักษณะบดร่ วมต่อคุ ณสมบัติ
ทางกายภาพและเชิ งกลของคอนกรี ต พบว่า เถ้าชานอ้อยผสมเถ้าลอยในอัตราส่ วน 60:40 โดยน้ าหนัก มี
ความละเอียดค้างตะแกรงเบอร์ 325 ไม่เกินร้อยละ 1 โดยน้ าหนัก สามารถใช้แทนที่ปูนซี เมนต์ในการทา
คอนกรี ตได้ถึงร้อยละ 30 โดยน้ าหนักของวัสดุประสาน โดยคอนกรี ตยังคงมีความสัมพันธ์ระหว่างกาลัง
อัดกับ ก าลังดัดสู งกว่าค่ ากาหนดมาตรฐาน ว.ส.ท. (สาโรจน์ ดารงศี ล และสุ วิมล สัจ จวาณิ ชย์, 2550)
สอดคล้องกับการศึกษาผลกระทบของการใช้เถ้าแกลบผสมเถ้าลอยต่อคุ ณสมบัติเชิ งกลของคอนกรี ต
พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างกาลังอัดกับกาลังดัดของคอนกรี ตสู งกว่ามาตรฐาน ว.ส.ท. เช่นกัน (สาโรจน์
ดารงศีล, 2558) จึงมีความเป็ นไปได้ที่จะใช้เถ้าชานอ้อยและเถ้าแกลบในงานคอนกรี ตโครงสร้าง

รู ปที่ 1.6 การทดสอบแรงดึงโดยวิธีการดัด

1.1.3 โมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรี ต (Ec) เป็ นคุณสมบัติที่สาคัญอีกอันหนึ่ งของคอนกรี ต เพราะ


ใช้ประกอบการคานวณออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และหาค่าการโก่ งตัวของโครงสร้ าง
คอนกรี ตไม่ แสดงพฤติก รรมเป็ นวัสดุ ที่ มี ความยืดหยุ่นอย่างแท้จริ ง เนื่ องจากการแตกร้ าวภายในเนื้ อ
คอนกรี ต ที่ เพิ่ ม ขึ้ น ภายใต้น้ าหนั ก ที่ เพิ่ ม ขึ้ น สั ง เกตได้จ ากความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่า งหน่ ว ยแรงอัด กับ
ความเครี ยดของคอนกรี ตภายใต้แรงอัดขณะเริ่ มต้นทดสอบจะเป็ นเส้นโค้งเล็กน้อย และจะโค้งเพิ่มมาก
ขึ้นตามแรงอัดที่เพิ่มขึ้น การทดสอบค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ ของคอนกรี ต เป็ นไปตามมาตรฐาน ASTM C 469
ใช้ตวั อย่างทดสอบรู ปทรงกระบอก โดยติ ดเครื่ องมื อที่ เรี ยกว่า Compressometer เพื่อวัดการหดตัวของ
ตัวอย่างทดสอบขณะที่ ใ ห้ แรงอัดบนตัวอย่างทดสอบ กราฟความสั ม พัน ธ์ ระหว่างหน่ วยแรงอัดกับ
ความเครี ยดของคอนกรี ตและการติด Compressometer ในตัวอย่างทดสอบแสดงในรู ปที่ 1.7
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 7

(คู่มือการทดสอบหิ น ทราย และคอนกรี ต, 2552)


รู ปที่ 1.7 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงอัดกับความเครี ยดของคอนกรี ตและการติด Compressometer

ในการออกแบบทัว่ ไป ACI Building Code 318 และ ว.ส.ท. 6202 ก าหนดค่ าโมดู ล ัส
ยืดหยุ่น ของคอนกรี ต (Ec) ค านวณจาก 4,270w1.5 fc โดยที่ fc มี หน่ วย เป็ น กก./ซม.2 ส าหรั บ
คอนกรี ตธรรมดาให้ ใช้น้ าหนัก (w) เท่ ากับ 2.323 ตัน /ม.3 ดัง นั้น เมื่ อแทนค่ า (w) ลงในสู ต รจะได้ ค่ า
โมดูลสั ยืดหยุน่ ของคอนกรี ต : Ec  15,100 fc
งานวิจยั การใช้เถ้าชีวมวลในงานคอนกรี ต ศึกษาผลกระทบของเถ้าชานอ้อยบดละเอียด
ต่ อก าลัง ประลัยและโมดู ล ัส ยืดหยุ่น ของคอนกรี ต โดยใช้เถ้าชานอ้อ ยที่ มี ค วามละเอี ย ดค้างตะแกรง
มาตรฐานเบอร์ 325 ร้อยละ 0.42 โดยน้ าหนัก ผสมแทนที่ปูนซี เมนต์ร้อยละ 10 ถึงร้อยละ 50 โดยน้ าหนัก
ของวัส ดุ ป ระสาน ผลการศึ ก ษาพบว่าสามารถใช้เถ้าชานอ้อยแทนที่ ปูน ซี เมนต์ไ ด้ถึ งร้ อยละ 30 โดย
น้ าหนักของวัสดุประสาน โดยที่คอนกรี ตผสมเถ้าชานอ้อยยังคงมีกาลังอัดสู งกว่าคอนกรี ตควบคุม และมี
ค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ สู งกว่าค่าที่มาตรฐาน ว.ส.ท.แนะนา โดยไม่มีผลกระทบในแง่ลบต่อค่าโมดูลสั ยืดหยุน่
จากการใช้เถ้าชานอ้อยในงานคอนกรี ต (อรรคเดช ฤกษ์พิบูลย์ และชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล , 2551) เถ้าชี วมวล
ซึ่ งเป็ นผลพลอยได้จากการใช้วสั ดุ ทางการเกษตรเป็ นเชื้ อเพลิ ง ได้แก่ เถ้าแกลบ เถ้าชานอ้อย และเถ้า
ปาล์มน้ ามัน มีคุณสมบัติเป็ นวัสดุปอซโซลานสามารถใช้แทนที่ปูนซี เมนต์บางส่ วนในการทาคอนกรี ตได้
โดยที่ ค อนกรี ตยังคงมี คุ ณ สมบัติเชิ งกลที่ ดี อย่างไรก็ ตาม การน าเถ้าชี วมวลไปใช้ในงานโครงสร้ าง
คอนกรี ตเสริ มเหล็ก ยังต้องการงานวิจยั อี กมากทั้งด้านคุ ณสมบัติเชิ งกล และความคงทนของคอนกรี ต
ตลอดจนการทดสอบพฤติกรรมในการรับน้ าหนักของโครงสร้างคอนกรี ต เพื่อหาค่าพารามิเตอร์ ต่างๆ ที่
ใช้สาหรับการออกแบบต่อไป
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 8

1.2 เหล็กเสริม
เหล็กเสริ มที่นิยมใช้ในงานคอนกรี ตเสริ มเหล็กเป็ นเหล็กกล้าละมุม (Mild steel) เป็ นโลหะผสม
เหล็กกับคาร์ บอนด์และมีส่วนผสมของธาตุอื่นบ้างพอประมาณ เช่น กามะถัน แมงกานีส และฟอสฟอรัส
แต่มีปริ มาณคาร์ บอนด์ต่าประมาณร้อยละ 0.30โดยน้ าหนัก จึงเป็ นเหล็กกล้าคาร์ บอนด์ต่าที่มีความอ่อน
แต่มี ความเหนี ยวและแกร่ งมาก เหล็กผลิ ตขึ้ นรู ป แบบรี ดร้ อน (Hot–rolledprocess) โดยการหลอมแท่ ง
เหล็กแล้วรี ดด้วยลูกกลิ้งขึ้นรู ปตามความต้องการ เหล็กเสริ มคอนกรี ตที่ใช้ในงานโครงสร้างมีท้ งั ลักษณะ
เส้ น กลมผิว เรี ย บ (Round bars; RB) และเหล็ ก ข้อ อ้อ ย (Deformed bars; DB) ดังรู ป ที่ 1.8 โดยมี ห ลาย
ขนาดให้เลื อกใช้ตามความเหมาะสม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสาหรับมวล
ต่อเมตรของเหล็กเสริ มทั้งสองที่ใช้ในงานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก แสดงในตารางที่ 1.1

รู ปที่ 1.8 เหล็กกลมผิวเรี ยบและเหล็กข้ออ้อย

ตารางที่ 1.1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนสาหรับมวลต่อเมตรของเหล็กเสริ ม


ชื่อขนาด มวลต่อเมตร เกณฑ์ความคลาดเคลื่อน
(เส้นผ่านศูนย์กลาง; มม.) (กิโลกรัม) สาหรับมวลต่อเมตร
เหล็กเส้นกลม เหล็กข้ออ้อย เฉลี่ยร้อยละ แต่ละเส้นร้อยละ
RB 6 - 0.222 ± 5.0 ± 10.0
RB 9 - 0.499
RB 12 DB 12 0.888
RB 15 - 1.387
- DB 16 1.578
RB 19 - 2.226 ± 3.5 ± 6.0
- DB 20 2.466
RB 22 DB 22 2.984
RB 25 DB 25 3.853
RB 28 DB 28 4.834
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 9

คุณสมบัติที่สาคัญของเหล็กเสริ ม ได้แก่ กาลังคราก (Yield strength; fy) กาลังประลัย (Ultimate


strength; fu) ระยะยื ด (Elongation) และโมดู ล ั ส ยื ด หยุ่ น ของเหล็ ก เสริ ม (Young’s modulus; Es) ซึ่ ง
เหล็กเส้นกลมผิวเรี ยบที่ผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. 20–2543) ชั้นคุ ณภาพ SR 24 และเหล็ก
ข้ออ้อยตามมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก. 24–2548) ชั้นคุ ณภาพ SD 30, SD 40 และ SD 50 จะต้องมีกล
สมบัติเป็ นไปตามที่ระบุไว้ในตารางที่ 1.2 และมีความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรง (Stress) กับหน่วยการ
ยืดตัว (Strain) ของเหล็กเสริ มซึ่งได้จากการทดสอบกาลังต้านทานแรงดึงของเหล็กเสริ ม ดังรู ปที่ 1.9

ตารางที่ 1.2 กลสมบัติของเหล็กเสริ มตามมาตรฐานอุตสาหกรรม


กลสมบัติ ชนิดของเหล็กเสริ ม
เหล็กเส้นกลม เหล็กข้ออ้อย
ชั้นคุณภาพ SR 24 SD 30 SD 40 SD 50
ความต้านทานแรงดึงที่จุดคราก (fy) ไม่นอ้ ยกว่า; กก./ซม.2 2,400 3,000 4,000 5,000
ความต้านทานแรงดึงสูงสุด (fu) ไม่นอ้ ยกว่า; กก./ซม.2 3,900 4,900 5,700 6,300
ความยืดในช่วง 5 d ไม่นอ้ ยกว่า; ร้อยละ 21 17 15 13
ค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ (Es); กก./ซม.2 2,040,000

www.nde-ed.org
รู ปที่ 1.9 ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรง (Stress) กับหน่วยการยืดตัว (Strain) ของเหล็กเสริ ม
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม 10

เหล็ ก เสริ มในงานโครงสร้ า งคอนกรี ตเสริ มเหล็ ก ต้ อ งมี คุ ณ สมบั ติ ต รงตามมาตรฐาน


ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ในทางปฏิบตั ิ เพื่อให้แน่ ใจว่าเหล็กเสริ มมี ขนาด มีคุณภาพตามที่ กาหนดไว้ใน
แบบรู ปรายการ และเป็ นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรมหรื อไม่ จาเป็ นต้องทดสอบคุณสมบัติของเหล็ก
เสริ มก่อนนามาใช้งาน มาตรฐานอุตสาหกรรมมีเกณฑ์การชักตัวอย่างสาหรับทดสอบโดยวิธีการสุ่ มจาก
เหล็ ก เสริ ม มัด ต่ า งๆ ในรุ่ น เดี ย วกัน 5 มัด มัด ละ 1 เส้ น เพื่ อ ท าการตรวจสอบความยาว เมื่ อ ท าการ
ตรวจสอบความยาวแล้วให้ตดั ส่ วนที่ตรงเป็ นชิ้นตัวอย่าง เส้นละ 1 ชิ้ นตัวอย่าง ความยาวประมาณ 1.50
เมตร เพื่อตรวจสอบลักษณะทัว่ ไป และหาเกณฑ์ความคลาดเคลื่ อนสาหรับ มวลต่อเมตร จากนั้นให้นา
เหล็กไปทดสอบกลสมบัติต่อไป
หนังสื อมาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โดยวิธีหน่ วยแรงใช้งาน และข้อกาหนด
มาตรฐานวัสดุ และการก่อสร้ างสาหรับโครงสร้างคอนกรี ต โดยคณะกรรมการวิชาการสาขาวิศวกรรม
โยธา วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รู ปที่ 1.10 อธิ บายคุณลักษณะมาตรฐาน
ของวัสดุท้ งั คอนกรี ตและเหล็กเสริ มไว้โดยละเอียด จึงเหมาะกับ นิ สิต และนักศึกษา ที่ตอ้ งศึกษาเพิ่มเติม
เพื่อใช้อา้ งอิ งตลอดการศึกษาวิชาการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก นอกจากนี้ ยังเหมาะกับ
วิศวกรควบคุมงาน และผูเ้ กี่ยวข้องในงานก่อสร้างที่จะใช้เป็ นคู่มือหรื อเป็ นมาตรฐานกลางในการทางาน
เพื่อให้ได้โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่ดี มีความมัน่ คงแข็งแรง และปลอดภัยในการใช้งาน

รู ปที่ 1.10 หนังสื อมาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก


การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 11

บทที่ 2
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ

การค านวณออกแบบโครงสร้ างมี ส่ วนประกอบที่ ส าคัญ สองส่ วน ส่ วนแรกคื อการวิเคราะห์


โครงสร้าง (Structural analysis) ซึ่ งเป็ นขั้นตอนที่ทาให้ทราบถึงพฤติกรรมทางโครงสร้างที่ตอบสนองต่อ
น้ าหนักบรรทุ ก หรื อแรงต่างๆ ที่ กระทากับโครงสร้ างนั้น เช่ น แรงปฏิ กิริยา แรงเฉื อน และโมเมนต์ดดั
เป็ นต้น ส่ วนที่สองคือการออกแบบโครงสร้าง (Structural design) เพื่อให้ได้ขนาดโครงสร้างที่สามารถ
ต้านทานแรงต่างๆ ได้อย่างมี เสถี ยรภาพและสามารถใช้งานได้อย่างมัน่ คงปลอดภัย เนื้ อหาในบทนี้ จะ
กล่าวถึง น้ าหนักบรรทุกและแรงต่างๆ ที่กระทากับโครงสร้าง การสร้างแบบจาลองทางโครงสร้าง การจัด
วางน้ าหนักบรรทุ ก และการวิเคราะห์ โครงสร้าง ตลอดจนหลักการออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตเสริ ม
เหล็ก สมมติฐานในการออกแบบ และค่าคงที่สาหรับการออกแบบ

2.1 นา้ หนักบรรทุกและแรงทีก่ ระทากับโครงสร้ าง


น้ าหนักบรรทุ กและแรงที่ กระท ากับโครงสร้ างโดยทัว่ ไปจะพิ จารณาในรู ปของแรงแบบสถิ ต
(Static loads) ซึ่ งอาจมีลกั ษณะเป็ นน้ าหนักแบบจุด (Point load) และน้ าหนักแผ่แบบสม่าเสมอ (Uniform
load) ก็ ไ ด้ น้ าหนัก บรรทุ ก และแรงที่ ก ระท ากับ โครงสร้ าง ประกอบด้วย น้ าหนัก บรรทุ ก คงที่ (Dead
loads) น้ าหนั ก บรรทุ ก จร (Live loads) แรงลม (Wind loads) แรงกระแทก (Impact loads) และแรง
แผ่นดินไหว (Earthquake loads) ในการคานวณออกแบบโครงสร้างต้องพิจารณาให้ส่วนของโครงสร้ าง
นั้นมีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรับน้ าหนักบรรทุกได้อย่างปลอดภัยตลอดอายุใช้งาน
2.1.1 นา้ หนักบรรทุกคงที่ หรื อนา้ หนักบรรทุกตายตัว (Dead loads) หมายถึง น้ าหนักบรรทุกที่มี
ต าแหน่ ง ของการกระท าคงที่ ต ลอดเวลาและไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงน้ า หนั ก ได้แ ก่ น้ าหนั ก ของตัว
โครงสร้างเอง เช่ น น้ าหนักของแผ่นพื้น คาน เสา เป็ นต้น หรื อน้ าหนักของวัสดุ อุปกรณ์ อาคารต่างๆ ที่
ติดตั้งอยู่กบั ที่ เช่ น ผนัง วัสดุ ปูพ้ืน ฝ้ าเพดาน และวัสดุ มุงหลังคา เป็ นต้น โดยปกติจะสมมติให้น้ าหนัก
บรรทุกคงที่เป็ นน้ าหนักแผ่สม่าเสมอกระทาบนส่ วนโครงสร้าง ซึ่ งอาจมีหน่ วยน้ าหนักเป็ น กิ โลกรัมต่อ
ตารางเมตร (กก./ม.2) ส าหรั บ ค านวณออกแบบแผ่น พื้ น และมี ห น่ วยเป็ น กิ โลกรั ม ต่ อเมตร (กก./ม.)
สาหรับคานวณออกแบบคาน ตารางที่ 2.1 แสดงค่าโดยประมาณของน้ าหนักบรรทุ กคงที่ตามชนิ ดของ
วัสดุก่อสร้างที่ใช้ในการคานวณออกแบบโครงสร้าง
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 12

ตารางที่ 2.1 น้ าหนักของวัสดุก่อสร้าง (มงคล จิรวัชรเดช, 2549)


น้ าหนักวัสดุ กก./ม.3
คอนกรี ตปกติ 2,300
คอนกรี ตเสริ มเหล็ก 2,400
เหล็ก 7,850
อิฐ 1,900
ไม้ 500–1,200
น้ าหนักผนัง กก./ม.2
ผนังก่ออิฐมอญครึ่ งแผ่นฉาบปูน 180
ผนังก่ออิฐมอญเต็มแผ่น 360
ผนังอิฐบล็อก 100 – 200
ฝาไม้ ไม้อดั รวมเคร่ า 30 – 50
น้ าหนักวัสดุปูผิวและวัสดุมุงหลังคา กก./ม.2
กระเบื้องปูพ้นื 100
หิ นอ่อน หินแกรนิต 150
ซีเมนต์ขดั มัน 50
แผ่นพื้นสาเร็ จรู ปรวมคอนกรี ตทับหน้า หนา 10 เซนติเมตร 240 – 260
พื้นไม้ รวมตง 30
กระเบื้องลอนคู่ 14
กระเบื้องซีแพคโมเนีย 50
สังกะสี เหล็กรี ดลอน 5
ฝ้ าเพดาน 14 – 25

2.1.2 นา้ หนักบรรทุกจร (Live loads) หมายถึง น้ าหนักบรรทุกที่มีการเปลี่ยนขนาด และตาแหน่ง


ที่กระทากับโครงสร้ างตามกาลเวลา หรื อน้ าหนักบรรทุกมีการเคลื่ อนย้ายไปมาได้ เช่ น น้ าหนักคนหรื อ
สิ่ งของบนอาคาร และน้ าหนักรถบรรทุกบนสะพาน ในที่จะกล่าวถึ งเฉพาะน้ าหนักบรรทุกจรบนอาคาร
(Building loads) เป็ นน้ าหนักบรรทุ กจรที่กระทาบนพื้นอาคาร โดยสมมติให้แผ่กระจายแบบสม่ าเสมอ
และขนาดของน้ าหนั ก ขึ้ นอยู่ ก ั บ ลั ก ษณะการใช้ ง านและประเภทของอาคาร ข้ อ บั ญ ญั ติ ข อง
กรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2522 กาหนดให้ใช้น้ าหนักบรรทุกจรของอาคารแต่ละประเภท ดังตารางที่ 2.2
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 13

ตารางที่ 2.2 น้ าหนักบรรทุกจรสาหรับอาคาร (ข้อบัญญัติของกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2522)


ลักษณะการใช้งานและประเภทของอาคาร น้ าหนัก
หลังคา 50 กก./ม.2
กันสาด 100 กก./ม.2
ที่พกั อาศัย ห้องน้ า ห้องส้วม 150 กก./ม.2
อาคารชุด หอพัก โรงแรม 200 กก./ม.2
สานักงาน ธนาคาร 250 กก./ม.2
อาคารพาณิ ชย์ มหาวิทยาลัย โรงเรี ยน 300 กก./ม.2
ห้างสรรพสิ นค้า โรงมหรสพ หอประชุม
ภัตตาคาร ที่จอดรถหรื อที่เก็บรถยนต์นงั่ 400 กก./ม.2
คลังสิ นค้า พิพิธภัณฑ์ อัฒจันทร์ โรงงานอุตสาหกรรม
โรงพิมพ์ ห้องเก็บเอกสาร 500 กก./ม.2
ห้องเก็บหนังสื อของหอสมุด 600 กก./ม.2
ที่จอดหรื อที่เก็บรถบรรทุกเปล่า และรถอื่นๆ 800 กก./ม.2

2.1.3 แรงลม (Wind loads) เมื่ อที่ ต้ งั ของโครงสร้ างมี ทิศทางขวางทางลม พลังงานจลน์ของลม
(Kinetic energy) จะเปลี่ยนเป็ นพลังงานศักย์ (Potential energy) เกิดเป็ นแรงลม (Wind loads) กระทากับ
โครงสร้าง ขนาดของแรงลมจะขึ้นอยูก่ บั ความหนาแน่น (Density) ความเร็ วลม (Velocity) ซึ่งแปรเปลี่ยน
ตามสภาพพื้ น ที่ และความสู ง เหนื อ พื้ น ดิ น ตลอดจนมุ ม ที่ ก ระท าและรู ป ร่ างของโครงสร้ าง ในการ
ออกแบบให้โครงสร้ างรับ แรงลมสามารถค านวณค่ าแรงลมโดยวิธี ส ถิ ต (Static) ซึ่ งสมมติ ให้แรงลม
กระท าอย่า งสม่ า เสมอต่ อ โครงสร้ า งด้า นรั บ แรงลม และแรงลมสามารถกระท าได้ทุ ก ทิ ศ ทาง โดย
American Society of Civil Engineers (ASCE) เสนอแรงลม (q) ที่กระทากับพื้นที่ โครงสร้ างและตั้งฉาก
กับทิศทางความเร็ วลม ดังนี้
1 2
q 
2

เมื่อ p = ความหนาแน่นของอากาศ (1.2244 กก./ม.3)


V = ความเร็ วลม (ไมล์/ชัว่ โมง หรื อ กิโลเมตร/ชัว่ โมง)
หรื อ q( psf )  0.00256[ (mph)]2

q(kg / m2 )  0.00481[ (km / h)]2


การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 14

กรุ งเทพมหานครได้ออกข้อบัญญัติ พ.ศ. 2522 สาหรับใช้คานวณออกแบบโครงสร้าง


เนื่องจากแรงลมซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความสู งของอาคาร ดังแสดงในตารางที่ 2.3

ตารางที่ 2.3 แรงลมสาหรับส่ วนของอาคาร (ข้อบัญญัติของกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2522)


ความสูงอาคาร น้ าหนัก
อาคารที่สูงไม่เกิน 10 เมตร 50 กก./ม.2
อาคารที่สูงไม่เกิน 10 เมตรแต่ไม่เกิน 20 เมตร 80 กก./ม.2
อาคารที่สูงไม่เกิน 20 เมตรแต่ไม่เกิน 40 เมตร 120 กก./ม.2
อาคารที่สูงเกิน 40 เมตร 160 กก./ม.2

2.1.4 แรงกระแทก (Impact loads) การออกแบบโครงสร้ างสะพานหรื อ อาคารจอดรถต้อ ง


คานึ งถึงแรงกระแทก เนื่ องจากความไม่ราบเรี ยบของพื้นผิวและมีรอยต่อระหว่างสะพานกับคอสะพาน
หรื อทางลาดเชื่ อมรอยต่อระหว่างชั้นของอาคารจอดรถ เป็ นต้น โดยพิจารณาเพิ่มค่าน้ าหนักบรรทุกจร
ของรถบรรทุกด้วยตัวคูณประกอบแรงกระแทก (Impact factor: I) ดังนี้

50
I  x100 แต่ไม่เกินร้อยละ30
L  125

เมื่อ L = ความยาวของสะพาน มีหน่วยเป็ นฟุต

2.1.5 แรงแผ่ นดิ นไหว (Earthquake loads) แผ่นดินไหวทาให้เกิ ดแรงสั่นสะเทือนก่อให้เกิดแรง


กระทาทางด้านข้างของโครงสร้างอาคาร โดยขนาดของแรงแผ่นดิ นไหวขึ้นอยู่กบั ขนาดและชนิ ดของ
ความเร่ ง ของพื้ น ดิ น มวลน้ า หนัก และความแกร่ ง (Stiffness) ของโครงสร้ าง การวิเคราะห์ ห าแรง
เนื่องจากแผ่นดินไหวโดยวิธีสถิต (Static) ซึ่ งเป็ นค่าโดยประมาณที่กระทาต่อโครงสร้างทางด้านข้าง หรื อ
ค่าแรงเฉื อน (V) ที่เกิดขึ้นที่ฐานรากของโครงสร้าง คานวณจากสมการดังนี้

V  ZIKCSW

เมื่อ Z = Seismic coefficient ขึ้นอยูก่ บั เขตแผ่นดินไหว (Earthquake zone)


I = ตัวคูณแสดงความสาคัญในการใช้งาน, K = ตัวคูณซึ่งขึ้นกับรู ปร่ างโครงสร้าง
C = ค่าสัมประสิ ทธิ์การแกว่งของโครงสร้าง, W = น้ าหนักของโครงสร้าง
S = ค่าสัมประสิ ทธิ์ซ่ ึงขึ้นกับชนิดของชั้นดินที่รองรับโครงสร้าง
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 15

2.2 แบบจาลองทางโครงสร้ าง
การสร้ างแบบจาลองทางโครงสร้ างที่สอดคล้องกับโครงสร้างจริ งจะช่ วยให้ได้ผลการวิเคราะห์
และการตอบสนองพฤติกรรมทางโครงสร้างต่อการรับน้ าหนักถูกต้องใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง ระบบ
ของโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็กทัว่ ไป ประกอบด้วย พื้ น คาน เสา และฐานราก น้ าหนักหรื อแรงที่
กระทากับโครงสร้ างอาคารเริ่ มจากน้ าหนักบรรทุกคงที่ (DL) และน้ าหนักบรรทุกจร (LL) ที่กระทากับ
พื้นในแต่ละชั้นแล้วถ่ายทอดน้ าหนักต่อไปยังคานรองรับ เสา และฐานราก ตามลาดับ ดังรู ปที่ 2.1

รู ปที่ 2.1 โครงสร้างอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

ตัวอย่างการสร้างแบบจาลองทางโครงสร้าง จากรู ปที่ 2.2 เป็ นแบบผังโครงสร้างคอนกรี ตเสริ ม


เหล็ก เมื่อพิจารณาคาน B1, B7 และคาน B9 จะเห็ นว่าคาน B1 เป็ นคานช่ วงเดี ยวและเป็ นคานซอยหรื อ
คานฝากมีฐานรองรับเป็ นคานหลัก (คาน B8 และคาน B11 เป็ นคานหลัก) จึงแสดงเป็ นคานช่วงเดียว ดัง
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 16

รู ปที่ 2.3 (ก) ส่ วนคาน B7 เป็ นคานต่อเนื่ องสองช่วงและเป็ นคานซอยหรื อคานฝาก มีฐานรองรับเป็ นคาน
หลักเช่นกัน (คาน B10, คาน B11 และคาน B8 เป็ นคานหลัก) จึงแสดงเป็ นคานต่อเนื่ องสองช่วง ดังรู ปที่
2.3 (ข) ขณะที่ คาน B9 เป็ นคานต่อเนื่ องสองช่ วงและเป็ นคานหลักที่ มีฐานรองรับเป็ นเสา (C3) จึงควร
พิจารณาเป็ นโครงข้อแข็ง (Rigid frame) ดังรู ปที่ 2.3 (ค) (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)

รู ปที่ 2.2 ผังโครงสร้างอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก


การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 17

2.50 ม.

(ก) คาน B1

w w

3.50 ม. 2.50 ม.

(ข) คาน B7

P (B7)

w w w

1.00 ม. 4.00 ม. 3.50 ม.

(ค) คาน B9

รู ปที่ 2.3 แบบจาลองทางโครงสร้าง คาน B1, B7 และคาน B9

2.3 การจัดวางนา้ หนักบรรทุก


เมื่อสร้างจาลองแบบทางโครงสร้างและคานวณหาน้ าหนักบรรทุกที่กระทากับโครงสร้างแล้ว นา
น้ าหนักบรรทุกมาจัดวางบนโครงสร้างจาลองเพื่อวิเคราะห์การตอบสนองของแรงที่กระทากับโครงสร้าง
ได้แก่ แรงปฏิกิริยา แรงเฉื อน โมเมนต์ดดั และแรงบิด (ถ้ามี) สิ่ งสาคัญคือการจัดวางน้ าหนักบรรทุกให้ได้
ค่าสู งสุ ดส าหรั บ ใช้ออกแบบโครงสร้ างนั้น โดยทัว่ ไปน้ าหนัก บรรทุ กคงที่ (DL) ซึ่ งเป็ นน้ าหนัก ของ
โครงสร้างจะจัดวางเต็มทุกช่ วงของโครงสร้าง ดังรู ปที่ 2.4 (ก) ส่ วนการวางน้ าหนักบรรทุกจร (LL) ถ้า
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 18

ต้องการหาโมเมนต์บวก (+M) สู งสุ ดที่ช่วงกลางคานช่วงใดให้วางน้ าหนักเต็มช่วงโครงสร้างนั้นแล้วเว้น


ไว้ช่ วงหนึ่ ง (วางเต็ม ช่ วงเว้นช่ วง) สลับ กันไปตลอดความยาวของโครงสร้ าง ดังรู ป ที่ 2.4 (ข) กรณี ที่
ต้องการหาโมเมนต์ล บ (–M) สู ง สุ ดที่ บ ริ เวณจุ ด ต่ อ (ฐานรองรั บ ) ช่ วงใดให้ วางน้ าหนัก เต็ม สองช่ วง
โครงสร้ างนั้นแล้วเว้นช่ วงถัดมา และวางเต็มช่ วงเว้นช่ วงสลับกันไปตลอดความยาวของโครงสร้างนั้น
ดังรู ปที่ 2.4 (ค) อย่างไรก็ตาม ในกรณี ที่อตั ราส่ วนระหว่างน้ าหนักบรรทุกจรต่อน้ าหนักบรรทุกคงที่มีค่า
3 LL
ไม่เกิน (  0.75) อาจพิจารณารวมน้ าหนักบรรทุ กคงที่ และน้ าหนักบรรทุ กจร (DL+LL) แล้ววาง
4 DL
เต็มทุกช่ วงตลอดความยาวของโครงสร้าง เพื่อวิเคราะห์หาค่าสู งสุ ดของโมเมนต์บวก (+M) และโมเมนต์
ลบ (–M) ก็ได้ ดังรู ปที่ 2.4 (ง) (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)

DL

(ก) การวางน้ าหนักบรรทุกคงที่เต็มทุกช่วง

LL LL LL

+
M +
M +
M

(ข) โมเมนต์บวก (+M) สูงสุด

LL LL LL

M–

(ค) โมเมนต์ลบ (–M) สูงสุด


การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 19

w = DL + LL

+
M +
M

M
– –
M –
M
(ง) การวางน้ าหนักบรรทุกคงที่รวมกับน้ าหนักบรรทุกจรเต็มทุกช่วง

รู ปที่ 2.4 การจัดวางน้ าหนักบรรทุก

2.4 การวิเคราะห์ โครงสร้ าง


การวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อหาแรงปฏิ กิริยา แรงเฉื อน โมเมนต์ดดั และแรงบิด สาหรับนาไปใช้
ในการคานวณออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก เป็ นการวิเคราะห์ โครงสร้ างในช่ วงอี ล าสติ ก
(Elastic analysis) กล่าวคือ หน่ วยแรงที่เกิ ดขึ้นในโครงสร้ างมีค่าไม่เกิ นกว่าหน่ วยแรงพิกดั ยืดหยุ่นของ
วัสดุ และการเปลี่ ยนรู ปหรื อเปลี่ยนตาแหน่ งของโครงสร้างที่เกิ ดจากน้ าหนักบรรทุกถื อว่ามีค่าน้อยมาก
(Small deformation theory) เมื่อเทียบกับความยาวของโครงสร้าง กรณี ที่เป็ นโครงสร้างแบบดีเทอร์ มิเนท
(Statically determinate structure) ซึ่ งเป็ นโครงสร้างแบบง่ายสามารถวิเคราะห์หาแรงต่างๆ ได้ดว้ ยสมการ
สมดุ ล ( Fx  0,  Fy  0,  M  0) ส่ วนกรณี ที่ เป็ นโครงสร้ า งแบบอิ น ดี เทอร์ มิ เนท
(Statically indeterminate structures) ซึ่ งเป็ นโครงสร้างที่ไม่สามารถวิเคราะห์หาแรงต่างๆ ได้ดว้ ยสมการ
สมดุ ล เพี ย งอย่างเดี ย วจะใช้วิธี อื่ น ๆ ในการวิเคราะห์ ซึ่ งมี ห ลายวิธี เช่ น วิธี ส มการของสามโมเมนต์
(Three–moment equation) วิธีสมการของมุมและการโก่งตัว (Slope–deflection equation) วิธีการกระจาย
โมเมนต์ (Moment distribution method) และวิธีเมตริ ก (Matrix analysis method) เป็ นต้น
กรณี ที่โครงสร้างแบบอินดี เทอร์ มิเนทเป็ นพื้นหรื อคานต่อเนื่ องที่มีหน้าตัดคงที่ และมีช่วงตั้งแต่
สองช่ วงขึ้ น ไป มี ค วามต่ างของความยาวช่ วงที่ ติด กัน ไม่ เกิ น ร้ อยละ 20 น้ าหนัก บรรทุ ก กระท าแบบ
สม่ าเสมอเต็มทุ ก ช่ วงตลอดความยาวของโครงสร้ าง และมี น้ าหนักบรรทุ กจร (LL) ไม่ เกิ น 3 เท่ าของ
น้ า หนัก บรรทุ ก คงที่ (DL) หากไม่ ค านวณหาโมเมนต์และแรงเฉื อ นโดยการวิเคราะห์ อ ย่า งละเอี ย ด
มาตรฐาน ACI และ ว.ส.ท. 5201 ให้ใช้ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของโมเมนต์และแรงเฉือนได้ ดังตารางที่ 2.4
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 20

ตารางที่ 2.4 ค่าสัมประสิ ทธิ์ โมเมนต์และแรงเฉื อน (ว.ส.ท. 5201)


(ก) โมเมนต์ บวก
คานช่วงนอก :
ปลายไม่ยดึ รั้งกับที่รองรับ 1
wL2
11
ปลายหล่อเป็ นเนื้อเดียวกับที่รองรับ 1
wL2
14
คานช่วงใน : 1
wL2
16
(ข) โมเมนต์ ลบ
โมเมนต์ลบที่ขอบนอกของที่รองรับตัวในแรก
เมื่อมีช่วงต่อเนื่องกัน 2 ช่วง 1
wL2
9
เมื่อมีช่วงต่อเนื่องกันมากกว่า 2 ช่วง 1
wL2
10
โมเมนต์ลบที่ขอบนอกของที่รองรับตัวในอื่นๆ 1
wL2
11
โมเมนต์ลบที่ขอบนอกของที่รองรับทุกแห่ง : 1
wL2
12
สาหรับแผ่นพื้นที่มีช่วงยาวไม่เกิน 3.0 เมตร
หรื อคานที่มีอตั ราส่วนสติฟเนสของเสาต่อคาน > 8
โมเมนต์ลบที่ขอบนอกของที่รองรับตัวริ มที่หล่อเป็ นเนื้อเดียวกับที่รองรับ
เมื่อที่รองรับเป็ นคานขอบ 1
wL2
24
เมื่อที่รองรับเป็ นเสา 1
wL2
16
(ค) แรงเฉือน
แรงเฉื อนที่ขอบรองรับตัวในแรก 1.15
wL
2
แรงเฉื อนที่ขอบของที่รองรับตัวอื่นๆ w L
2
ลักษณะคานและพืน้ ต่ อเนื่อง

ต่อเนื่อง 2 ช่วง ช่วงนอก ช่วงนอก

ต่อเนื่อง 3 ช่วง ช่วงนอก ช่วงใน ช่วงนอก

ต่อเนื่อง 4 ช่วง ช่วงนอก ช่วงใน ช่วงใน ช่วงนอก

ต่อเนื่องมากกว่า 4 ช่วง ช่วงนอก ช่วงใน ช่วงในอื่น


การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 21

2.5 การออกแบบโครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็ก


การออกแบบโครงสร้าง คือ ขั้นตอนการเลือกใช้วสั ดุ และเลือกขนาดหน้าตัดของส่ วนประกอบ
ต่างๆ ทางโครงสร้าง เพื่อให้องค์อาคารมีเสถียรภาพมัน่ คง และใช้งานได้อย่างปลอดภัย วิธีที่นิยมใช้สอง
วิธี คื อ วิธี ห น่ วยแรงใช้งาน (Working Stress Design : WSD) และวิธี ก าลัง (Ultimate Strength Design :
USD) ในที่น้ ี กล่าวเฉพาะวิธีหน่วยแรงใช้งาน แต่เดิมเรี ยกว่าทฤษฎีอีลาสติก (Elastic theory) จะใช้หน่วย
แรงไม่เกิ นกว่าพิกดั ยืดหยุ่นของวัสดุ กล่าวคือ หน่ วยแรงของวัสดุที่เกิ ดจากน้ าหนักบรรทุกขณะใช้งาน
(Working stress, f) ไม่ เกิ นค่าหน่ วยแรงที่ ยอมให้ (Allowable stress, fallow) ซึ่ งถื อเป็ นหลักเกณฑ์ ในการ
คานวณออกแบบ (f < fallow)
2.5.1 หน่ วยแรงที่ ยอมให้ (Allowable stress, fallow) เป็ นหน่ วยแรงของวัสดุ ที่อยู่ในช่ วงขีดจากัด
ยืดหยุน่ ช่วงที่กราฟความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับหน่วยการยืดหดตัวของวัสดุ
นั้น (กราฟเป็ นเส้นตรง) ค่าหน่ วยแรงที่ยอมให้สามารถหาได้ดว้ ยการหารหน่ วยแรงต้านทานสู งสุ ดของ
วัส ดุ น้ ันๆ ด้วยส่ วนปลอดภัยที่ เหมาะสม ซึ่ งมาตรฐาน ว.ส.ท. ได้กาหนดหน่ วยแรงที่ ยอมให้ส าหรับ
คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม ดังนี้
หน่ วยแรงที่ยอมให้ ของคอนกรี ต
หน่วยแรงอัดที่ผวิ : fc  0.45 fc
หน่วยแรงกด หรื อหน่วยแรงแบกทาน (Bearing stress) : fc = 0.25 fc'
หน่วยแรงเฉื อนของคานคอนกรี ตที่ไม่มีเหล็กเสริ มรับแรงเฉื อน : vc  0.29 fc
หน่วยแรงเฉื อนสู งสุ ดของคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กรับแรงเฉือน : vc  1.32 fc
หน่วยแรงเฉื อนของพื้นและฐานรากคอนกรี ต (ตามเส้นขอบ) : vc  0.53 fc
หน่ วยแรงที่ยอมให้ ของเหล็กเสริ ม
เมื่อรับแรงดึง
เหล็กเส้นที่เป็ นเหล็กละมุม ซึ่ งไม่มีผลทดสอบ : fs  1,200 กก./ซม.2
เหล็กเส้นกลม ชั้นคุณภาพ SR 24 : fs  0.50 fy
เหล็กข้ออ้อย ชั้นคุณภาพ SD 30 : fs  0.50 fy
เหล็กข้ออ้อย ชั้นคุณภาพ SD 40 : fs  0.50 fy แต่ไม่เกิน 1,700 กก./ซม.2
เมื่อรับแรงอัด
เสาปลอกเกลียว : fs  0.40 fy แต่ไม่เกิน 2,100 กก./ซม.2
เสาแบบผสม
เหล็กรู ปพรรณ มอก. 116–2529 ชั้นคุณภาพ Fe24 …...1,200 กก./ซม.2
เหล็กหล่อ ...........……..700 กก./ซม.2
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 22

2.5.2 สมมติฐานในการออกแบบโดยวิธีหน่ วยแรงใช้ งาน (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)


1) ระนาบรู ปตัดทั้งก่ อนและหลังรับโมเมนต์ดดั ยังคงเป็ นระนาบ นัน่ คื อสมมติให้การ
กระจายของหน่วยการยืดหดตัวบนหน้าตัดเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับระยะที่ห่างจากแนวสะเทิน
2) กลสมบัติของวัสดุ ท้ งั คอนกรี ตและเหล็กเสริ มเป็ นไปตามกฏของฮุค (Hook’s law)
คือความสัมพันธ์ของหน่วยแรงและหน่วยการยืดหดตัวเป็ นสัดส่ วนโดยตรง
3) การยึดหน่วง (Bond) ระหว่างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ มเป็ นไปอย่างสมบูรณ์ หน่วยการ
ยืดหดตัวของคอนกรี ตและเหล็กเสริ ม ณ ตาแหน่งเดียวกัน มีค่าเท่ากัน
4) ไม่คิดกาลังต้านทานแรงดึงของคอนกรี ต
5) โมดู ลสั ยืดหยุ่นของคอนกรี ต (Ec) มี ค่าเท่ ากับ w1.5 4,270 fc โดยที่ w เป็ นหน่ วย
น้ าหนักคอนกรี ตปกติเท่ากับ 2.323 ตัน/ลบ.ม. ดังนั้น ใช้ Ec  15,100 fc กก./ซม.2
6) โมดูลสั ยืดหยุน่ ของเหล็กเสริ ม (Es) มีค่าเท่ากับ 2.04x106 กก./ซม.2
7) อัตราส่ วนโมดูลสั (Modulus ratio : n = Es/Ec) เป็ นค่าคงที่ และใช้เลขจานวนเต็มที่
ใกล้เคียงที่สุด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 6
อย่างไรก็ตาม ข้อสมมติฐานอาจไม่สอดคล้องกับพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจริ ง แต่ช่วยให้การ
คานวณออกแบบทาได้ง่ายขึ้นและเมื่อใช้หน่ วยแรงที่ยอมให้ตามข้อกาหนดแล้ว โครงสร้างสามารถใช้
งานได้ดีและมีความปลอดภัยเพียงพอ
2.5.3 ค่ าคงที่ สาหรั บการออกแบบ (n, k และค่ า j) การเลือกใช้วสั ดุ ท้ งั คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม
เป็ นขั้นตอนแรกในการออกแบบซึ่ งทาให้ท ราบถึ งกลสมบัติต่างๆ ของวัส ดุ เช่ น เลื อกส่ วนผสมของ
คอนกรี ตให้มีกาลังอัด ( fc ) เท่ากับ 240 กก./ซม.2 และเลื อกใช้เหล็กข้ออ้อยชั้นคุณภาพ SD 30 จะได้ค่า
กาลังครากของเหล็กเสริ ม (fy) เท่ากับ 3,000 กก./ซม.2 เป็ นต้น จากสมมติฐานในการออกแบบ (หัวข้อ
2.5.2) จะได้ค่าคงที่สาหรับการออกแบบคือ ค่า n ค่า k และค่า j ดังนี้

1) อัตราส่ วนโมดูลสั : n  Es  2,040,000


Ec 15,100 fc

2) พิจารณารู ปตัดคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กภายใต้โมเมนต์ดดั รู ปที่ 2.5 (ก) การกระจาย


ของหน่วยการยืดหดตัวบนหน้าตัดเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับระยะห่างจากแนวสะเทิน (Neutral axis, N.A.)
หน่ วยการหดตัวสู งสุ ดของคอนกรี ต (  c ) ที่ ผิวด้านบนของคานมี ระยะห่ างเท่ ากับ kd จากแนวแกน
สะเทิน และหน่ วยการยืดตัวของเหล็กเสริ ม (  s ) ที่ ตาแหน่ งเหล็กเสริ มรับแรงดึ ง ดังรู ปที่ 2.5 (ข) การ
กระจายหน่ วยแรงและแรงภายในบนหน้าตัดซึ่ งไม่คิดกาลังต้านทานแรงดึ งของคอนกรี ต โดยค่า jd คือ
ระยะจากแนวแรงอัด (C) ที่รับโดยคอนกรี ต ถึงแนวแรงดึง (T) ที่รับโดยเหล็กเสริ ม ดังรู ปที่ 2.5 (ค)
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 23

b fc
c
kd/3 C
kd
N.A.
d
jd
d– kd
As
s T
(ก) รู ปตัดคาน (ข) การกระจายของ (ค) การกระจายหน่วยแรง
หน่วยการยืดหดตัว และแรงภายในบนหน้าตัด
(วินิต ช่อวิเชียร, 2545)
รู ปที่ 2.5 การกระจายของหน่วยการยืดหดตัวและหน่วยแรงบนหน้าตัดคาน

จากรู ปสามเหลี่ยมคล้ายของการกระจายหน่วยการหดตัวของคอนกรี ต (  c ) และหน่วย


การยืดตัวของเหล็กเสริ ม (  s ) รู ปที่ 2.5 (ข)

c s c k
 หรื อ  …..(a)
kd d  kd  s 1 k

Es fs. c
ขณะที่ n หรื อ n …..(b)
Ec fc. s

แทนค่าสมการ (a) ลงใน (b) จะได้

fs.k 1
n หรื อ k
fc (1  k ) 1
fs
n. fc

จากรู ปที่ 2.5 (ค) แนวแรงอัด (C) ถึงแนวแรงดึง (T) จะได้ระยะ jd ดังนี้

kd k
jd  d  หรื อ j 1
3 3
การวิเคราะห์ โครงสร้ างและการออกแบบ 24

ขั้นตอนในการหาค่ าคงที่ ส าหรั บ การออกแบบสรุ ป เป็ นแผนภาพ ดังรู ป ที่ 2.6 และมาตรฐาน
ว.ส.ท. กาหนดค่าอัตราส่ วนโมดูลสั (n) สาหรับคอนกรี ตที่กาลังอัดต่างๆ ( fc ) ในตารางที่ 2.5

ค่ าคงที่สาหรั บ การออกแบบ n, k และ j


เลือกใช้ วสั ดุ : คอนกรี ตและเหล็กเสริ ม
(fc‫ ׳‬และ fy)

n
Es
(fc‫׳‬และfy)

2,040,000
Ec 15,100 fc

1
k 
fs
1
n. fc

k
j 1
3

รู ปที่ 2.6 ขั้นตอนในการหาค่าคงที่สาหรับการออกแบบ

ตารางที่ 2.5 ค่าอัตราส่ วนโมดูลสั : n


กาลังอัดของคอนกรี ต : fc
รายการ สูตร (กก./ซม.2)
100 150 200 250 300 350
Es 2,040,000
อัตราส่วนโมดูลสั : n 
Ec 15,100 fc
14 11 10 9 8 7
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 25

บทที่ 3
การออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็กต้ านทานโมเมนต์ดดั

คานเป็ นองค์อาคารที่ ทาหน้าที่ รับน้ าหนักบรรทุ กจากพื้น น้ าหนักผนัง และอื่นๆ โดยอาจถ่าย


น้ าหนักต่อไปยังคานหลักหรื อเสาที่รองรับ น้ าหนักบรรทุกหรื อแรงภายนอกที่กระทากับคานทาให้เกิ ด
แรงภายใน ได้แก่ แรงตามแนวแกน แรงเฉื อน และโมเมนต์ดดั อีกทั้งยังส่ งผลให้คานเกิดการโก่งตัว ดัง
รู ปที่ 3.1 (ก) การวิเคราะห์โครงสร้าง (Structural analysis) จะทาให้ทราบถึงพฤติกรรมทางโครงสร้างที่
ตอบสนองต่อแรงภายใน ซึ่ งการออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก จะต้องพิจารณาให้สามารถต้านทาน
แรงต่างๆ เหล่ านี้ ได้ โดยคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กอาจเป็ นคานช่ วงเดี ยว คานยื่น หรื อคานต่อเนื่ องก็ได้
นอกจากนี้ วิชาพื้นฐานที่สาคัญในการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็กโดยวิธีหน่ วยแรงใช้งาน
คือกาลังวัสดุ (Strength of Materials) ซึ่ งทาให้เข้าใจความเค้น (Stress) ความเครี ยด (Strain) และขีดจากัด
ยืดหยุ่นของวัส ดุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความเค้นในคาน ทั้งความเค้นดัด (Bending stress) และความเค้น
เฉือน (Shear stress) อันเป็ นที่มาของภาพการกระจายความเค้นบนหน้าตัดคาน ดังรู ปที่ 3.1 (ข) เพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในการออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กต่อไป ทั้งนี้ การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ ม
เหล็ก ต้ อ งอาศั ยความเข้ าใจพฤติ ก รรมในการรั บ น้าหนั ก ของคาน สู ต รที่ ใช้ คานวณออกแบบภายใต้
สมมติฐาน และข้ อกาหนดตามมาตรฐาน เพื่อให้ได้ขนาดหน้าตัดที่เหมาะสมและมีความปลอดภัยภายใต้
น้ าหนักบรรทุกใช้งาน

b My

I
V
y
h N.A. 
VQ
Ib

M V
My

I
(ก) (ข)

รู ปที่ 3.1 แรงภายในและการกระจายความเค้นบนหน้าตัดคาน


การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 26

3.1 พฤติกรรมของคานภายใต้ โมเมนต์ ดัดและการเสริมเหล็ก (มงคล จิรวัชรเดช, 2549)


เมื่อคานรับน้ าหนักบรรทุกจะเกิดแรงภายในโครงสร้าง ได้แก่ แรงตามแนวแกน แรงเฉื อน และ
โมเมนต์ดดั แรงภายในเหล่านี้ ทาให้คานเกิ ดการโก่งตัว โดยเฉพาะอย่างยิง่ โมเมนต์ดดั มีผลอย่างมากต่อ
การโก่งตัวของคานเมื่อเทียบกับแรงภายในอื่นๆ ลักษณะการโก่งตัวของคานช่วงเดียวภายใต้โมเมนต์ดดั
ในรู ปที่ 3.2 (ก) จะเห็นว่าโมเมนต์ดดั สู งสุ ดเกิดขึ้นที่ก่ ึงกลางคานและมีทิศทางเป็ นบวก (+M) โดยคานจะ
แอ่ น ตัวลง ท าให้ บ ริ เวณหลัง คานด้านบนเกิ ด แรงอัด ส่ วนท้อ งคานด้านล่ า งเกิ ด แรงดึ ง คอนกรี ตซึ่ ง
ต้านทานแรงดึงได้นอ้ ยจึงส่ งผลให้คานเกิดการแตกร้าวที่บริ เวณกึ่งกลางด้านล่าง ดังนั้น จึงต้องเสริ มเหล็ก
บริ เวณด้านล่างเพื่อทาหน้าที่รับแรงดึง ดังรู ปที่ 3.2 (ข)

+
M
(ก) (ข)

รู ปที่ 3.2 ลักษณะการโก่งตัวของคานช่วงเดียวและการเสริ มเหล็ก

คานยื่น รั บ น้ าหนัก บรรทุ ก แผ่ส ม่ า เสมอตลอดความยาวคาน ค่ า โมเมนต์ดัด สู ง สุ ด เกิ ด ขึ้ น ที่


ฐานรองรับและมีทิศทางเป็ นลบ (–M ) ส่ งผลให้คานโก่งตัว ดังรู ปที่ 3.3 (ก) บริ เวณหลังคานด้านบนใกล้
ฐานรองรับเกิ ดแรงดึ ง ส่ วนท้องคานด้านล่ างเกิ ดแรงอัด การแตกร้ าวของคานยื่นจะเกิ ดขึ้นบริ เวณหลัง
คานด้านบนที่เกิดแรงดึ ง ดังนั้น การเสริ มเหล็กรับแรงดึ งจึงเสริ มด้านบนหลังคานบริ เวณฐานรองรับ ดัง
รู ปที่ 3.3 (ข)

M
– (ก) (ข)

รู ปที่ 3.3 ลักษณะการโก่งตัวของคานยืน่ และการเสริ มเหล็ก


การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 27

กรณี คานต่อเนื่ องที่รับน้ าหนักบรรทุกแผ่สม่าเสมอตลอดความยาวคาน โมเมนต์ดดั จะเกิดขึ้นทั้ง


สองทิศทาง คือค่าโมเมนต์บวก (+M) เกิดที่บริ เวณกลางคาน ทาให้คานแอ่นตัวลง และโมเมนต์ลบ (–M )
เกิดที่บริ เวณฐานรองรับ ทาให้คานโก่งตัวขึ้น ดังรู ปที่ 3.4 (ก) ดังนั้น การเสริ มเหล็กเพื่อทาหน้าที่รับแรง
ดึงจึงเสริ มทั้งด้านล่างบริ เวณฐานรองรับถึงกลางคาน และเสริ มด้านบนหลังคานบริ เวณฐานรองรับ ดังรู ป
ที่ 3.4 (ข)

w w

+ +
M M

– – –
M M M
(ก)

(ข)

รู ปที่ 3.4 ลักษณะการโก่งตัวของคานต่อเนื่องและการเสริ มเหล็ก

เมื่อพิจารณาการวิบตั ิของคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบช่วงเดียวภายใต้น้ าหนักบรรทุก พบว่าการ


แตกร้าวเริ่ มเกิดที่บริ เวณท้องคานตาแหน่งที่เกิดโมเมนต์ดดั สู งสุ ด ดังรู ปที่ 3.5 (ก) ซึ่ งเป็ นผลจากการโก่ง
ตัวของคานทาให้เกิดแรงดึงที่บริ เวณดังกล่าว คอนกรี ตมีคุณสมบัติตา้ นทานแรงอัดได้ดี แต่ตา้ นทานแรง
ดึงได้น้อย เมื่อหน่ วยแรงดึ งที่เกิ ดขึ้นสู งกว่าค่าโมดูลสั การแตกร้ าวของคอนกรี ต (Modulus of Rupture :
2
𝑓𝑟 = 2.0√𝑓𝑐′, กก./ซม. ) จึ ง ท าให้ ค อนกรี ต เกิ ด การแตกร้ า ว โดยเหล็ ก เสริ ม จะท าหน้า ที่ รับ แรงดึ ง ที่
เกิ ดขึ้น และเมื่อคานรับน้ าหนักบรรทุกเพิ่มขึ้น แรงดึ งในเหล็กเสริ มก็จะเพิ่มขึ้นจนกระทัง่ หน่ วยแรงดึ ง
ของเหล็กเสริ มถึงจุดคราก ส่ งผลให้การแตกร้าวของคอนกรี ตมากขึ้น ดังรู ปที่ 3.5 (ข) เมื่อคานรับน้ าหนัก
เกิ นกว่าน้ าหนักบรรทุ กใช้งาน หน่ วยแรงของวัสดุ จะเกิ นกว่าขี ดจากัดยืดหยุ่นโดยคานคอนกรี ตเสริ ม
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 28

เหล็กจะเกิ ดการโก่งตัวอย่างมากและมีพฤติกรรมไม่ยืดหยุน่ จนกระทัง่ เกิ ดการวิบตั ิเมื่อคานรับน้ าหนัก


บรรทุกสู งสุ ด กล่าวโดยสรุ ป การวิบตั ิของคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กเนื่ องจากโมเมนต์ดดั มีสองลักษณะ
ขึ้ นอยู่กบั ปริ มาณเหล็กเสริ ม ในคานคอนกรี ต กรณี ที่ เสริ ม เหล็ก ไม่ม ากเรี ยกว่า คานเสริ มเหล็กตา่ กว่ า
สภาวะสมดุล (Under–reinforced concrete beams) การวิบตั ิของคานจะเกิดขึ้นที่ดา้ นรับแรงดึง โดยเหล็ก
เสริ มรับแรงดึงจะถึงจุดครากก่อนที่คอนกรี ตจะถูกอัดจนแตก และกรณี ที่เสริ มเหล็กมากเกินไป เรี ยกว่า
คานเสริ มเหล็กเกิ นกว่ าสภาวะสมดุล (Over–reinforced concrete beams) การวิบตั ิ ของคานจะเกิ ดขึ้ นที่
ด้านรับแรงอัด โดยคอนกรี ตจะถู กอัดจนแตกก่ อนที่เหล็กเสริ มรับแรงดึ งจะถึงจุดคราก ดังรู ปที่ 3.5 (ค)
เป็ นการวิบตั ิแบบฉับพลันทันทีทนั ใดจัดว่าอันตรายอย่างยิง่ (วินิต ช่อวิเชี ยร, 2545) ในทางอุดมคติ กรณี ที่
เรี ยกว่า การเสริ มเหล็กแบบสมดุล (Balanced–reinforced concrete beams) จะท าให้คอนกรี ตและเหล็ก
เสริ ม เกิ ด การวิบ ัติ ไ ปพร้ อมกัน เมื่ อ รั บ น้ าหนัก บรรทุ ก สู ง สุ ด อย่า งไรก็ ต าม ด้ว ยข้อ จ ากัด ด้านขนาด
พื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริ มที่มีจาหน่ ายในท้องตลาด จึงไม่สามารถเสริ มเหล็กพอดี กบั ที่คานวณได้จริ ง
เพื่อให้เกิดสภาวะสมดุลได้

(ก) หน่วยแรงดึง > fr (ข) หน่วยแรงดึงถึงจุดคราก (fy)

(ค) การวิบตั ิของคาน


(วินิต ช่อวิเชียร, 2545)
รู ปที่ 3.5 การวิบตั ิของคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบช่วงเดียวภายใต้น้ าหนักบรรทุก

3.2 การออกแบบคานเสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบช่ วงเดียวภายใต้โมเมนต์ดดั ผิวคานด้านบนจะถูกอัดส่ วนท้องคาน
จะถู ก ดึ ง จากสมมติ ฐานในการออกแบบข้อที่ 1 รู ป ตัดทั้งก่ อนและหลังการรั บ โมเมนต์ดัดยังคงเป็ น
ระนาบ ดังรู ปที่ 3.6 (ก) และการกระจายหน่ วยการยืดหดตัวเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับระยะห่ างจากแกน
สะเทิน (Neutral axis, N.A.) ดังรู ปที่ 3.6 (ข) โดยหน่ วยการหดตัวสู งสุ ดของคอนกรี ต (  c ) เกิ ดขึ้นที่ผิว
ด้านบนของคานมีระยะห่ างเท่ากับ kd จากแนวแกนสะเทิ น และหน่ วยการยืดตัวของเหล็กเสริ ม (  s )
เกิ ดขึ้ นที่ ด้านล่ างของคานตาแหน่ งเหล็กเสริ ม รั บ แรงดึ ง สมมติ ฐานข้อที่ 2 และข้อที่ 4 กลสมบัติของ
คอนกรี ตและเหล็กเสริ มเป็ นไปตามกฏของฮุค (Hook’s law) การกระจายหน่ วยแรงอัดของคอนกรี ตและ
แรงภายในบนหน้าตัดโดยไม่คิดกาลังต้านทานแรงดึงของคอนกรี ต แสดงดังรู ปที่ 3.6 (ค)
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 29

b c fc
kd/3
kd C
d N.A.
t jd
d – kd
As
s T
(ก) รู ปตัดคาน (ข) การกระจายของ (ค) การกระจายหน่วยแรง
หน่วยการยืดหดตัว และแรงภายในบนหน้าตัด

รู ปที่ 3.6 การกระจายหน่วยการยืดหดตัวและหน่วยแรงบนหน้าตัดคาน (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)

อธิ บายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ ดังนี้


As : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึง
b : ความกว้างของคาน t : ความลึกของคาน
C : แรงอัดที่รับโดยคอนกรี ต T : แรงดึงที่รับโดยเหล็กเสริ ม
fc : หน่วยแรงอัดของคอนกรี ต fs : หน่วยแรงดึงของเหล็กเสริ ม
d : ความลึกประสิ ทธิผลของคาน
kd : ระยะจากผิวบนของคอนกรี ตด้านรับแรงอัดถึงแนวแกนสะเทิน
jd : ระยะจากแนวแรงอัด (C) ถึงแนวแรงดึง (T)

พิจารณาสภาวะสมดุลของแรงภายในบนหน้าตัดคาน รู ปที่ 3.6 (ค) แรงอัดที่รับโดยคอนกรี ต (C)


เท่ากับ แรงดึงที่รับโดยเหล็กเสริ ม (T)
1
แรงอัดที่รับโดยคอนกรี ต : C fc.kd.b ……….(1)
2
โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc  C. jd
1
Mc  fc.kd.b. jd ………..(2)
2
ถ้าให้ R  1 fc.k. j โดยที่ค่า R เป็ นค่าคงที่สาหรับการออกแบบ ดังนั้น
2
Mc  Rbd 2 ……….(3)
และนิยมใช้สมการ (3) ตรวจสอบหาขนาดหน้าตัดที่เหมาะสม โดยให้ Mc = Mmax.
M max
d ……….(4)
R.b
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 30

แรงดึงที่รับโดยเหล็กเสริ ม : T  As. fs ………..(5)


โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยเหล็กเสริ ม : Ms  T . jd
Ms  As. fs. jd ………..(6)

และนิยมใช้สมการ (6) คานวณหาพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริ ม โดยแทนค่า Ms = Mmax.


M max
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As  ……….(7)
fs. jd

3.3 ข้ อกาหนดเกี่ยวกับคานคอนกรีตเสริมเหล็ก
มาตรฐาน ว.ส.ท. ให้ขอ้ กาหนดที่เกี่ยวข้องกับคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ดังนี้
3.3.1 ความลึกตา่ สุ ดของคาน (t) ในกรณี ที่ไม่ ได้ คานวณระยะโก่ ง หากใช้ความลึกน้อยกว่านี้ ตอ้ ง
คานวณระยะโก่งตัวของคาน แต่ท้ งั นี้ตอ้ งไม่ทาให้ความแข็งแรงขององค์อาคารนั้นด้อยลง
กรณี ความลึกต่าสุ ด (t)
คานช่วงเดียว L/16
คานปลายต่อเนื่องข้างเดียว L/18.5
คานปลายต่อเนื่องสองข้าง L/21
คานยืน่ L/8
3.3.2 คานลึ กคาน ช่วงเดี ยวที่มีอตั ราส่ วนความลึ กต่อระยะช่ วง มากกว่า 4/5 และคานต่อเนื่ องที่
อัต ราส่ ว นความลึ ก ต่ อ ระยะช่ ว งมากกว่า 2/5 ให้ ถื อ ว่า เป็ นคานลึ ก ในการค านวณออกแบบถื อ ว่ า
ความเครี ยดที่เกิ ดขึ้นไม่เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับระยะจากแกนสะเทิ น และต้องคานึ งถึ งการโก่ งงอตาม
ขวาง ตลอดจนผลเกี่ ยวเนื่ องอื่ นๆ ด้วย สาหรั บคานปกติ ทั่วไปควรมี อัตราส่ วนความกว้ างต่ อความลึ ก
ประสิ ทธิ ผล (b/d) ระหว่ างช่ วง 0.25 ถึง 0.60
3.3.3 เหล็กเสริ มน้ อยสุ ดสาหรั บองค์ อาคารรั บแรงดัด (  min ) ต้องมีปริ มาณเหล็กเสริ มรับแรงดึง
ไม่นอ้ ยกว่า 14 เพื่อป้ องกันการวิบตั ิที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันทีเมื่อเกิดการแตกร้าวด้านรับแรงดึง โดยที่
fy
As
ค่า  คืออัตราส่ วนพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มต่อพื้นที่หน้าตัดคาน (   )
bd
3.3.4 คอนกรี ตหุ้ มเหล็กเสริ ม (Covering) เป็ นระยะที่ วดั จากผิวคอนกรี ตถึ งผิวนอกของเหล็ก
ปลอกและการจัดวางเหล็กเสริ มต้องคานึงถึงความสามรถเทได้ของคอนกรี ตโดยสะดวก กรณี ที่คานเสริ ม
เหล็กมากกว่าหนึ่ งชั้นควรวางเหล็กที่มีขนาดใหญ่กว่าไว้ดา้ นล่าง และวางเหล็กแต่ละชั้นให้สมมาตรกัน
โดยมีระยะห่างระหว่างชั้นไม่นอ้ ยกว่า 2.5 เซนติเมตร ดังรู ปที่ 3.7
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 31

x  1.34 เท่าขนาดโตสุ ดของหิ น z


x  2.5 ซม. x
z  3.0 ซม. เมื่ออยูใ่ นร่ มและไม่สมั ผัสดิน z
z  4.0 ถูกแดด ฝน และสัมผัสดิน x x x

รู ปที่ 3.7 คอนกรี ตหุม้ เหล็กเสริ ม

3.4 ขั้นตอนในการคานวณออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
1. เขียนแบบจาลองทางโครงสร้าง และหาน้ าหนักที่กระทากับโครงสร้าง เลือกขนาดหน้าตัดคาน
เพื่อหาน้ าหนักคงที่ของคาน โดยสมมติข้ ึนจากการพิจารณา ชนิดของคานที่ออกแบบ ความลึกขั้นต่าของ
คานที่ ไม่ตอ้ งตรวจสอบการโก่งตัวของคาน และอัตราส่ วนความกว้างต่อความลึ กประสิ ทธิ ผล (b/d) ที่
เหมาะสม แล้วทาการวิเคราะห์โครงสร้าง (หาค่าโมเมนต์ดดั สู งสุ ด; Mmax.)
2. เลื อกวัส ดุ : กาลังอัดของคอนกรี ต (fc´) เลื อกชนิ ดของเหล็กเสริ ม (เหล็กกลมผิวเรี ยบ หรื อ
เหล็กข้ออ้อย) จะได้กาลังที่จุดครากของเหล็กเสริ ม (fy)
3. คานวณหาค่าคงที่สาหรับการออกแบบ : n, k, j และค่า R
4. ตรวจสอบขนาดหน้าตัดคานที่เหมาะสมได้จาก 2 กรณี (เลือกกรณี ใด กรณี หนึ่ง)
4.1 เปรี ยบเทียบค่า Mc  Rbd 2 กับค่า Mmax
ถ้ า Mc < Mmaxหมายถึ ง โมเมนต์ที่ ต้านทานโดยคอนกรี ต น้อ ยกว่าโมเมนต์ที่
เกิดขึ้นจริ ง แสดงว่าขนาดหน้าตัดคานเล็กไปให้เพิ่มขนาดหน้าตัดคานให้ใหญ่ข้ ึน
ถ้ า Mc > Mmax หมายถึ งโมเมนต์ที่ ต้า นทานโดยคอนกรี ต มากกว่า โมเมนต์ที่
เกิดขึ้นจริ ง แสดงว่าใช้ได้ แต่ถา้ Mc > Mmax มากๆ แสดงว่าหน้าตัดคานใหญ่เกินไป
M max
4.2 ค่าความลึกประสิ ทธิ ผลที่ตอ้ งการ (d) ให้ค่า Mc = Mmax.: d 
R.b
M max
5. คานวณหาปริ มาณพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As 
fs. jd
14
6. ตรวจสอบปริ มาณเหล็กเสริ มต่ าสุ ด ต้องมี ปริ มาณเหล็กเสริ มรับแรงดึ งไม่น้อยกว่า เพื่อ
fy
ป้ องกันการวิบตั ิที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันทันทีเมื่อเกิดการแตกร้าวด้านรับแรงดึง โดยที่ ค่า  คืออัตราส่ วน
As
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มต่อพื้นที่หน้าตัดคาน (   )
bd
7. เลื อ กขนาด และจานวนของเหล็ ก เสริ ม ที่ ใ ช้ใ ห้ เหมาะกับ ขนาดหน้ าตัด คาน พร้ อ มเขี ย น
รายละเอียดแสดงรายการเหล็กเสริ ม
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 32

ตัวอย่างที่ 1 คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กช่วงเดียวยาว 4.00 ม. รับน้ าหนักบรรทุกแบบสม่าเสมอ 1,000 กก./ม.


กาหนดให้ : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา สมมติขนาดคาน : 0.20x0.40 ม. (ความลึกต่าสุ ดสาหรับคานช่วงเดียว : L/16)


น้ าหนักคาน : 0.20x0.40x2,400 = 192 กก./ม.
น้ าหนักบรรทุกรวม (w) = 1,000 + 192 => 1,192 กก./ม.

w = 1,192 กก./ม.

4.00 ม.

วิเคราะห์ โครงสร้ าง : Mmax = wL2/8 => 1,192 (42) / 8


Mmax = 2,384 กก.–ม.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
Es 2.04  10 6 = 11
n   10.68
Ec 15,100 fc '
1 1
k
fs

1,500
= 0.345
1 1
n. fc 11(72)
k 0.345
j  1  1 = 0.885
3 3
1
R  fc.k . j = 0.5 (72) 0.345 (0.885) = 10.99 กก./ซม.2
2

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc ความลึกประสิ ทธิผล (d) ที่ตอ้ งการ

Mc  Rbd 2  10.99(0.20)352 M max 2,384 100


d 
Rb 10.99  20
= 2,692.55 กก.–ม. > Mmax ok
= 32.93 ซม. < 35.0 ซม. ok
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 33

M max 2,384  100


As  
fs. jd 1,500(0.885)35
= 5.13 ซม.2 0.35 ม.
เลือก : 2 DB 16 + 1 DB 12 (As = 5.15 ซม.2) 2 DB 16
0.05 ม. +1 DB 12
(0.20 x 0.40 ม.)

ข้ อสังเกต
1. การออกแบบคานเสริ มเหล็กรับแรงดึ งอย่างเดียว ค่าโมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ตมากกว่า
โมเมนต์สู ง สุ ด ที่ เกิ ด ขึ้ น ในคานซึ่ งได้จากการวิเคราะห์ โครงสร้ าง : Mc > Mmax (2,384 กก.–ม.) โดย
Mc  Rbd 2 ดังนั้น Mc จึงขึ้นอยูก ่ บั bd2 หากใช้วิธี Trial and error ในการออกแบบ โดยเลือกความกว้าง
ของคาน (b) คงที่เท่ากับ 0.20 ม. และให้ค่าความลึกต่าสุ ดเป็ นระยะ d เริ่ มต้น (ความลึกต่าสุ ดสาหรับคาน
ช่ วงเดี ยวที่ ไม่ตอ้ งตรวจสอบการโก่งตัวเท่ากับ L/16 = 400/16 => 25 ซม.) จะได้ค่าโมเมนต์ที่ตา้ นทาน
โดยคอนกรี ต : Mc ดังนี้
R (กก./ซม.2) b (ม.) d (ซม.) Mc  Rbd 2 (กก.–ม.)
25 1,373.75 < Mmax
10.99 0.20 30 1,978.20 < Mmax
35 2,692.55 > Mmax

2. ปริ มาณเหล็กเสริ ม 2 DB 16 + 1 DB 12 (As = 5.15 ซม.2) ใช้ตา้ นทานโมเมนต์สูงสุ ดซึ่ งเกิดขึ้น


ที่ก่ ึงกลางคานประมาณ 2,384 กก.–ม. ซึ่ งน้อยกว่าโมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต (Ms < Mc) ดังนั้น จึง
เป็ นการเสริ มเหล็กต่ากว่าสมดุล (Under-reinforced concrete beams) และมีอตั ราส่ วนพื้นที่หน้าตัดเหล็ก
As
เสริ มต่อพื้นที่หน้าตัดคาน (   ) เท่ากับ 0.00735 ซึ่ งมากกว่าเหล็กเสริ มน้อยสุ ดสาหรับองค์อาคาร
bd
14
รับแรงดัด (  min  ) เป็ นไปตามข้อกาหนด
fy
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 34

3.5 การออกแบบคานเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด
ในกรณี ค่าโมเมนต์ที่ เกิ ดขึ้ นในคานมี ค่ามากจะส่ งผลให้คานเสริ มเหล็กรั บแรงดึ งอย่างเดี ยวมี
ขนาดใหญ่ การลดขนาดหน้าตัดคานลงในขณะที่ความสามารถรับโมเมนต์ดดั ของคานยังคงเดิมทาได้โดย
เสริ มเหล็กรับแรงอัด (As') ดังรู ปที่ 3.8 (ก) ซึ่ งเป็ นการเพิ่มกาลังต้านทานแรงอัดโดยเหล็กเสริ มร่ วมกับ
คอนกรี ต (Cs+Cc) ดังรู ปที่ 3.8 (ค) และจากสภาวะสมดุลของแรงภายในบนหน้าตัดจะทาให้เหล็กเสริ ม
รับแรงดึงเพิ่มขึ้น (T=Asfs) ความต้านทานโมเมนต์ดดั ของคานเสริ มเหล็กรับแรงอัดคือ : M=M1+M2 โดย
ค่าโมเมนต์ M1 พิจารณาจากความสมดุลของแรงอัดที่รับโดยคอนกรี ต (Cc  1 fc.kd.b ) กับแรงดึงที่รับ
2
โดยเหล็กเสริ ม (T1=As1fs) ดังรู ปที่ 3.8 (ง) ซึ่ งเที ยบได้กบั สภาวะสมดุ ลของแรงภายในบนหน้าตัดคาน
เสริ มเหล็กรับแรงดึ งอย่างเดียว ดังนั้น โมเมนต์ M1=Cc.jd หรื อ M1 = 1 fc.kd.b. jd = Rbd2 หรื อสรุ ปได้
2
ว่า M1=Mc นั่น เอง และโมเมนต์ M2 พิ จารณาจากความสมดุ ล ของแรงที่ รับโดยเหล็ก เสริ ม รั บแรงอัด
(Cs=As'fs' ) กับเหล็กเสริ มรับแรงดึง (T2=As2fs) ดังรู ปที่ 3.8 (จ)

b fc
d' c Cs
As' kd  s Cc
N.A.
t d
d – kd
As
s T = Asfs
(ก) หน้าตัดคาน (ข) การกระจาย (ค) การกระจายหน่วยแรง
หน่วยการยืดหดตัว และแรงภายในบนหน้าตัด

fc
Cs 1
Cs = As'fs'
Cc  fc.kd.b
Cc kd 2
d N.A. +
= jd d – d'

T = Asfs T1 = As1fs T2 = As2fs


(ค) แรงภายในบนหน้าตัด (ง) โมเมนต์ M1 (จ) โมเมนต์ M2

รู ปที่ 3.8 การกระจายของหน่วยการยืดหดตัวและหน่วยแรงบนหน้าตัดคาน (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)


การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 35

อธิ บายสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ ดังนี้


b : ความกว้างของคาน fc : หน่วยแรงอัดของคอนกรี ต
As : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึง As' : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงอัด
d : ความลึกประสิ ทธิผลของคาน d´ : ระยะหุม้ เหล็กเสริ มรับแรงอัด
fs : หน่วยแรงดึงของเหล็กเสริ ม fs' : หน่วยแรงอัดของเหล็กเสริ ม
Cc : แรงอัดที่รับโดยคอนกรี ต Cs : แรงอัดที่รับโดยเหล็กเสริ มรับแรงอัด
T : แรงดึงทั้งหมดที่รับโดยเหล็กเสริ มรับแรงดึง
kd : ระยะจากผิวบนของคอนกรี ตด้านรับแรงอัดถึงแนวแกนสะเทิน
jd : ระยะจากแนวแรงอัด (C) ถึงแนวแรงดึง (T)

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึงของคานเสริ มเหล็กรับแรงอัด : As=As1+As2 ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ความ


ต้านทานโมเมนต์ดดั ของคาน : M=M1+M2 โดยคานวณหาพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม As1 และ As2 ดังนี้

จากรู ปที่ 3.8 (ง) : M1 = As1fs.jd โดยที่ M1 = Mc  Rbd 2


M1
As1  ……….(8)
fs. jd
จากรู ปที่ 3.8 (จ) : M2 = As2fs(d – d') โดยที่ M 2  M max  Mc
M2
As 2  ……….(9)
fs (d  d )

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงอัด : As'


จากรู ปที่ 3.8 (จ) : M2 = As' fs'(d – d')
ค่า M2 จากสมการ (9) : As2fs(d – d') = As'fs'(d – d')
จากรู ปที่ 3.8 (ข) : การกระจายหน่วยการยืดหดตัวของเหล็กเสริ ม (  s ,  s ) จะได้หน่วย
kd  d 
แรงอัดของเหล็กเสริ ม fs   fs และมาตรฐาน ว.ส.ท. กาหนดให้หน่วยแรงอัดของเหล็กเสริ ม
d  kd
kd  d 
มีค่าเป็ นสองเท่าแต่นอ้ ยกว่าหน่วยแรงดึงที่ยอมให้ของเหล็กเสริ ม ดังนั้น fs  2 fs  f allow
d  kd
 
1  (1  k ) 

As  As 2  ……….(10)
2  (k  d  ) 
 
 d 
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 36

3.6 ขั้นตอนในการคานวณออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด
1. เขียนแบบจาลองทางโครงสร้าง และหาน้ าหนักที่กระทากับโครงสร้าง เลือกขนาดหน้าตัดคาน
เพื่อหาน้ าหนักคงที่ของคาน โดยสมมติข้ ึนจากการพิจารณา ชนิดของคานที่ ออกแบบ ความลึกขั้นต่าของ
คานที่ ไม่ตอ้ งตรวจสอบการโก่งตัวของคาน และอัตราส่ วนความกว้างต่อความลึ กประสิ ทธิ ผล (b/d) ที่
เหมาะสม แล้วทาการวิเคราะห์โครงสร้าง (หาค่าโมเมนต์ดดั สู งสุ ด; Mmax.)
2. เลือกวัสดุ : กาลังอัดของคอนกรี ต (fc') และชนิดของเหล็กเสริ ม (เหล็กเส้นกลม หรื อเหล็กข้อ
อ้อย) จะได้กาลังครากของเหล็กเสริ ม (fy)
3. คานวณหาค่าคงที่สาหรับการออกแบบ : n, k, j และค่า R
4. คานวณค่าโมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc  Rbd 2 ถ้ า
Mc > Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว
Mc < Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงและแรงอัด
5. คานวณหาปริ มาณพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึง
As  As1  As 2
Mc M2
โดย As1  และ As2 
fs. jd fs (d  d )

6. คานวณหาปริ มาณพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงอัด


 
1  (1  k ) 

As  As 2  
2  (k  d  ) 
 
 d 
7. เลื อ กขนาดและจ านวนของเหล็ ก เสริ ม ที่ ใ ช้ ใ ห้ เหมาะกับ ขนาดหน้ า ตัด คาน พร้ อ มเขี ย น
รายละเอียดแสดงรายการเหล็กเสริ ม
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 37

ตัวอย่างที่ 2 คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กช่วงเดียวยาว 4.00 ม. รับน้ าหนักบรรทุกแบบสม่าเสมอ 1,550 กก./ม.


กาหนดให้ : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด
fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา สมมติขนาดคาน : 0.20x0.40 ม. (ความลึกต่าสุ ดคานช่วงเดียว : L/16)


น้ าหนักคาน : 0.20x0.40x2,400 = 192 กก./ม.
น้ าหนักบรรทุกรวม (w) = 1,550 + 192 => 1,742 กก./ม.

w = 1,742 กก./ม.

4.00 ม.

วิเคราะห์ โครงสร้ าง : Mmax = wL2/8 => 1,742 (42) / 8

Mmax = 3,484 กก.–ม.

B.M.D.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
2.04  10 6
n
Es
  10.68 = 11
Ec 15,100 fc '
1 1
k
fs

1,500
= 0.345
1 1
n. fc 11(72)
k 0.345
j  1  1 = 0.885
3 3
1
R  fc.k . j = 0.5 (72) 0.345 (0.885) = 10.99 กก./ซม.2
2

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  10.99(0.20)342
= 2,540.88 กก.–ม. < Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 38

เหล็กเสริ มรับแรงดึง : As
Mc 2,540.88  100
As1   = 5.63 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)34
M  M C 943.12  100
As 2  max  = 2.17 ซม.2
fs (d  d ' ) 1,500(34  5)
As  As1  As 2 = 7.80 ซม.2
เลือก : 4 DB 16 (As = 8.04 ซม.2)

เหล็กเสริ มรับแรงอัด : As´


1 (1  k ) 1 (1  0.345)
As '  As 2  (2.17)
2 d' 2 5
(k  ) (0.345  )
d 34
= 3.59 ซม.2
เลือก : 2 DB 16 (As = 4.02 ซม.2)

0.20

0.05
2 DB 16
0.34

0.06 4 DB 16
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 39

ตัว อย่ า งที่ 3 คานคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก แบบต่ อ เนื่ อ ง 3 ช่ วง ความยาวช่ วงคานเท่ ากับ 4.00 ม. (วัดจาก
กึ่งกลางเสา) รับน้ าหนักบรรทุกแบบสม่าเสมอ 1,850 กก./ม. ตลอดความยาวคาน
กาหนดให้ : fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 ขนาดเสาเท่ากับ 0.20 x 0.20 เมตร
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา สมมติขนาดคาน : 0.20x0.40 ม. (ความลึกต่าสุ ดคานต่อเนื่อง : L/21)


น้ าหนักคาน : 0.20x0.40x2,400 = 192 กก./ม.
น้ าหนักบรรทุกรวม (w) = 1,850 + 192 => 2,042 กก./ม.

w = 2,042 กก./ม.

4.00 ม. 4.00 ม. 4.00 ม.

วิเคราะห์ โครงสร้ าง : M = Cof. (wL´2)


L´= 4.00 – 0.20 => 3.80 ม.
1/14 1/16 1/14

B.M.D 1/16 1/16


1/10 1/11 1/11 1/10

ค่าโมเมนต์สูงสุ ด : Mmax
1 1

M max  wL2  (2,042)3.82 = 2,106.17 กก.–ม.
14 14
1 1

M max  wL2  (2,042)3.82 = 2,948.64 กก.–ม.
10 10
1 1
และ 
M  wL2  (2,042)3.82 = 1,842.90 กก.–ม.
16 16

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11, k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 40

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  10.99(0.20)342
= 2,540.88 กก.–ม.
Mc > Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว
Mc < Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงและแรงอัด

พิจารณาช่วงคานที่มีค่าโมเมนต์เป็ นบวก :
Mc = 2,540.88 กก.–ม., 
M max  2,106.17 กก.–ม.
Mc > Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว
M max 2,106.17  100
As   = 4.66 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)34
เลือก : 2 DB 16 + 1 DB 12 (As = 5.15 ซม.2)

พิจารณาช่วงคานที่มีค่าโมเมนต์เป็ นลบ (คานช่วงใน) :


Mc = 2,540.88 กก.–ม., 
M max  2,948.64 กก.–ม.
Mc < Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงและแรงอัด

Mc 2,540.88  100
As1   = 5.62 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)34
M  M C 407.76  100
As 2  max  = 0.93 ซม.2
fs (d  d ' ) 1,500(34  5)
As  As1  As 2 = 6.55 ซม.2
เลือก : 4 DB 16 (As = 8.08 ซม.2)
1 (1  k ) 1 (1  0.345)
As '  As 2
d'
 (0.93)
5
= 1.54 ซม.2
2 2
(k  ) (0.345  )
d 34
เลือก : 2 DB 12 (As = 2.26 ซม.2)

พิจารณาช่วงคานที่มีค่าโมเมนต์เป็ นลบ (คานช่วงริ มนอก) :


Mc = 2,540.88 กก.–ม., 
M  1,842.90 กก.–ม.
Mc > Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว
M max 1,842.90  100
As   = 4.08 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)34
เลือก : 2 DB 16 + 1 DB 12 (As = 5.15 ซม.2)
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 41

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

+
M +
M +
M


M –
M
M

M

(1) (2) (3)

(1) (2) (3)

2 DB 16 2 DB 16 4 DB 16
+1 DB 12

2 DB 16
2 DB 16 +1 DB 12 2 DB 16

(1)–(1) (2)–(2) (3)–(3)

ข้ อสังเกต
ในทางทฤษฎี หน้าตัดแนวที่ (3)–(3) เป็ นคานช่วงในรับโมเมนต์ลบ (–M) ต้องการเหล็กเสริ มรับ
แรงดึ ง จานวน 4 DB 16 (วางด้า นบน) และเหล็ ก เสริ ม รั บ แรงอัด จานวน 2 DB 12 (วางด้า นล่ า ง) แต่
รายละเอียดการเสริ มเหล็ก แสดงการเสริ มเหล็กล่าง 2 DB 16 ซึ่ งเกินกว่าความต้องการ เพราะเหตุใด ?
ในทางปฏิ บ ตั ิ การเสริ ม เหล็ก ควรค านึ งถึ งความต่ อเนื่ องสอดคล้อง เพื่ อให้ท างานได้ส ะดวก
รวดเร็ ว ดังนั้น จึงเลือกใช้เหล็ก 2 DB 16 เป็ นเหล็กเสริ มหลักวางตามมุมทั้งสี่ ตลอดความยาวคาน แล้วใช้
เหล็ก DB 12 เป็ นเหล็กเสริ มพิเศษวางเพิ่มในช่วงต่างๆ ให้ได้พ้นื ที่หน้าตัดเหล็กเสริ มตามต้องการ
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 42

ตัวอย่ างที่ 4 จงคานวณหาปริ มาณเหล็ก เสริ ม คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบต่อเนื่ อง 2 ช่ วง รั บ น้ าหนัก


บรรทุกจากพื้นรวมทั้งน้ าหนักคานเท่ากับ 837 กก./ม. และ 1,032 กก./ม. ตามลาดับ และผลการวิเคราะห์
หาค่าโมเมนต์ (BMD) ดังแสดงตามรู ปข้างล่าง
กาหนดให้ : fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 ขนาดคานเท่ากับ 0.15x0.35 เมตร
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

837 กก./ม. 1,032 กก./ม.

3.50 ม. 2.50 ม.

797 กก.–ม. 355 กก.–ม.

B.M.D

1,084 กก.–ม.

วิธีทา
ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
2
n  11, k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  10.99(0.15)30 2
= 1,483.65 กก.–ม. > Mmax
: ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว

พิจารณาช่วงคานที่มีค่าโมเมนต์เป็ นบวก :
M max 797  100

As   = 2.00 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)30
เลือก : 2 DB 12 (As = 2.26 ซม.2)
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 43

พิจารณาช่วงคานที่มีค่าโมเมนต์เป็ นลบ :
M max 1,084  100

As   = 2.72 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)30
เลือก : 3 DB 12 (As = 3.39 ซม.2)

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

+
M +
M

M

(1) (2)

(1) (2)

2 DB 12 3 DB 12

2 DB 12 2 DB 12

(1)–(1) (2)–(2)
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 44

3.7 การตรวจสอบความสามารถในการต้ านทานโมเมนต์ ดัดของคาน


เมื่อทราบถึงขนาดหน้าตัดคาน และพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม ถ้าต้องการตรวจสอบความสามารถ
ในการต้านทานแรงดัด หรื อการรับน้ าหนักบรรทุกของคานก็ทาได้ โดยเริ่ มจากการหาค่า k หรื อระยะ kd
ซึ่ งจะทาให้ทราบถึงตาแหน่งของแกนสะเทิน (N.A.) และแบ่งเป็ น 2 กรณี ดังนี้
3.7.1 คานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว
b fc
k  ( n) 2  2n  n


As E kd C
และ n  s N.A.
bd Ec d jd

T
3.7.2 คานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงและแรงอัด
d
k  2n[   2  ( )]  n 2 (   2  ) 2  n(   2  )
d
As As
 ,   และ n  Es
bd bd Ec

fc
Cs 1 Cs = As'fs'
Cc  fc.kd.b
Cc kd 2
N.A
d + d – d'
. = jd

T = Asfs T1 = As1fs T2 = As2fs

ทั้งสองกรณี จะต้องตรวจสอบหน่ วยแรงที่ เกิ ดขึ้ นในเหล็ ก เสริ ม รั บ แรงดึ งและเหล็ก เสริ มรั บ
แรงอัด ซึ่ งเป็ นตัวควบคุมความปลอดภัยในการรับน้ าหนักและถือเป็ นหลักเกณฑ์ในการคานวณออกแบบ
วิธีหน่วยแรงใช้งาน กล่าวคือหน่วยแรงของวัสดุที่เกิดจากน้ าหนักบรรทุกขณะใช้งาน (Working stress, f)
ไม่เกินค่าหน่วยแรงที่ยอมให้ (Allowable stress, fallow)
d  kd
หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริ มรับแรงดึง : fs  nfc  f allow
kd

kd  d 
และหน่วยแรงที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริ มรับแรงอัด : fs  2 fs  f allow
d  kd
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 45

ตัวอย่างที่ 5 คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กขนาด 0.20x0.40 ม. (b = 0.20 ม., d = 0.35 ม.)


เสริ มเหล็กรับแรงดึง (2 DB 16 + 1 DB 12 : As = 5.15ซม.2) ดังรู ป
จงหาโมเมนต์ตา้ นทานโดยปลอดภัยของคาน
กาหนดให้ : fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
n = 11 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ As

As 5.15
วิธีทา As = 5.15 ซม.2,   = 0.00858
bd (20)35
k
k  ( n) 2  2n  n = 0.35 j  1  = 0.883
3
kd  (0.35  0.35)  0.122

ตรวจสอบหน่วยแรงดึงในเหล็กเสริ ม : สมมติวา่ fc เท่ากับหน่วยแรงอัดที่ยอมให้ (fc = 0.45fc')


d  kd  0.35  0.122 
fs  nfc  11(72)  
kd  0.122 
= 1,480 กก./ซม.2 < fallow

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยเหล็กเสริ ม : Ms  Asfs. jd


 5.15 1,480  0.883  0.35
= 2,355.57กก.-ม.
โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc  1 fckjbd 2
2
1
  72  0.35  0.883  0.20  352
2
= 2,725.82 กก.-ม.

ดังนั้น โมเมนต์ ต้านทานโดยปลอดภัยของคานเท่ ากับ 2,355.57 กก.-ม. และคานเสริ มเหล็กตา่


กว่ าสมดุล (Mc > Ms)
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 46

ตัวอย่างที่ 6 คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กขนาด 0.20x0.40 ม. (b = 0.20 ม., d = 0.35 ม., d´ = 0.05 ม.)
เสริ มเหล็กรับแรงดึง 3 DB 20 และเหล็กเสริ มรับแรงอัด 2 DB 16
(As = 9.42 ซม.2 และ As´ = 4.02 ซม.2) ดังรู ป As´
จงหาโมเมนต์ตา้ นทานโดยปลอดภัยของคาน
กาหนดให้ : fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
n = 11 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ As

As 9.42
วิธีทา As = 9.42 ซม.2,   = 0.01346
bd (20)35
As 4.02
As´ = 4.02 ซม.2,    = 0.00574
bd (20)35
2  d 
k  2n(   )  n 2 (   2  ) 2  n(   2  ) = 0.363
d
k
j  1 = 0.879
3
ตรวจสอบหน่วยแรงที่เกิดขึ้น : สมมติวา่ fc เท่ากับหน่วยแรงอัดที่ยอมให้ (fc = 0.45fc')
1 k 1  0.363
หน่วยแรงดึงที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริ ม : fs  nfc  (11 72)
k 0.363
= 1,389.81 กก./ซม.2 < fallow
kd  d 
หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริ มรับแรงอัด : fs  2 fs
d  kd
= 960.61 กก./ซม.2 < fs

ดังนั้นโมเมนต์ตา้ นทานโดยปลอดภัยของคานถูกควบคุมโดยหน่วยแรงดึงที่เกิดขึ้นในเหล็กเสริ ม
รับแรงดึงซึ่ งมีค่าเท่ากับ 1,389.81 กก./ซม.2
1 1
M 1  Mc  fckjbd 2   72  0.363  0.879  0.20  352 = 2,814.25 กก.-ม.
2 2
M1 2,814.25 100
As1   = 6.58 ซม.2
fs  j  d 1,389.81(0.879)35
As 2  As  As1 = 9.42 – 6.58 = 2.84 ซม.2
M 2  As 2 fs (d  d )  2.84 1,389.81(0.35  0.05) = 1,184.11 กก.-ม.
โมเมนต์ตา้ นทานโดยปลอดภัยของคาน
M1  M 2  2,814.25  1,184.11 = 3,998.36 กก.-ม.
การออกแบบคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กต้ านทานโมเมนต์ ดัด 47

แบบฝึ กหัด

1. คานช่วงเดียวยาว 6.00 เมตร รับน้ าหนักบรรทุกแผ่สม่าเสมอ 1,200กก./ม. (ไม่รวมน้ าหนักคาน) และ


น้ าหนักลงเป็ นจุด 3,000 กก. ที่ก่ ึงกลางคาน ดังรู ป
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 f y = 3,000 กก./ซม.2 3,000 กก.
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ 1,200 กก./ม.
ก) ออกแบบคานเสริ มเหล็กรับแรงดึงอย่างเดียว
ข) ออกแบบคานเสริ มเหล็กรับแรงดึงและแรงอัด 3.00 3.00
6.00 ม.

2. จงคานวณหาความต้านทานโมเมนต์ดดั ปลอดภัยของคานเสริ มเหล็ก ดังรู ป


กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้ขอ้ กาหนดตามมาตรฐาน ว.ส.ท.
ก) ข)
0.20 ม. 0.25 ม.

2 DB16
0.45 ม. 0.53 ม.
3 DB 16
5 DB16

3. จงออกแบบคานต่อเนื่องรับน้ าหนักบรรทุกแผ่สม่าเสมอ 3,200 กก./ม. (ไม่รวมน้ าหนักคาน) ดังรู ป


กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

3,200กก./ม.

6.00 ม. 6.00 ม.
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 48

บทที่ 4
แรงเฉือน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด

4.1 แรงเฉือน
คานคอนกรี ต ภายใต้น้ าหนัก บรรทุ ก ใช้งาน ส่ งผลให้ เกิ ด หน่ วยแรงดึ งที่ อาจเกิ ด จากแรงดึ ง
โดยตรง หรื อเกิ ดจากโมเมนต์ดดั แรงเฉื อน และแรงบิด เมื่อหน่ วยแรงดึ งที่เกิ ดขึ้นในคานคอนกรี ตเกิ น
กว่าหน่วยแรงดึงที่คอนกรี ตรับได้ก็จะเกิดการแตกร้าว ดังรู ปที่ 4.1 หน่วยแรงดึงที่ทาให้เกิดการแตกร้าวที่
ท้องคานด้านล่ างบริ เวณกึ่ งกลางคานตาแหน่ งที่ เกิ ดโมเมนต์ดัดสู งสุ ด เรี ยกว่าการแตกร้ าวจากการดัด
(Flexural crack) ส่ วนการแตกร้าวแนวเฉี ยงที่แนวแกนสะเทิน เชื่ อมต่อกับรอยร้าวจากการดัดบริ เวณท้อง
คานด้านล่างเป็ นผลจากหน่ วยแรงดึงที่เกิดจากแรงเฉื อนและโมเมนต์ดดั จึงเรี ยกว่าการแตกร้าวจากการ
เฉื อนร่ วมกับการดัด (Flexural–shear crack) บริ เวณฐานรองรับซึ่ งแรงเฉื อนมีค่ามากจะพบการแตกร้ าว
แนวเฉี ย งที่ แกนสะเทิ น เกิ ดจากแรงดึ ง ทแยง และน าไปสู่ ก ารวิบ ัติ ของคานคอนกรี ต ที่ ไม่ เสริ ม เหล็ ก
ต้านทานแรงเฉื อน ดังนั้น ในการคานวณออกแบบมาตรฐาน ว.ส.ท. 6103 ให้ใช้แรงเฉื อนสู งสุ ด (Vd) ที่
ตาแหน่งห่ างจากขอบฐานรองรับเท่ากับความลึกประสิ ทธิ ผลของคาน (d) และถือเป็ นแนวหน้าตัดวิกฤต
สาหรับแรงเฉือน
P P
w

S.F.D
V
Flexural-shear crack

d
Flexural crack
d

รู ปที่ 4.1 การแตกร้าวของคานภายใต้น้ าหนักบรรทุก


แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 49

4.1.1 แรงเฉื อนและแรงดึงทแยงในคาน การวิบตั ิของคานภายใต้แรงเฉื อนเกิดขึ้นที่ตาแหน่ งห่ าง


จากขอบฐานรองรั บ เท่ ากับ ความลึ ก ประสิ ท ธิ ผ ลของคาน (d) โดยแนววิบ ัติ ท ามุ ม เฉี ย ง 45 องศากับ
แนวราบ เมื่อพิจารณาชิ้ นส่ วนเล็กๆ ที่ตาแหน่ งแนวแกนสะเทิน ดังรู ปที่ 4.2 (ก) จะเห็นว่าจุดดังกล่าวอยู่
ภายใต้การกระทาของหน่วยแรงเฉื อนอย่างเดียว (Pure shear) ส่ งผลให้เกิดแรงดึงทแยงในคาน (Diagonal
tension) ดังรู ปที่ 4.2 (ข) เมื่อแรงดึ งที่ เกิ ดขึ้นเกิ นกว่าแรงดึ งที่คอนกรี ตรับได้จึงเกิ ดการแตกร้ าวและเกิ ด
การวิ บ ัติ ที่ บ ริ เวณดัง กล่ า ว (สถาพร โภคา, 2544) การเสริ ม เหล็ ก ต้านทานแรงเฉื อ นท าได้โ ดยให้
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึงโดยตรงตามทิศทางของแรงดึง คือ เสริ มตั้งฉากกับแนวแตกร้าวที่ทามุม
45 องศากับแนวราบ ที่ เรี ยกว่าเหล็กคอม้า ดังรู ปที่ 4.2 (ค) แต่ปัจจุบนั นิ ยมเสริ มเหล็กลูกตั้งหรื อเหล็ก
ปลอก (Vertical stirrup) เพื่อต้านทานแรงเฉื อนซึ่ งทาได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ ว โดยวางเป็ นระยะตาม
แนวความยาวคาน ดังรู ปที่ 4.2 (ง)

N.A.
45°
(ก)

 T

 T
(ข)

d (ค)

(ง)
(สถาพร โภคา, 2544)
รู ปที่ 4.2 การวิบตั ิของคานภายใต้แรงเฉื อนและการเสริ มเหล็กต้านทานแรงเฉื อน
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 50

4.1.2 เหล็กเสริ มต้ านทานแรงเฉื อน กาลังต้านทานแรงเฉื อนในคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กเกิ ดจาก


การรับแรงร่ วมกันของวัสดุท้ งั สอง นัน่ คือ กาลังต้านทานแรงเฉื อนโดยคอนกรี ตและเหล็กเสริ ม สามารถ
เขียนเป็ นสมการได้ดงั นี้
V  Vc  V 

โดยที่ V : แรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในคาน หาได้จากการวิเคราะห์โครงสร้าง


Vc : กาลังต้านทานแรงเฉื อนโดยคอนกรี ต ว.ส.ท. กาหนดให้
หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ต : vc = 0.29 fc
ดังนั้น Vc  vcb.d  0.29 fcb.d
V´ : กาลังต้านทานแรงเฉื อนโดยเหล็กเสริ ม ( V   V  Vc )

ในกรณี ที่ออกแบบให้เหล็กเสริ มรับแรงโดยตรงซึ่ งใช้ ชุดเหล็กคอม้าประกอบด้วยเหล็กหลาย


เส้ น หรื อ ใช้เหล็ ก ปลอกที่ ท ามุ ม 45 องศากับ แนวราบ (มุ ม  = 45°) โดยวางเรี ย งระยะห่ า งเท่ า กัน
มาตรฐาน ว.ส.ท. 6304 (ค) กาหนดให้กาลังต้านทานแรงเฉือนโดยเหล็กเสริ มคานวณได้ ดังนี้
Av. fv.d (sin   cos  )
V 
s
หรื อคานวณหาพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มต้านทานแรงเฉื อน ดังนี้
V .s
Av 
fv.d (sin   cos  )

และในกรณี ที่ออกแบบเป็ นเหล็กปลอกที่ทามุม 90 องศากับแนวราบ (มุม  = 90°) โดยวางเรี ยง


ระยะห่างเท่ากัน ว.ส.ท. 6303 (ก) กาหนดให้คานวณพื้นที่หน้าตัดเหล็กปลอก ดังนี้
V .s
Av 
fv.d
หรื อเลือกขนาดเหล็กปลอก และคานวณหาระยะห่างของเหล็กปลอก ดังนี้
Av. fv.d
s
V

โดยที่ s : ระยะห่างของเหล็กปลอก
Av : พื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริ มต้านทานแรงเฉื อน (เหล็กปลอก)
fv : หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของเหล็กเสริ ม ( fv  0.5 fy )
d : ความลึกประสิ ทธิผลของคาน
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 51

4.1.3 ข้ อกาหนดมาตรฐาน ว.ส.ท. การคานวณออกแบบเหล็กเสริ มต้านทานแรงเฉื อนให้เป็ นไป


ตามเกณฑ์บงั คับ มาตรฐาน ว.ส.ท. 6305 และ 6306 ดังนี้
1) หน่ วยแรงเฉื อนที่ เกิ ดขึ้ นในคาน : v  1.32 fc หรื อแรงเฉื อนสู งสุ ดที่ เกิ ดขึ้ นใน
คาน : V  1.32 fcb.d กรณี เกินกว่าที่กาหนด ต้องเปลี่ยนขนาดหน้าตัดคานให้ใหญ่ข้ ึน
2) หน่ วยแรงเฉื อนที่ ย อมให้ ข องคอนกรี ต : vc  0.29 fc หรื อก าลังต้านทานแรง
เฉือนโดยคอนกรี ต : Vc  0.29 fcb.d
3) หน่ วยแรงเฉื อนที่ ตา้ นทานโดยเหล็กเสริ ม : v  1.03 fc หรื อกาลังต้านทานแรง
เฉือนโดยเหล็กเสริ ม : V   1.03 fcb.d
d
4) ณ ที่ใดต้องใช้เหล็กเสริ มรับแรงเฉื อน ต้องจัดระยะห่ างของเหล็กเสริ ม (s) ไม่เกิน
2
d
และถ้าหน่ วยแรงเฉื อน (v) เกิ นกว่า 0.795 fc ระยะห่ างของเหล็กเสริ ม (s) ไม่เกิ น หรื อพิจารณา
4
จากแรงเฉือน (V) ที่เกิดขึ้นในคาน ระยะห่างของเหล็กปลอก (s) ต้องไม่เกินค่าที่กาหนด ดังนี้
d
(ก) กรณี V  0.795 fcb.d ต้องไม่เกิน
2
d
(ข) กรณี V  0.795 fcb.d ต้องไม่เกิน
4
5) กรณี ที่กาลังต้านทานแรงเฉื อนโดยคอนกรี ตมากกว่าแรงเฉื อนที่ เกิ ดขึ้นจริ งในคาน
Vc  V  ในทางทฤษฎีหมายความว่า คานคอนกรี ตมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะรับแรงเฉื อนได้ อย่างไรก็
ตาม มาตรฐาน ว.ส.ท. กาหนดให้เสริ มเหล็กปลอกในปริ มาณต่าสุ ด เท่ากับ Av  0.0015b.s หรื อ เสริ ม
Av
เหล็กปลอกระยะห่างเท่ากับ : s 
0.0015b

ขัน้ ตอนในการคานวณออกแบบเหล็กเสริ มต้ านทานแรงเฉื อน (เหล็กปลอก)


1. หาแรงเฉื อนที่เกิ ดขึ้นในคานที่แนวหน้าตัดวิกฤต (Vd) และตรวจสอบ ถ้า V  1.32 fcb.d
ต้องเปลี่ยนขนาดหน้าตัดคานให้ใหญ่ข้ ึน
2. หาแรงเฉือนที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Vc  0.29 fcb.d
3. หาแรงเฉือนที่ตา้ นทานโดยเหล็กเสริ ม : V   Vd  Vc
4. ตรวจสอบระยะห่างของเหล็กปลอก (s) ต้องไม่เกินค่าที่กาหนด ดังนี้
d
(ก) กรณี V  0.795 fcb.d ต้องไม่เกิน
2
d
(ข) กรณี V  0.795 fcb.d ต้องไม่เกิน
4
5. คานวณหาระยะห่างของเหล็กปลอก : s  Av. fv.d
V
6. กรณี Vc  V : ระยะห่างเหล็กปลอก : s  Av
0.0015b
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 52

ตัวอย่างที่ 1 จงคานวณหาระยะห่างเหล็กปลอก รับแรงเฉื อน (V) เท่ากับ 4,700 กก.


กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
ขนาดหน้าตัดคานเท่ากับ 0.20 x 0.45 เมตร (b = 0.20 ม., d = 0.40 ม.)
วิธีทา V = 4,700 กก. : ตรวจสอบ V  1.32 fcb.d
Vc  0.29 fc 'bd  0.29 160 (20)(40) = 2,934.59 กก.
V '  V  Vc  4,700  2,934.59 = 1,765.41 กก.

ตรวจสอบระยะห่างของเหล็กปลอก (s) ตามเกณฑ์บงั คับ มาตรฐาน ว.ส.ท.


แรงเฉือนที่เกิดขึ้นในคาน : V  4,700 กก.  0.795 fcb.d
Av. fv.d d
ดังนั้น ระยะห่างเหล็กปลอก : s  
V' 2

กรณี เลือกใช้เหล็กปลอกขนาด  6 มม. Av = 0.565 ซม.2


Av. fv.d 0.565(1,200)40
s 
V' 1,765.41
= 15.36 ซม.
ใช้เหล็กปลอก  6 มม. @ 0.15 ม.

กรณี เลือกใช้เหล็กปลอกขนาด  9 มม. Av = 1.272 ซม.2


Av. fv.d 1.272(1,200)40
s 
V' 1,765.41
= 34.58 ซม.
ใช้เหล็กปลอก  9 มม. @ 0.20 ม. (ข้อกาหนด : s  d )
2

ป  6 มม. @ 0.15 ม.
หรื อ ป  9 มม. @ 0.20 ม.
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 53

ตัวอย่างที่ 2 คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กช่วงเดียวยาว 5.00 ม. รับน้ าหนักแบบสม่าเสมอเท่ากับ 3,800 กก./ม.


ตลอดความยาวคาน จงหาขนาดและระยะห่างของเหล็กปลอกโดยละเอียด
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
ขนาดหน้าตัดคานเท่ากับ 0.20 x 0.50 เมตร (b = 0.20 ม., d = 0.43 ม.)

3,800 กก./ม.

5.00 ม.

วิธีทา 9,500 กก.

S.F.D.
9,500 กก.

แรงเฉื อนที่หน้าตัดวิกฤต (ตาแหน่ งห่ างจากฐานรองรั บเท่ ากับระยะ d = 0.43 ม.)


Vd  9,500  (3,800  0.43) = 7,866 กก. < 0.795 fc'bd
Vc  0.29 fc 'bd  0.29 160 (20)(43) = 3,154.68 กก.
V '  Vd  Vc  7,866  3,154.68 = 4,711.32 กก.

พิจารณารู ป S.F.D. จากรู ปสามเหลี่ ยมคล้ายจะเห็ นว่าค่า Vc = 3,154.68 กก. อยู่ที่ระยะ 1.66 ม.
จากฐานรองรับ ดังนั้น ที่ระยะดังกล่าวถึงกลางคานในทางทฤษฎีไม่ตอ้ งเสริ มเหล็กปลอกก็ได้

9,500 กก. 0.43 ม.


Vd = 7,866 กก.

1.66 ม.
Vc = 3,154.68 กก.
2.50 ม.,C.L.
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 54

อย่างไรก็ตาม มาตรฐาน ว.ส.ท. กาหนดให้เสริ มเหล็กปลอกในปริ มาณต่าสุ ด ถ้าเลือกใช้เหล็ก


ปลอก  9 มม. @ 0.20 ม. ซึ่งเหล็กปลอกที่เสริ มในปริ มาณต่าสุ ดจะรับแรงเฉื อนได้
Av. fv.d 1.272(1,200)43
V'  = 3,281.76 กก.
S 20

รวมแรงเฉื อนที่ ค อนกรี ตและเหล็ ก ปลอกรั บ ได้ : V  Vc  V ' = 3,281.76 + 3,154.68 =


6,436.44 กก. และเมื่อกลับไปพิจารณารู ป S.F.D. จะเห็นว่าค่า V 'Vc = 6,436.44 กก. อยูท่ ี่ระยะ 0.80 ม.
จากฐานรองรับ ดังนั้น ในช่ วงที่ เหลื อจากฐานรองรับ ถึ งระยะ 0.80 ม. เลื อกใช้เหล็ก ปลอก  9 มม.
คานวณระยะห่างเหล็กปลอกได้ ดังนี้
Av. fv.d 1.272(1,200)43
s  = 13.93 ซม.
V' 4,711.32
เลือกใช้เหล็กปลอก  9 มม. @ 0.125 ม.

9,500 กก.
Vd = 7,866 กก. 0.43 ม.
V'+ Vc = 6,436.44 กก. 0.80 ม.

Vc = 3,154.68 กก. 1.66 ม.

2.50 ม.
C.L.
 9 มม. @ 0.125 ม. ป  9 มม. @ 0.20 ม.

 9 มม. @ 0.125 ม. ป  9 มม. @ 0.20 ม.

รายละเอียดการเสริ มเหล็กปลอก
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 55

4.2 แรงยึดหน่ วง (Bond)


คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กประกอบด้วยวัสดุสองชนิ ด คือ คอนกรี ต และเหล็กเสริ ม เมื่อคานรับ
น้ าหนักบรรทุกใช้งาน ดังรู ปที่ 4.3 (ก) พบว่า แรงภายในต่างๆ ที่เกิดขึ้นในคานส่ งผลให้คานเกิดการโก่ง
ตัว และอาจท าให้ เกิ ดการรู ดของเหล็ก เสริ ม ดังรู ป ที่ 4.3 (ข) จากสมมติ ฐานข้อที่ 3 ในการออกแบบ
คอนกรี ตเสริ มเหล็กโดยวิธีหน่ วยแรงใช้งาน การยึดหน่ วงระหว่างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ มเป็ นไปอย่าง
สมบูรณ์ หน่วยการยืดหดตัวของคอนกรี ตและเหล็กเสริ ม ณ ตาแหน่งเดียวกัน มีค่าเท่ากัน เพื่อให้เป็ นไป
ตามสมมติฐาน มาตรฐาน ว.ส.ท. 6501 (ข) กาหนดให้ ที่หน้ าตัดใดๆ ต้ องมีความยาวระยะฝั ง การยึดปลาย
หรื อมีของอสาหรั บเหล็กเสริ มรั บแรงดึงที่ เพียงพอ เนื่ องจากผลของการโก่ งตัวของคาน จากรู ปที่ 4.3 (ค)
จะเห็ น ว่าบริ เวณท้อ งคานเกิ ดแรงดึ งท าให้ ค อนกรี ตเกิ ด การแตกร้ าวจึ งสู ญ เสี ย แรงยึดหน่ วงระหว่า ง
คอนกรี ตกับเหล็กเสริ ม ดังนั้น การยึดปลายหรื อการงอปลายเหล็กเสริ มจะป้ องกันการรู ดของเหล็กเสริ ม
และช่วยเพิ่มแรงยึดหน่วงระหว่างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ มที่สูญเสี ยไป

(ก)

(ข)

(ค)

รู ปที่ 4.3 การยึดปลายหรื อการงอปลายเหล็กเสริ ม (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)


แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 56

ในองค์อาคารรับแรงดัดที่มีเหล็กเสริ มรับแรงดึงขนานกับผิวที่รับแรงอัด หน่ วยแรงยึดหน่วงอัน


เกิดจากแรงดัดที่หน้าตัดใดๆ พิจารณาจากความยาวคานระยะ dx ดังรู ปที่ 4.4 (ก) และหน่วยแรงยึดหน่วง
กับแรงดึงในเหล็กเสริ ม ดังรู ปที่ 4.4 (ข)

dx
C C + dc dx
O
u
V V + dV jd T T + dT

T T + dT
(ก) (ข)

รู ปที่ 4.4 หน่วยแรงยึดหน่วง (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)

รู ปที่ 4.4 (ก) พิจารณา  M o  0 +


dT . jd Vdx  0
dT V
 ……….(a)
dx jd

รู ปที่ 4.4 (ข) พิจารณา  Fx  0 +


dT  u. 0 .dx  0
dT
 u. o ……….(b)
dx

แทนค่าสมการ (b) ลงใน (a) จะได้


V
u
 O . jd

โดยที่ u : หน่วยแรงยึดหน่วง
V : แรงเฉือน
 o : เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ ม
d : ความลึกประสิ ทธิผลของคาน
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 57

หน่วยแรงยึดหน่วง (u) ที่คานวณได้ตอ้ งไม่เกินค่าที่กาหนดไว้ดงั ต่อไปนี้ ในกรณี ที่หน่วยแรงยึด


หน่ วงที่ เกิ ดจากแรงดัดในเหล็กเสริ มรับแรงอัด หรื อในเหล็กเสริ มรับแรงดึ ง ซึ่ งหน่ วยแรงยึดหน่ วงเกิ ด
จากการยึดปลายมีค่าน้อยกว่า 0.8 ของค่าที่ยอมให้ ไม่ตอ้ งนามาพิจารณา และมาตรฐาน ว.ส.ท. 6501 (ค)
กาหนดหน่วยแรงยึดหน่วงที่ยอมให้ในตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 หน่วยแรงยึดหน่วงที่ยอมให้


ตาแหน่ง เหล็กกลมผิวเรี ยบ : RB เหล็กข้ออ้อย : DB
เหล็กเสริ มรับแรงดึง :
เหล็กบน* 1.145 fc 
 11
; กก./ซม.2 2.29 fc  ; กก./ซม.2
 25
เหล็กอื่นๆ นอกจากเหล็กบน db db
1.615 fc 
 11
; กก./ซม.2
3.23 fc 
 35
; กก./ซม.2
db db

เหล็กเสริ มรับแรงอัด :
เหล็กบนและเหล็กอื่นๆ 0.86 fc  11 ; กก./ซม.2 1.72 fc  28 ; กก./ซม.2
* เหล็กบน: เหล็กเสริ มตามแนวนอนที่มีคอนกรี ตหล่ออยูใ่ ต้เหล็กเกินกว่า 30 เซนติเมตร ขึ้นไป

พฤติกรรมทางโครงสร้ างของพื้นยื่นหรื อคานยื่นภายใต้น้ าหนักบรรทุกใช้งาน พื้นยื่นหรื อคาน


ยื่นจะโก่ งตัวตามทิ ศทางของโมเมนต์ลบ (–M) ซึ่ งมีค่าสู งสุ ดที่ ฐานรองรับ ดังรู ปที่ 4.5 (ก) การแตกร้าว
ของคอนกรี ตเกิ ดขึ้นที่ หลังคานบริ เวณฐานรองรับ เนื่ องจากแรงดึ งที่เกิ ดจากการดัดโค้งของคาน ทาให้
เกิ ดการสู ญเสี ยแรงยึดหน่ วงระหว่างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ มที่บริ เวณดังกล่าว ดังนั้น นอกจากการเสริ ม
เหล็กรับแรงดึ งเพื่อต้านทานโมเมนต์ดดั แล้ว ต้องเพิ่มความยาวระยะฝั งของเหล็กเสริ มในการออกแบบ
พื้นหรื อคานยืน่ ด้วย ดังรู ปที่ 4.5 (ข) เพื่อทดแทนแรงยึดหน่วงระหว่างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ มที่สูญเสี ยไป
และป้ องกันการวิบ ตั ิ จากการรู ดของเหล็ก เสริ ม ความยาวระยะฝั งของเหล็กเสริ ม พิ จารณาจาก แรงยึ ด
หน่ วงระหว่ างคอนกรี ตกับเหล็กเสริ มที่ เพียงพอต่ อแรงดึงของเหล็กเสริ ม แรงยึดหน่วงคานวณจากหน่วย
แรงยึดหน่วง (u) คูณกับพื้นที่ ซึ่ งก็คือผลคูณของเส้นรอบรู ป (  ) กับความยาวระยะฝัง (L) ส่ วนแรงดึง
o

ของเหล็กเสริ ม คือพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม (As) คูณกับหน่วยแรงที่ยอมให้ของเหล็กเสริ ม (fs) ดังนี้

แรงยึดหน่วง :  o .L.u  db .L.u


และแรงดึงในเหล็กเสริ ม : Asfs  d b
2
fs
4
d b 2
เมื่อแรงยึดหน่วงเท่ากับแรงดึงของเหล็กเสริ ม : d b .L.u  fs
4

d b fs
ความยาวระยะฝัง : L
4u
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 58


M
(ก)

L L

(ข)

รู ปที่ 4.5 ความยาวระยะฝังของเหล็กเสริ ม

ตัวอย่ างที่ 3 จงออกแบบคานยื่น ระยะยื่นจากเสา 2.00 ม. รั บน้ าหนักแบบสม่ าเสมอเท่ากับ 500 กก./ม.
และน้ าหนักกระทาเป็ นจุดที่ปลายคานเท่ากับ 1,000 กก. ดังรู ป พร้อมทั้งหาระยะฝังเหล็กเสริ ม (L)
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

1,000 กก. วิธีทา ความลึกต่าสุ ดของคานยืน่ : L/8 = 0.25 ม.


500 กก./ม. เลือกขนาดหน้าตัดคาน : 0.20x0.40
(d = 0.33 ม., d' = 0.05 ม.)
2.00 ม. น้ าหนักคาน : 0.20x0.40x2,400 = 192 กก./ม.
น้ าหนักรวม : 500 + 192 = 692 กก./ม.
2,384 กก. วิเคราะห์ โครงสร้ าง
1,000 กก. Vmax = 2,384 กก.
S.F.D Vd = 2,155.64 กก.

Mmax = 3,384 กก–ม.
B.M.D.
3,384 กก–ม.
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 59

ค่าคงที่ในการออกแบบ
n  11, k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  10.99(0.20)332 = 2,393.62 กก–ม. < 3,384 กก–ม.
Mc < Mmax : ออกแบบคานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงและแรงอัด
Mc 2,393.62  100
As1   = 5.46 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)33
M max  M C 990.38 100
As 2   = 2.35 ซม.2
fs (d  d ' ) 1,500(33  5)
As  As1  As 2 = 7.81 ซม.2
เลือก : 4 DB 16 (As = 8.04 ซม.2)
1 (1  k ) 1 (1  0.345)
As '  As 2  (2.35)
2 d' 2 5
(k  ) (0.345  )
d 33
= 3.97 ซม.2
เลือก : 2 DB 16 (As = 4.02 ซม.2)

แรงเฉือนที่แนวหน้าตัดวิกฤต : Vd = 2,155.64 กก.


แรงเฉือนที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Vc  0.29 fc'bd  0.29 160 (20)(33)
= 2,421.03 กก. > Vd
ดังนั้น เสริ มเหล็กปลอกในปริ มาณต่าสุ ด : Av = 0.0015 bws
เลือกใช้เหล็ก  6 มม.
s
Av

0.565
= 18.83 ซม.  d
0.0015bw 0.0015(20) 2
เลือกใช้เหล็กปลอก  6 มม. @ 0.15 ม.

4 DB 16

ป  6 @ 0.15 ม.

2 DB 16
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 60

ตรวจสอบหน่วยแรงยึดหน่วง : u
Vd 2,155.64
u 
o . j.d 20.10(0.885  33)
= 3.67 กก./ซม.2
หน่วยแรงยึดหน่วงที่ยอมให้ : ua
2.29 fc ' 2.29 160
ua  
db 1.6
= 18.10 กก./ซม.2 > u

ระยะฝังเหล็กเสริ มในคอนกรี ต : L
d b . fs 1.6(1,500)
L   L ป  6 มม. @ 0.15 ม.
4u 4(18.10)
= 33.14 ซม.
= 0.35 ม.
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 61

4.3 แรงบิด (Torsion)


แรงบิดเกิ ดจากน้ าหนักบรรทุกกระทาเยื้องศูนย์ห่างออกจากแนวแกนขององค์อาคาร เช่ น คาน
รับพื้นระเบี ยง หรื อคานรับพื้นกันสาด ดังรู ปที่ 4.6 ซึ่ งจะเห็ นได้ว่าพื้นยื่นรับน้ าหนักบรรทุ กคงที่ (DL)
และน้ าหนักบรรทุ กจร (LL) เป็ นน้ าหนักแผ่แบบสม่ าเสมอแล้วถ่ายน้ าหนักไปยังคานที่เป็ นฐานรองรับ
แบบยึดแน่ น ให้ก ับ พื้ น ยื่น การรั บ น้ าหนักของคานรั บ พื้ น ยื่นจึ งมี ท้ งั แรงตามแนวดิ่ ง และโมเมนต์ดัด
กระทาตามความยาวคาน ซึ่ งโมเมนต์ดดั กระทาตามความยาวคานนี้เองก็คือแรงบิดหรื อโมเมนต์บิดที่ตอ้ ง
นามาพิจารณาคานวณออกแบบ เมื่ อองค์อาคารถู กโมเมนต์บิ ดกระท าจะท าให้เกิ ดหน่ วยแรงเฉื อนขึ้ น
สาหรับคานหน้าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า หน่วยแรงเฉื อนสู งสุ ดเกิดขึ้นที่ก่ ึงกลางของหน้าตัดคานแต่ละด้านแล้ว
ค่อยๆ ลดลงจนเป็ นศูนย์ที่มุมทั้งสี่ อย่างไรก็ตาม ส่ วนใหญ่มกั จะพบองค์อาคารที่ถูกแรงบิดกระทาร่ วมกับ
แรงอื่นๆ เช่น โมเมนต์ดดั และแรงเฉื อน ดังนั้น การออกแบบคานรับพื้นยื่นจะต้องออกแบบให้สามารถ
ต้านทานโมเมนต์ดดั และแรงเฉื อน ที่เกิดจากน้ าหนักบรรทุกอยูแ่ ล้ว ในกรณี ที่มีโมเมนต์ บิดเกิดร่ วมด้ วยก็
ให้ ทาการตรวจสอบว่ าขนาดหน้ าตัดคาน เหล็กเสริ มตามยาว และเหล็กปลอกที่เสริ ม ต้ านทานโมเมนต์ ดัด
และแรงเฉื อนแล้ วนั้น เพี ยงพอที่ จะต้ านทานโมเมนต์ บิด หรื อไม่ ถ้ าไม่ เพี ยงพอก็จาเป็ นต้ องเสริ มเหล็ก
ปลอกและเหล็กตามแนวยาวเพิ่มขึน้ เพื่อให้ คานสามารถต้ านทานโมเมนต์ บิดที่เกิดขึน้ ได้

w = DL+LL
1.00 ม.

w = DL +LL
w
Mt
L
Mt
V

รู ปที่ 4.6 การรับน้ าหนักของคานรับพื้นยืน่


แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 62

ขั้นตอนในการตรวจสอบ เริ่ ม จากการพิ จารณาแรงบิ ดสู งสุ ดที่ เกิ ดขึ้ นในคานที่ ระยะห่ างจาก
ฐานรองรับเท่ากับความลึกประสิ ทธิผลของคาน (d) และดาเนินการตามลาดับ ดังนี้
4.3.1 หน่ วยแรงบิดสาหรับรู ปตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า รู ปตัดตัวที และรู ปตัดตัวแอล หาค่าได้จาก
3.5M t
vt  ว.ส.ท. 6402 (ก)
 x2 y
โดย vt : หน่วยแรงบิด, Mt : โมเมนต์บิด
x, y : ด้านสั้นและด้านยาวของหน้าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ตามลาดับ

4.3.2 หน่ วยแรงบิ ดที่ ยอมให้ ไม่ เกิ น 1.32 fc ' (กก./ซม.2) และหน่ วยแรงบิ ดรวมกับหน่ วยแรง
เฉื อนยอมให้ ไม่ เกิน 1.65 fc ' (กก./ซม.2)
4.3.3 เมื่อหน่ วยแรงบิ ดโดยลาพัง หรื อหน่ วยแรงบิ ดรวมกับหน่ วยแรงเฉื อน เกิ นกว่ าหน่ วยแรง
เฉื อนที่ยอมให้ ของคอนกรี ต ( vc  0.29 fc' ) ต้ องเสริ มเหล็กส่ วนที่เกินนี ้ (ว.ส.ท. 6404)
ก) เสริ มเหล็กปลอกหรื อเหล็กลูกตั้ง ต้านทานแรงบิด คานวณจาก
M t .s
Av  หรื อ
2 Ac . f v
ข) เสริ มเหล็กปลอกเกลียว ต้านทานแรงบิด คานวณจาก
M t .s
Av  และ x
2 2 Ac . f v
ค) เสริ มเหล็กตามแนวยาวจัดวางตามมุม As
ขนาดไม่เล็กกว่า  12 มม. คานวณจาก
M t .z Av Ac y
As 
2 Ac . fs
As
โดย As : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มตามยาว
Av : พื้นที่หน้าตัดของเหล็กลูกตั้งหรื อเหล็กปลอก และเหล็กปลอกเกลียว
Ac : พื้นที่หน้าตัดคอนกรี ตภายในวงเหล็กลูกตั้งหรื อวงเหล็กปลอก
s : ระยะห่างเหล็กลูกตั้งหรื อเหล็กปลอกเกลียว
z : ค่าเฉลี่ยระยะระหว่างเหล็กเสริ มตามยาว
fv : หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของเหล็กปลอก
fs : หน่วยแรงดึงที่ยอมให้ของเหล็กเสริ มตามยาว
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 63

ตัวอย่ างที่ 4 จงออกแบบคานช่วงเดียวความยาว 4.00 ม. รับพื้นกันสาดหนา (t) 0.10 ม. ระยะยื่นจากคาน


1.00 ม. น้ าหนักบรรทุกจร (LL) 100 กก./ม.2 และคานรับผนังอิฐมอญครึ่ งแผ่นสู ง 0.50 ม. ตลอดความยาว
คาน ดังรู ป กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

0.50 ม.
1.00 ม.
t

1.00 ม.

คานช่วงเดียวรับพื้นกันสาดยาว 4.00 ม.

วิธีทา
น้ าหนักที่กระทากับพื้น :
wDL : 0.10 x 2,400 = 240 กก./ม.2 340 กก./ม.
wLL = 100 กก./ม.2
น้ าหนักรวม : w = 340 กก./ม.2 170 กก.–ม. 1.00 ม.
340 กก.
น้ าหนักที่กระทาบนคานในแนวดิ่ง : (เลือกขนาดคาน 0.15x0.35 ม.)
น้ าหนักจากพื้นลงคาน = 340 กก./ม.
น้ าหนักผนัง : 180 x 0.50 = 90 กก./ม.
น้ าหนักคาน : 0.15 x 0.35 x 2,400 = 126 กก./ม.
รวมน้ าหนักที่กระทาบนคาน : w = 556 กก./ม. 556 กก./ม.
โมเมนต์บิดที่กระทาตลอดความยาวคาน : Mt = 170 กก.–ม.

Mt = 170 กก.–ม
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 64

ออกแบบคานต้ านทานโมเมนต์ ดัดและแรงเฉื อน


วิเคราะห์ โครงสร้ าง

556 กก./ม,
ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885
2
4.00 ม. R  10.99 กก./ซม.

V = wL/2 = 1,112 กก.


โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
เลือกขนาดคาน 0.15x0.35 ม.
(d = 0.28 ม. , d' = 0.05 ม.)
Mc  Rbd 2  10.99(0.15)282
Mmax = wL2/8 = 1,112 กก.–ม. = 1,292.42 กก.–ม.
Mc > Mmax : คานเสริ มเหล็กรั บแรงดึงอย่ างเดียว
M max 1,112  100
. As  
fs. jd 1,500(0.885)28
= 2.99 ซม.2

เหล็กเสริ มต้านทานแรงเฉื อน (เหล็กปลอก)


แรงเฉื อนที่แนวหน้าตัดวิกฤต : Vd = 1,112 – (556x0.28) = 956.32 กก.
แรงเฉื อนที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Vc  0.29 fc'bd  0.29 160 (15)(28)
= 1,540.66 กก. > Vd
d
ดังนั้น เสริ มเหล็กปลอกในปริ มาณต่าสุ ด : Av = 0.0015 bws 
2
Av 0.565
เลือกใช้เหล็ก  6 มม. : s   = 25.11 ซม.
0.0015bw 0.0015(15)
เลือกใช้เหล็กปลอก  6 มม. @ 0.14 ม.

ตรวจสอบขนาดหน้ าตัดคานที่ออกแบบมีขนาดเพียงพอที่ จะต้ านแรงบิดได้ หรื อไม่ ?


โมเมนต์บิดสู งสุ ดเกิดขึ้นที่ระยะห่างจากฐานรองรับเท่ากับ d (d = 0.28 ม.)
4
M t  170(  0.28) = 292.4 กก.–ม.
2
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 65

หน่วยแรงบิดที่เกิดขึ้น
3.5M t 3.5(292.4  100)
vt   = 12.99 กก./ซม.2 < v  1.32 fc '
x y2
(15 )  35
2

ขนาดหน้ าตัดคาน 0.15x0.35 ม. สามารถต้ านทานโมเมนต์ บิดได้

หน่วยแรงเฉื อนที่หน้าตัดวิกฤต
Vd 956.32
vd   = 2.27 กก./ซม.2
bd (15)  28
หน่วยแรงบิดรวมกับหน่วยแรงเฉื อน : 12.99 + 2.27 = 15.26 กก./ซม.2
หน่วยแรงบิดรวมกับหน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้
2 2
v  1.65 fc '  1.65 160 = 20.87 กก./ซม. > 15.26 กก./ซม.
ขนาดหน้ าตัดคาน 0.15x0.35 ม. สามารถต้ านทานแรงเฉื อนรวมได้

หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ต
2
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม. < 15.26 กก./ซม.2
ต้ องเสริ มเหล็กปลอกและเหล็กเสริ มตามยาวรั บหน่ วยแรงส่ วนเกิน
เลือกเหล็กปลอกขนาด  9 มม. (Av = 0.636 ซม.2 )
2 AcAvfv 2(290)0.636(1,200)
s  = 15.13 ซม.
Mt (292.4  100)
เลือกใช้เหล็กปลอก  9 มม. @ 0.125 ม.
เหล็กเสริ มตามยาวที่ตอ้ งเพิ่มในแต่ละมุม
Mt z (292.4  100)19.5
As   = 0.655 ซม.2
2 Acfs 2(290)1,500
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึงทั้งหมด (เหล็กล่าง) : 2.99 + 2 (0.655) = 4.30 ซม.2
เลือก : 4 DB 12 (As = 4.52 ซม.2)
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มบนทั้งหมด (เหล็กบน) : 2 (0.655) = 1.31 ซม.2
เลือก : 2 DB 12 (As' = 2.26 ซม.2)
2 DB 12

ป  9 มม. @ 0.125 ม.

ขนาดหน้าตัดคาน 0.15x0.35 ม. 4 DB 12
แรงเฉื อน แรงยึดหน่ วง และแรงบิด 66

แบบฝึ กหัด

1. จากแบบฝึ กหัดบทที่ 3 โจทย์ขอ้ ที่ 3 จงวิเคราะห์โครงสร้างหาแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในคานและออกแบบ


เหล็กลูกตั้ง (เหล็กปลอก) ต้านทานแรงเฉื อน

2. เหล็กเสริ ม RB 15 ฝังในคอนกรี ต 60 ซม. ดังรู ป ถ้าหน่วยแรงยึดหน่วงที่ยอมให้เท่ากับ 11 กก./ซม.2


จงหา ก) แรงยึดหน่วงระหว่างคอนกรี ตและเหล็กเสริ ม
ข) แรงดึง T ที่ยอมให้สูงสุ ด T
ใช้ขอ้ กาหนดตามมาตรฐาน ว.ส.ท.
60 ซม.

3. จงคานวณหาระยะฝังเหล็กเสริ มในคานยืน่ (L) ดังรู ป


กาหนดให้ fc´ = 150 กก./ซม.2
0.20 ม.

4 RB 15 L
0.45 ม. ป  9 มม.
@ 0.15 ม.
2 RB 15

4. จงออกแบบพื้นยื่นรับน้ าหนัก 550 กก./ม. ระยะยื่นจากคานรองรับ 1.00 เมตร และคานรับพื้นยื่นเป็ น


คานช่วงเดียวยาว 2.50 เมตร ดังรู ป
กาหนดให้ fc´ = 150 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
ใช้ขอ้ กาหนดตามมาตรฐาน ว.ส.ท.

550 กก./ม. w

คาน
1.00 ม.
2.50 ม.
พื้นยืน่
คานรับพื้นยืน่
พืน้ และบันได 67

บทที่ 5
พืน้ และบันได

5.1 พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็ก


พื้นเป็ นส่ วนหนึ่ งของโครงสร้างอาคารทาหน้าที่รับน้ าหนักบรรทุกโดยตรง ทั้งน้ าหนักบรรทุก
คงที่ (DL) และน้ าหนักบรรทุกจร (LL) แล้วถ่ายน้ าหนักไปยังคาน หรื อเสา หรื อลงสู่ พ้ืนดินที่บดอัดแน่ น
พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กอาจแบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบมีคานรองรับ เช่น
พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว (One–way slabs) และพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง (Two–way slabs)
ประเภทที่สอง พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบไม่มีคานรองรับ เช่ น แผ่นพื้นไร้ คาน (Flat slabs) ซึ่ งจะถ่าย
น้ าหนักลงเสารองรับโดยตรง และพื้นวางบนดิน เป็ นต้น ในหัวข้อนี้ จะกล่าวถึง พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
ทางเดียว พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง พื้นคอนกรี ตสาเร็ จรู ป และพื้นวางบนดิน
5.1.1 พืน้ คอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว (One–way slabs) ลักษณะของแผ่นพื้นจะมีอตั ราส่ วนด้าน
สั้นต่อด้านยาวน้อยกว่า 0.5 ( S  0.5 ) หรื ออาจกล่าวได้วา่ เป็ นแผ่นพื้นที่มีดา้ นยาวมากกว่าสองเท่าของ
L
ด้านสั้น และมี ฐานรองรั บตลอดแนวยาวของแผ่นพื้นอย่างน้อยสองด้าน โดยฐานรองรับอาจเป็ นคาน
กาแพงคอนกรี ต หรื อคานเหล็กรู ปพรรณ ก็ได้ การเสี ยรู ปจากการรับน้ าหนักบรรทุกของแผ่นพื้นเสริ ม
เหล็กทางเดียวจะเกิดการดัดโค้งเนื่ องจากโมเมนต์ดดั ทางด้านสั้น ขณะที่ไม่มีการดัดโค้งทางด้านยาว ซึ่ ง
เป็ นการเสี ยรู ปลักษณะทรงกระบอก ดังรู ปที่ 5.1

L S

รู ปที่ 5.1 การเสี ยรู ปจากการรับน้ าหนักบรรทุกของแผ่นพื้นเสริ มเหล็กทางเดียว


พืน้ และบันได 68

ก) หลั ก เกณฑ์ ในการออกแบบ การออกแบบพื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ทางเดี ย วใช้


หลัก การเดี ยวกับ การออกแบบคานเสริ ม เหล็ ก รั บ แรงดึ งอย่างเดี ยว กล่ าวคื อ แผ่น พื้ นจะต้องสามารถ
ต้านทานโมเมนต์ดดั แรงเฉื อน และไม่เกิดการโก่งตัวเกินกว่าเกณฑ์กาหนดภายใต้น้ าหนักบรรทุกใช้งาน
โดยพิ จารณาวิเคราะห์ หาแรงภายในต่างๆ ที่ เกิ ดขึ้ นในแผ่นพื้ น ได้แก่ โมเมนต์ดัด และแรงเฉื อน จาก
ทางด้านสั้นที่อยูใ่ นแนวตั้งฉากกับที่รองรับ รวมถึงการหาแรงปฏิกิริยา ซึ่ งก็คือการถ่ายน้ าหนักจากพื้นลง
สู่ คานนัน่ เอง และการคานวณออกแบบแผ่นพื้นจะแบ่งออกเป็ นแถบกว้างทุกๆ 1.00 เมตร ดังนั้น แผ่นพื้น
จึงมีลกั ษณะคล้ายกับคานบางๆ ที่มีความกว้าง (b) เท่ากับ 1.00 เมตร ดังรู ปที่ 5.2 (สถาพร โภคา, 2544)
ทั้งนี้ ในการออกแบบอาจพิจารณาเป็ นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดี ยวแบบช่ วงเดี ยว หรื อแบบต่อเนื่ อง
หลายช่วงก็ได้ โดยมีช่วงว่างไม่เกิน 3.00 เมตร และหล่อพื้นเป็ นเนื้อเดียวกับที่รองรับ

w = DL+LL 1.00 ม. L w = DL+LL 1.00 ม.

S S S
b = 1.00 ม.

t As d

w = DL+ LL w = DL+LL

S Reaction S S

Shear (S.F.D.)

Moment (B.M.D.)

รู ปที่ 5.2 ลักษณะแผ่นพื้นและการพิจารณาหาแรงภายในพื้นจากทางด้านสั้น


พืน้ และบันได 69

ข) การเสริ มเหล็กในแผ่ นพื ้นเสริ มเหล็กทางเดี ยว เหล็กเสริ มหลักจะจัดวางตั้งฉากกับ


คานรองรั บพื้น เพื่อทาหน้าที่ ตา้ นทานโมเมนต์ดดั และถ่ ายน้ าหนักบรรทุ กจากแผ่นพื้นลงคานรองรั บ
M
พืน้ ที่ หน้ าตัดเหล็กเสริ มคานวณจากสู ตร : As  และต้ องมีปริ มาณไม่ น้อยกว่ าเหล็กเสริ มกันร้ าว
fs. jd
หรื อ ที่ เรี ยกอี ก ชื่ อ หนึ่ งว่า เหล็ ก เสริ ม ต้านทานการยืดหดตัวของคอนกรี ต (Temperature or Shrinkage
reinforcement : Ast) โดยเหล็กเสริ มกันร้าวจะวางทับบนเหล็กเสริ มหลักขนานกับฐานรองรับ ดังรู ปที่ 5.3
นอกจากนี้ มาตรฐาน ว.ส.ท. 3407 กาหนดให้เหล็กเสริ มกันร้าวหรื อเหล็กเสริ มต้านทานการยืดหดต้องมี
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 6 มิลลิ เมตร และวางเรี ยงให้มีระยะห่ างไม่เกิ น 3 เท่าของความหนา
พื้ น หรื อไม่ เกิ น 30 เซนติ เมตร โดยมี อตั ราส่ วนของพื้ น ที่ ห น้าตัดเหล็ ก เสริ ม กัน ร้ าวต่ อพื้ น ที่ ห น้าตัด
t
ทั้งหมดของแผ่นพื้น ( As ) ต้องไม่นอ้ ยกว่าค่าต่อไปนี้
bt
กรณี ใช้เหล็กเส้นกลม
ชั้นคุณภาพ SR 24 …..…0.0025 : Ast = 0.0025bt
กรณี ใช้เหล็กข้ออ้อย
ชั้นคุณภาพ SD 30 ….….0.0020 : Ast = 0.0020bt
ชั้นคุณภาพ SD 40 ….….0.0018 : Ast = 0.0018bt

Ast
As

รู ปที่ 5.3 การเสริ มเหล็กพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว


พืน้ และบันได 70

ค) ความหนาตา่ สุ ดของแผ่ นพื น้ เสริ มเหล็กทางเดี ยว (t) โดยทัว่ ไปความหนาของแผ่น


พื้นชนิดนี้ประมาณ 8–15 เซนติเมตร ซึ่ งจะขึ้นอยูก่ บั ค่าโมเมนต์ดดั แรงเฉื อน และการโก่งตัวของแผ่นพื้น
(มงคล จิรวัชรเดช, 2549) อย่างไรก็ตาม ในกรณี ที่ไม่ได้คานวณระยะโก่ง และเพื่อควบคุ มมิให้แผ่นพื้น
เสริ มเหล็กทางเดียวโก่งตัวมากเกินไป มาตรฐาน ว.ส.ท. 4500 กาหนดให้ใช้ความหนาต่าสุ ดของแผ่นพื้น
คอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว ดังนี้
กรณี ความหนาต่าสุ ด (t)
พื้นช่วงเดียว L/20
พื้นต่อเนื่องข้างเดียว L/24
พื้นต่อเนื่องสองข้าง L/28
พื้นยืน่ L/10
ในส่ วนของแรงเฉื อนที่เกิ ดขึ้นในแผ่นพื้นเสริ มเหล็กทางเดียวอาจพิจารณาหาแรงเฉื อน
สู งสุ ดที่ ตาแหน่ งห่ างจากฐานรองรับเท่ากับระยะความลึกประสิ ทธิ ผล (d) ของพื้นก็ได้ โดยตรวจสอบ
V
หน่ วยแรงเฉื อนที่ เกิ ดขึ้ นในแผ่นพื้นจากสู ตร : v  ต้องไม่เกิ นกว่าหน่ วยแรงเฉื อนที่ ยอมให้ของ
bd
คอนกรี ต : vc  0.29 fc ซึ่ งจะเป็ นตัวควบคุมความหนาพื้นของแผ่นพื้นอีกทางหนึ่ง

ขัน้ ตอนในการคานวณออกแบบพืน้ คอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว


1. เลือกความหนาพื้นเพื่อหาน้ าหนักบรรทุกคงที่ของพื้น โดยพิจารณาความหนาต่าสุ ดจากชนิ ด
ของพื้ น ที่ อ อกแบบซึ่ งไม่ ต้องตรวจสอบการโก่ ง ตัว รวมน้ าหนัก ที่ ก ระท ากับ แผ่น พื้ น แล้ววิเคราะห์
โครงสร้าง (Mmax, Vmax)
2. เลือกวัสดุ : กาลังอัดของคอนกรี ต (fc') และกาลังครากของเหล็กเสริ ม (fy)
3. คานวณหาค่าคงที่สาหรับการออกแบบ : n, k, j, และค่า R
4. ตรวจสอบความหนาพื้นที่เหมาะสม 2 กรณี (เลือกกรณี ใด กรณี หนึ่ง)
4.1 เปรี ยบเทียบค่า Mc  Rbd 2  M max
M max
4.2 ความลึกประสิ ทธิผลที่ตอ้ งการ : d 
R.b
M
5. คานวณหาปริ มาณพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As  max และพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มกันร้าว
fs. jd
: Ast = 0.0025bt (กรณี ใช้เหล็กเส้นกลม : SR 24)
V
6. ตรวจสอบหน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้น : v   0.29 fc
bd
7. เขียนรายละเอียดแสดงรายการเหล็กเสริ ม
พืน้ และบันได 71

ตัวอย่างที่ 1 จงออกแบบพื้นระเบียงอาคาร S ดังรู ป 1.50 ม.


กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
LL = 250 กก./ม.2 วัสดุปูพ้นื = 40 กก./ม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
วิธีทา m  S / L : 1.5 / 4.0 = 0.375 < 0.5 : One way slab S 4.00 ม.
ความหนาพื้นต่าสุ ดของพื้นช่วงเดียว
t  L / 20 : 1.5 / 20 = 0.075 ม. เลือกใช้ 0.08 ม.
น้ าหนักที่กระทากับพื้น
wDL : 0.08x2,400 = 192 กก./ม.2 S
wLL = 250 กก./ม.2 4.00 ม.
wวัสดุปูพ้ืน = 40 กก./ม.2 1.00 ม.
น้ าหนักรวม : w = 482 กก./ม.2

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ วิเคราะห์ โครงสร้ าง


n  11 , k  0.397 482 กก./ม.
2
j  0.867 , R  12.39 กก./ซม. นน. พื้นลงคาน
โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc 1.50 ม. 361.5 กก./ม.
Mc  Rbd 2  12.39(1.0)5.52
= 374.79 กก.–ม. > Mmax Vmax = 361.5 กก.
M max 135.56  100
As   = 2.37 ซม.2 S.F.D.
fs. jd 1,200(0.867)5.5
เลือกใช้  6 มม. @ 0.10 ม. (As = 2.82 ซม.2)
2
As t  0.0025bt : 0.0025  100  8 = 2.00 ซม. Mmax = 135.56 กก.–ม.
เลือกใช้  6 มม. @ 0.125 ม. (As = 2.25 ซม.2)
ตรวจสอบหน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้น : v B.M.D.
V 361.5
v  = 0.657 กก./ซม.2 < 0.29 fc '
bd (100)(5.5)

0.08 ม.

 6 มม. @ 0.10 ม.
 6 มม. @ 0.125 ม.
พืน้ และบันได 72

ตัวอย่างที่ 2 จงออกแบบพื้น S ดังรู ป


กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
LL = 300 กก./ม.2 วัสดุปูพ้นื = 60 กก./ม.2 S S
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท.ในการออกแบบ 5.00 ม.
วิธีทา m  S / L : 2.0 / 5.0 = 0.4 < 0.5 : One way slab 1.00 ม.
ความหนาพื้นต่าสุ ดของพื้นต่อเนื่ องสองช่วง
t  L / 24 : 2 / 24 = 0.083 ม. เลือกใช้ 0.10 ม.
น้ าหนักที่กระทากับพื้น 2.00 ม. 2.00 ม.
wDL : 0.10x2,400 = 240 กก./ม.2
wLL = 300 กก./ม.2 วิเคราะห์ โครงสร้ าง
wวัสดุปูพ้ืน = 60 กก./ม.2 600 กก./ม.
น้ าหนักรวม : w = 600 กก./ม.2
ผลการวิเคราะห์โครงสร้าง 2.00 ม. 2.00 ม.
 1 1
M  wL2  (600)2.0 2
14 14
= 171.42 กก.–ม. Vmax= 1.15 wL/2
1 1

M wL2  (600)2.0 2 S.F.D.
24 24
= 100.00 กก.–ม.
1 2 1

M max  wL  (600)2.0 2 1/14 1/14
9 9
= 266.67 กก.–ม. 1/24 1/24
wL (600  2)
Vmax  1.15  1.15 1/9 B.M.D
2 2
= 690.00 กก.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11, k  0.397 , j  0.867 , R  12.39 กก./ซม.2

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  12.39(1.0)7.52
= 696.93กก.–ม. > Mmax
พืน้ และบันได 73

คานวณหาพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มหลัก :

M 171.42  100

As   = 2.19 ซม.2
fs. jd 1,200(0.867)7.5
เลือกใช้  9 มม. @ 0.25 ม. (As = 2.54 ซม.2)

M 100.00  100

As   = 1.28 ซม.2
fs. jd 1,200(0.867)7.5
เลือกใช้  9 มม. @ 0.30 ม. (As = 2.12 ซม.2)

M max 266.67  100

As   = 3.41 ซม.2
fs. jd 1,200(0.867)7.5
เลือกใช้  9 มม. @ 0.175 ม. (As = 3.63 ซม.2)

คานวณหาพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มกันร้าว :
2
As t  0.0025bt  0.0025(100)10 = 2.50 ซม.
เลือกใช้  9 มม. @ 0.25 ม. (As = 2.54 ซม.2)

ตรวจสอบหน่วยแรงเฉื อน : v
V 690
v  = 0.92 กก./ซม.2 < 0.29 fc '
bd (100)(7.5)

ถ่ายน้ าหนักจากพื้นลงคาน
คานตัวริ ม = (600x2)/2 = 600 กก./ม.
คานตัวใน = 2 (600x2)/2 = 1,200 กก./ม.

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก
 9 มม.@ 0.25 ม.
 9 มม.@ 0.30 ม.  9 มม.@ 0.175 ม.

0.10 ม.

 9 มม.@ 0.25 ม.
พืน้ และบันได 74

5.1.2 พืน้ คอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง (Two–way slabs) ลักษณะของแผ่นพื้นจะมีอตั ราส่ วนด้าน
สั้นต่อด้านยาวมากกว่าหรื อเท่ากับ 0.5 ( S  0.5 ) และเป็ นแผ่น พื้นที่ มี คาน หรื อผนัง เป็ นฐานรองรั บ
L
โดยรอบทั้งสี่ ดา้ น การเสี ยรู ปจากการรับน้ าหนักบรรทุกของแผ่นพื้นเสริ มเหล็กสองทางจะเกิดการดัดโค้ง
ทั้งสองทิศทาง ดังแสดงในรู ปที่ 5.4

L S

รู ปที่ 5.4 การเสี ยรู ปจากการรับน้ าหนักบรรทุกของแผ่นพื้นเสริ มเหล็กสองทาง

ก) หลั ก เกณฑ์ ในการออกแบบ มาตรฐาน ว.ส.ท. เสนอวิธี ก ารค านวณออกแบบพื้ น


คอนกรี ต เสริ ม เหล็ก สองทางไว้ 3 วิธี แต่ ในที่ น้ ี จะกล่ าวถึ ง เฉพาะวิธี ที่ 2 ซึ่ งมี ข้ นั ตอนในการค านวณ
ออกแบบที่ทาได้สะดวกรวดเร็ ว กาหนดให้ น้ าหนักบรรทุกใช้งานกระทาบนแผ่นพื้นแบบแผ่สม่ าเสมอ
โดยน้ าหนักบรรทุกจร (LL) มีค่าไม่เกินกว่า 3 เท่าของน้ าหนักบรรทุกคงที่ (DL) และแบ่งพื้นที่ท้ งั ด้านสั้น
(S) และด้านยาว (L) เป็ นแถบกลางมีความกว้างครึ่ งหนึ่ งของช่วงพื้น และแถบเสามีความกว้างครึ่ งหนึ่ ง
ของช่วงพื้นเช่นกัน แต่ถูกแบ่งเป็ นสองส่ วนจึงเหลือเพียงหนึ่ งในสี่ ของช่วงพื้นที่อยูน่ อกแถบกลาง ดังรู ป
ที่ 5.5 ค่าโมเมนต์ดดั ที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นมีค่าเป็ นโมเมนต์บวก (+M) ที่เส้นแบ่งกึ่งกลางของช่วงพื้น ส่ วน
โมเมนต์ลบ (–M) ให้คิดที่ขอบโดยรอบของช่วงพื้นตรงขอบคานรองรับ ซึ่ งค่าโมเมนต์ดดั หาได้จากสู ตร :

M  cwS 2

โดยที่ M : ค่าโมเมนต์ดดั ในแผ่นพื้น c : ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของโมเมนต์


w : น้ าหนักบรรทุก S : ความยาวด้านสั้นของแผ่นพื้น
พืน้ และบันได 75

การกระจายโมเมนต์ในแผ่นพื้น ค่าโมเมนต์ดดั ในแถบเสาจะสมมติ ให้มีค่าลดลงแบบ


เชิ งเส้ นจากค่ าที่ หาได้ในแถบกลางเหลื อเพี ยงหนึ่ งในสามที่ ข อบของคานรองรั บ ดังนั้น ค่ าเฉลี่ ยของ
โมเมนต์ดดั ในแถบเสาจึงมีค่าเท่ากับสองในสามของโมเมนต์ดดั ในแถบกลาง ในกรณี ที่ค่าโมเมนต์ลบที่
ขอบคานรองรั บ ด้านใดน้อยกว่าร้ อยละ 80 ของโมเมนต์อีกด้านหนึ่ ง ให้นาค่าสองในสามของผลต่าง
โมเมนต์กระจายออกไปตามสัดส่ วนความแข็ง (Stiffness) ของแผ่นพื้น

แถบเสา แถบกลาง แถบเสา


แถบเสา MS S/4

– + –
แถบกลาง
ML MS ML
S/2 S
+
ML


แถบเสา MS S/4

L/4 L/2 L/4

2M/3
M
M/3
การกระจายโมเมนต์ในแผ่นพื้น

รู ปที่ 5.5 การแบ่งพื้นที่พ้ืนคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)

มาตรฐาน ACI และ ว.ส.ท. 9102 กาหนดให้ค่าสัมประสิ ทธิ์ ของโมเมนต์ (c) ที่ใช้ในการ
ออกแบบแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง วิธีที่ 2 แสดงในตารางที่ 5.1 ซึ่ งขึ้นอยู่กบั ความต่อเนื่ อง
ของแผ่น พื้ น โดยแบ่ ง ออกเป็ น 5 กรณี ดังรู ป ที่ 5.6 และยัง ขึ้ น อยู่ก ับ อัตราส่ วนด้านสั้ นต่ อ ด้านยาว (
m  S / L ) ของแผ่นพื้นอีกด้วย
พืน้ และบันได 76

ตารางที่ 5.1 ค่าสัมประสิ ทธิ์ของโมเมนต์ (c)


ช่วงสั้น
โมเมนต์ อัตราส่วนด้านสั้นต่อด้านยาว (m=S/L) ช่วงยาว
1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5
กรณี ที่ 1 พื้นภายใน
โมเมนตลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.033 0.040 0.048 0.055 0.063 0.083 0.033
– ด้านไม่ต่อเนื่อง – – – – – – –
โมเมนต์บวกที่กลางช่วง 0.025 0.030 0.036 0.041 0.047 0.062 0.025
กรณี ที่ 2 พื้นไม่ต่อเนื่องด้านเดียว
โมเมนตลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.041 0.048 0.055 0.062 0.069 0.085 0.041
– ด้านไม่ต่อเนื่อง 0.021 0.024 0.027 0.031 0.035 0.042 0.021
โมเมนต์บวกที่กลางช่วง 0.031 0.036 0.041 0.047 0.052 0.064 0.031
กรณี ที่ 3 พื้นไม่ต่อเนื่องสองด้าน
โมเมนตลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.049 0.057 0.064 0.071 0.078 0.090 0.049
– ด้านไม่ต่อเนื่อง 0.025 0.028 0.032 0.036 0.039 0.045 0.025
โมเมนต์บวกที่กลางช่วง 0.037 0.043 0.048 0.054 0.059 0.068 0.037
กรณี ที่ 4 พื้นไม่ต่อเนื่องสามด้าน
โมเมนตลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.058 0.066 0.074 0.082 0.090 0.098 0.058
– ด้านไม่ต่อเนื่อง 0.029 0.033 0.037 0.041 0.045 0.049 0.029
โมเมนต์บวกที่กลางช่วง 0.044 0.050 0.056 0.062 0.068 0.074 0.044
กรณี ที่ 5 พื้นไม่ต่อเนื่องสี่ ดา้ น
โมเมนตลบ – ด้านต่อเนื่อง – – – – – – –
– ด้านไม่ต่อเนื่อง 0.033 0.038 0.043 0.047 0.053 0.055 0.033
โมเมนต์บวกที่กลางช่วง 0.050 0.057 0.064 0.072 0.080 0.083 0.050

กรณี ที่ 4
กรณี ที่ 1 กรณี ที่ 5

กรณี ที่ 2 กรณี ที่ 3

รู ปที่ 5.6 ความต่อเนื่ องของแผ่นพื้นทั้ง 5 กรณี


พืน้ และบันได 77

ข) การเสริ มเหล็กในแผ่ นพืน้ คอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง มีลกั ษณะเป็ นเหล็กตะแกรง


คือเสริ มเหล็กทั้งด้านสั้นและด้านยาวของแผ่นพื้ น เพื่ อทาหน้าที่ ตา้ นทานโมเมนต์ดดั และถ่ ายน้ าหนัก
บรรทุกจากแผ่นพื้นลงคานรองรับ โดยวางตามตาแหน่ ง ดังรู ปที่ 5.7 พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มคานวณจาก
M
สู ตร : As  และจัดวางเหล็กเสริ มด้านสั้นซึ่ งรับโมเมนต์มากกว่าอยูด่ า้ นล่าง ส่ วนเหล็กเสริ มด้าน
fs. jd
ยาววางทับด้านบน และมาตรฐาน ว.ส.ท. 3404 กาหนดให้เหล็กเสริ มในแผ่นพื้นต้องมีระยะเรี ยงไม่ห่าง
กว่า 3 เท่าของความหนาพื้น หรื อไม่เกิน 30 เซนติเมตร

S/4 S/3

S/7 S/4

L/4 L/3

L/7 L/4

dด้านยาว dด้านสั้น

รู ปที่ 5.7 การเสริ มเหล็กในแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง


พืน้ และบันได 78

ค) ความหนาของแผ่ นพืน้ คอนกรี ตเสริ มเหล็กสองทาง (t) เพื่อควบคุ มมิให้แผ่นพื้นโก่ง


1
ตัวมากเกินไป ความหนาของพื้นเสริ มเหล็กสองทางต้องไม่นอ้ ยกว่า 8 เซนติเมตร และไม่นอ้ ยกว่า
180
ของเส้นรอบรู ปของแผ่นพื้นนั้น
ง) การถ่ า ยน้าหนั ก ลงคาน พื้ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก สองทางจะถ่ ายน้ า หนัก แบบแผ่
สม่ าเสมอลงคานรองรับทั้งสี่ ดา้ น โดยการแบ่งพื้นที่ จากการลากเส้นทามุม 45 องศา จากมุมทั้งสี่ ตดั กับ
เส้นแบ่งครึ่ งช่วงพื้นที่ขนานกับด้านยาว ดังรู ปที่ 5.8 ในส่ วนของแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นเสริ มเหล็ก
สองทาง อาจคานวณหาหน่ วยแรงในแผ่นพื้นได้จากการสมมติวา่ กระจายน้ าหนักบรรทุกไปยังที่รองรับ
โดยการแบ่งพื้นที่ จากการลากเส้ นท ามุ ม 45 องศา ทานองเดี ยวกับการถ่ ายน้ าหนักลงคาน แล้วท าการ
V
ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนจากสู ตร : v  โดยหน่ วยแรงเฉื อนที่ เกิ ดขึ้นในแผ่นพื้นต้องไม่เกิ นกว่า
bd
หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ต : vc  0.29 fc ซึ่ งจะเป็ นตัวควบคุมความหนาพื้นของแผ่นพื้น
อีกทางหนึ่ง

45০

wS/3 (wS/3)(3–m2)/2

S L
ด้ านสั้น ด้ านยาว

รู ปที่ 5.8 การถ่ายน้ าหนักลงคานรองรับ


พืน้ และบันได 79

ตัวอย่างที่ 3 จงออกแบบพื้น S1 และ S2 ดังรู ป


กาหนดให้ fc´ = 210 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
LL = 250 กก./ม.2 วัสดุปูพ้นื = 50 กก./ม.2 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

6.00 ม.

S2 4.20 ม.

S1
4.20 ม.

วิธีทา
m  S / L : 4.2 / 6.0 = 0.7 > 0.5 : Two way slab
1
ความหนาพื้นต่าสุ ด : t  (4.2  2  6.0  2) = 0.11 ม. เลือกใช้ 0.12 ม.
180
น้ าหนักที่กระทากับพื้น
wDL : 0.12x2,400 = 288 กก./ม.2
wLL = 250 กก./ม.2
wวัสดุปูพ้ืน = 50 กก./ม.2
น้ าหนักรวม : w = 588 กก./ม.2
พืน้ และบันได 80

ออกแบบต่ อความกว้ างพืน้ ทุกๆ 1.00 เมตร


ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  9, k  0.414 , j  0.862 , R  16.86 กก./ซม.2
โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  16.86(1.0)9.52 = 1,521.61 กก.–ม.

S1
พืน้ ต่ อเนื่องทั้งสี่ ด้าน
ตาแหน่ ง c M = cwS2 As เลือกเหล็กเสริ ม
(สปส.โมเมนต์ ) (กก.–ม.) (ซม.2)
ช่ วงสั้น
โมเมนต์ลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.055 570.47 5.80  9 มม. @ 0.10 ม.
โมเมนต์บวกที่ก่ ึงกลางช่วง 0.041 425.26 4.32  9 มม. @ 0.125 ม.
ช่ วงยาว
โมเมนต์ลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.033 342.28 3.84  9 มม. @ 0.15 ม.
โมเมนต์บวกที่ก่ ึงกลางช่วง 0.025 259.30 2.91  9 มม. @ 0.20 ม.

S2
พืน้ ต่ อเนื่องสามด้ าน
ตาแหน่ ง c M = cwS2 As เลือกเหล็กเสริ ม
(สปส.โมเมนต์ ) (กก.–ม.) (ซม.2)
ช่ วงสั้น
โมเมนต์ลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.062 643.08 6.54  9 มม. @ 0.095 ม.
– ด้านไม่ต่อเนื่อง 0.031 321.54 3.27  9 มม. @ 0.175 ม.
โมเมนต์บวกที่ก่ ึงกลางช่วง 0.047 487.49 4.96  9 มม. @ 0.125 ม.
ช่ วงยาว
โมเมนต์ลบ – ด้านต่อเนื่อง 0.041 425.26 4.78  9 มม. @ 0.125 ม.
– ด้านไม่ต่อเนื่อง – – – –
โมเมนต์บวกที่ก่ ึงกลางช่วง 0.031 321.54 3.61  9 มม. @ 0.175 ม.

ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อน
wL (1,033.11  6.0)
V  1.15 : 1.15 = 3,564.22 กก.
2 2
V 3,564.22
v : = 3.75กก./ซม.2 < 0.29 fc ' ใช้ได้
bd (100)(9.5)
พืน้ และบันได 81

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก :

S1  9 มม. @ 0.10 ม.  9 มม. @ 0.10 ม.

 9 มม. @ 0.125 ม.
 9 มม. @ 0.20 ม.
1.40 ม. 1.40 ม.
4.20 ม.

S2
 9 มม.@ 0.175 ม.  9 มม. @ 0.095 ม.

 9 มม. @ 0.175 ม.  9 มม. @ 0.125 ม.


1.00 ม. 1.40 ม.
4.20 ม.

ถ่ ายนา้ หนักจากพืน้ ลงคานรองรั บ


wS 588(4.20)
น้ าหนักลงคานด้านสั้น :  = 823.2 กก./ม.
3 3
wS (3  m 2 ) (3  0.7 2 )
น้ าหนักลงคานด้านยาว : .  823.2 = 1,033.11 กก./ม.
3 2 2

ด้านยาว (6.00 ม.)


S2
ด้านสั้น
(4.20 ม.)
พืน้ และบันได 82

5.1.3 พื ้นส าเร็ จรู ป (Plank slab) เป็ นแผ่นพื้ นคอนกรี ตอัดแรงที่ มี รูป ตัดสี่ เหลี่ ยมผืนผ้าเหมื อน
แผ่นกระดาน โดยทัว่ ไป มีความกว้างประมาณ 35 เซนติเมตร ความหนาประมาณ 5 เซนติเมตร และมี
ความยาวหลายขนาด โดยสามารถเลื อกใช้ ไ ด้ภายใต้น้ าหนัก บรรทุ ก ใช้งานที่ ออกแบบไว้ตามความ
เหมาะสม ปั จจุบนั นิ ยมใช้แผ่นพื้นสาเร็ จรู ปกับงานอาคารทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บ้านพักอาศัย เพราะ
ทางานได้สะดวกรวดเร็ ว โดยนาแผ่นพื้นมาวางชิ ดกันแล้วเชื่ อมประสานแผ่นพื้นให้เป็ นเนื้ อเดียวกันด้วย
คอนกรี ตทับ หน้า (Concrete topping) หนาประมาณ 5.0–6.0 เซนติ เมตร และเสริ มเหล็กต้านทานการ
แตกร้ า วที่ เกิ ด จากการยื ด หดตัว ของคอนกรี ต เนื่ อ งจากการเปลี่ ย นแปลงของอุ ณ หภู มิ โดยอาจใช้
หลัก เกณฑ์ เดี ย วกับ การค านวณพื้ น ที่ ห น้ าตัดเหล็ ก เสริ ม กัน ร้ าวของพื้ น เสริ ม เหล็ ก ทางเดี ย ว หรื อ ใช้
ตะแกรงลวดเหล็กสาเร็ จรู ป (Weld wire reinforcement, WWR หรื อ Wire mesh) ก็ได้ แผ่นพื้นสาเร็ จรู ป
ถูกออกแบบให้วางพาดบนช่วงคานสองข้าง ดังนั้น น้ าหนักบรรทุกจากแผ่นพื้น (w = wDL+ wLL) จะถ่ายลง
คานรองรับด้านที่แผ่นพื้นวางพาดตั้งฉากกับคานทั้งสองข้าง เป็ นน้ าหนักแผ่แบบสม่าเสมอเท่าๆ กัน รู ปที่
5.9 แสดงลักษณะและการวางแผ่นพื้นสาเร็ จรู ป

www.concretecpac.amawebs.com

คอนกรี ตทับหน้า (Concrete topping)

ตะแกรงลวดเหล็กสาเร็จรู ป

คานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก

แผ่นพื้นสาเร็ จรู ป

รู ปที่ 5.9 ลักษณะและการวางแผ่นพื้นสาเร็ จรู ป


พืน้ และบันได 83

5.1.4 พื ้นวางบนดิ น (Slab on ground) พื้นรอบบริ เวณบ้านพักอาศัย โรงจอดรถ หรื อแม้แต่พ้ื น


ชั้นล่างบ้านพักอาศัย อาจออกแบบเป็ นพื้นวางบนดินเพื่อลดน้ าหนักบรรทุกให้กบั อาคาร พื้นวางบนดิ น
ท าหน้าที่ รับ น้ า หนัก แผ่ก ระจายแล้วถ่ ายน้ า หนัก ลงสู่ พ้ื น ดิ น โดยตรง ดังนั้น พื้ น ดิ น ที่ รองรั บ จะต้อ ง
ปรับปรุ งโดยการบดอัดให้แน่นเพื่อป้ องกันไม่ให้พ้ืนเกิดการทรุ ดตัว และเสริ มเหล็กต้านทานการแตกร้าว
ที่ เกิ ด จากการยืด หดตัว ของคอนกรี ตเนื่ องจากการเปลี่ ย นแปลงของอุ ณ หภู มิ โดยอาจใช้ห ลัก เกณฑ์
เดี ยวกับการคานวณพื้นที่ หน้าตัดเหล็กเสริ มกันร้ าวของพื้นเสริ มเหล็กทางเดี ยว ตัวอย่างเช่ น ถ้าเลื อกใช้
เหล็กกลมผิวเรี ยบ ชั้นคุ ณภาพ SR 24 : Ast = 0.0025bt และเสริ มเป็ นลักษณะเหล็กตะแกรงวางด้านบน
ของพื้น ดังรู ปที่ 5.10 ปั จจุบนั นิ ยมใช้ตะแกรงลวดเหล็กสาเร็ จรู ป (Wire mesh) ซึ่ งสามารถทาได้สะดวก
รวดเร็ ว อย่างไรก็ตาม ควรตัดแบ่ งแผ่นพื้ นวางบนดิ นออกเป็ นช่ วงๆ แบบแยกอิ ส ระออกจากกัน ทั้งนี้
ขึ้นอยูก่ บั ความเหมาะสมของพื้นที่ใช้งานด้วย

พืน้ ภายใน : พื้นชั้นล่างบ้านพักอาศัย 2.5 ซม.

GB ทรายหยาบบดอัดแน่น GB

พืน้ ภายนอก : พื้นบริ เวณรอบบ้านและที่จอดรถ

ทรายหยาบบดอัดแน่น

ทรายหยาบบดอัดแน่น GB

รู ปที่ 5.10 พื้นวางบนดิน


พืน้ และบันได 84

5.2 บันไดคอนกรีตเสริมเหล็ก
บันไดเป็ นโครงสร้างที่มีลกั ษณะคล้ายแผ่นพื้นใช้เชื่ อมต่อทางขึ้นลงระหว่างชั้นในอาคาร โดยมี
ขั้นบันไดส่ วนลูกนอนกว้างประมาณ 25–30 เซนติเมตร และลูกตั้งสู งประมาณ 15–20 เซนติเมตร รู ปแบบ
ของบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็กอาจเป็ นแบบพาดทางช่วงกว้าง หรื อพาดทางช่วงยาวระหว่างคานที่รองรับ
หรื อบันไดยื่นจากคาน ดังรู ปที่ 5.11 การออกแบบบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็กจะใช้หลักการเดียวกับการ
ออกแบบแผ่นพื้น กล่าวคือ บันไดจะต้องสามารถต้านทานโมเมนต์ดดั แรงเฉื อน และโมเมนต์บิด (ถ้ามี)
นอกจากนี้ สิ่ งที่ควรคานึงคือการเสริ มเหล็กปลายบันไดที่เชื่ อมต่อกับคานหรื อแผ่นพื้นระหว่างชั้นจะต้อง
ต่อเนื่องสอดคล้อง สามารถส่ งถ่ายแรงและรับน้ าหนักบรรทุกใช้งานได้อย่างปลอดภัย

(ก) บันไดพาดช่วงกว้าง (ข) บันไดพาดช่วงยาว


ระหว่างคานแม่บนั ได

(ค) บันไดยืน่ จากคานชิดกาแพง

รู ปที่ 5.11 บันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็ก (มงคล จิรวัชรเดช, 2549)

5.2.1 บันไดพาดช่ วงกว้ างระหว่ างคานแม่ บันได ลักษณะรู ปแบบของบันไดเหมือนกับพื้นเสริ ม


เหล็ ก ทางเดี ย วซึ่ งมี ค านรองรั บ สองข้า งของความกว้างบัน ได ดังรู ป ที่ 5.11 (ก) ดัง นั้น การค านวณ
ออกแบบจึงเหมือนกับการออกแบบพื้นเสริ มเหล็กทางเดียว โดยพิจารณาหาแรงภายในต่างๆ ทางด้านสั้น
แบบพื้นช่ วงเดี ยว และเหล็กเสริ มต้านทานโมเมนต์ดดั (As) วางด้านล่ างตั้งฉากกับคานแม่บนั ได ส่ วน
เหล็กเสริ มต้านทานการแตกร้าว (Ast) วางด้านบนขนานกับคานแม่บนั ได และฝังยึดกับคานที่รองรับ
พืน้ และบันได 85

ตัวอย่างที่ 4 จงออกแบบบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็กกว้าง 2.00 เมตร วางพาดช่วงกว้างระหว่างคานแม่


บันไดสองข้าง ลูกนอนบันไดกว้าง 0.25 เมตร ลูกตั้งบันไดสู ง 0.15 เมตร
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
LL = 300 กก./ม.2 วัสดุปูพ้นื = 40 กก./ม.2 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
วิธีทา
ความหนาบันไดต่าสุ ด (ลักษณะเดียวกับพื้นช่วงเดียว)
t  L / 20 : (2.00 / 20) = 0.10 ม. เลือกใช้ 0.10 ม.
น้ าหนักที่กระทากับบันได
252  152
น้ าหนักพื้นบันได : 0.10   2,400 = 280 กก./ม.2
25
น้ าหนักขั้นบันได : 0.50 (0.15)2,400 = 180 กก./ม.2
น้ าหนักวัสดุปูพ้นื = 40 กก./ม.2
น้ าหนักบรรทุกจร = 300 กก./ม.2
น้ าหนักรวม : w = 800 กก./ม.2

วิเคราะห์ โครงสร้ าง : ออกแบบต่ อความกว้ างพืน้ ทุกๆ 1.00 เมตร


800 กก./ม.

2.00 ม.
800 กก. 800 กก.
Vmax=wL/2 = 800 กก.
S.F.D.

2.00 ม. Mmax = wL2/8 = 400 กก.–ม.

B.M.D.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.397 , j  0.867 , R  12.39 กก./ซม.2

โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  12.39(1.0)7.02 = 607.11 กก.–ม. > Mmax
พืน้ และบันได 86

ปริ มาณเหล็กเสริ ม : As
M max 400  100
As   = 5.12 ซม.2
fs. jd 1,200(0.867)7.5
เลือกใช้  9 มม. @ 0.10 ม. (As = 6.36ซม.2)
2
As t  0.0025bt  0.0025(100)10 = 2.50 ซม.
เลือกใช้  9 มม. @ 0.25 ม. (As = 2.54 ซม.2)

ตรวจสอบหน่วยแรงเฉื อน : v
V 800
v  = 1.14 กก./ซม.2 < 0.29 fc '
bd (100)(7.0)

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก
 9 มม. @ 0.10 ม.

0.10 ม.

 9 มม. @ 0.25 ม.

2.00 เมตร

 9 มม. @ 0.25 ม.

 9 มม. ทุกมุม

0.10 ม.  9 มม. @ 0.10 ม.

 9 มม. @ 0.25 ม.
พืน้ และบันได 87

5.2.2 บันไดพาดช่ วงยาว ลักษณะรู ปแบบของบันไดเป็ นแผ่นพื้นเสริ มเหล็กทางเดียวพาดช่วงยาว


ระหว่างคานรองรับ กับคานชานพักบันได ดังรู ปที่ 5.11 (ข) ซึ่ งท้องบันไดอาจเป็ นแบบเรี ยบหรื อแบบพับ
ผ้าก็ได้ ดังนั้น การคานวณออกแบบจึงเหมือนกับการออกแบบพื้นเสริ มเหล็กทางเดี ยว โดยพิจารณาหา
แรงภายในแผ่นพื้นจากช่วงยาวระหว่างคานรองรับโดยใช้ระยะแนวราบ เสริ มเหล็กลักษณะเดี ยวกับพื้น
คอนกรี ตเสริ มเหล็กทางเดียว และฝังยึดเข้ากับคานที่รองรับ

ตัวอย่ างที่ 5 จงออกแบบบันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็กวางพาดช่ วงยาว โดยมีช่วงยาวระหว่างคานรองรั บ


2.75 เมตร ดังรู ป ลูกนอนบันไดกว้าง 25 เซนติเมตรลูกตั้งสู ง 20 เซนติเมตร
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2 f y = 3,000 กก./ซม.2
LL = 300 กก./ม.2 วัสดุปูพ้นื = 60 กก./ม.2 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

1.00 ม.

1.00 ม.

1.75 ม. 1.00 ม.
วิธีทา
ความหนาบันไดต่าสุ ด : t  L / 20
t  2.75 / 20 = 0.13 ม. เลือกใช้ 0.15 ม. (d = 0.125 m.; Covering : 2.5 cm.)
น้ าหนักที่กระทากับบันได
20 2  252
น้ าหนักพื้นบันได : 0.15   2,400 = 461 กก./ม.2
25
น้ าหนักขั้นบันได : 0.50 (0.20)2,400 = 240 กก./ม.2
น้ าหนักวัสดุปูพ้นื = 60 กก./ม.2
น้ าหนักบรรทุกจร = 300 กก./ม.2
น้ าหนักรวม : w = 1,061 กก./ม.2
พืน้ และบันได 88

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2

วิเคราะห์ โครงสร้ าง : ออกแบบต่ อความกว้ างพืน้ ทุกๆ 1.00 เมตร

1,061 กก./ม.
โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
2.75 ม. Mc  Rbd 2  10.99(1.0)12.52
= 1,717.18 กก./ซม.2 > Mmax
Vmax= wL/2 = 1,458.87 กก.
หรื อตรวจสอบความลึกประสิ ทธิผล (d) ที่ตอ้ งการ
M max 1,002.97  100
d 
Rb 10.99  100
Mmax = wL2/8 = 1,002.97 กก.–ม. = 9.55 ซม. < 12.5 ซม. ok

ปริ มาณเหล็กเสริ ม : As
M max 1,002.97  100
As   = 6.04 ซม.2
fs. jd 1,500(0.885)12.5
เลือกใช้ DB 12 มม. @ 0.175 ม. (As = 6.45 ซม.2,  o = 21.54 ซม.)
2
As t  0.0025bt : 0.0025(100)15 = 3.75 ซม.
เลือกใช้  9 มม. @ 0.15 ม. (As = 4.24 ซม.2)

เส้นรอบรู ปที่ตอ้ งการ


V 1,458.87 3.23 fc '
 o  
u. jd 34.04(0.885  12.5)
, u
db
= 34.04 กก./ซม.2
= 3.87 ซม. < 21.54 ซม. ใช้ได้

ตรวจสอบหน่วยแรงเฉื อน : v
V 1,458.87
v  = 1.16 กก./ซม.2 < 0.29 fc '
bd (100)(12.5)
พืน้ และบันได 89

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

 9 มม.@ 0.15 ม.

เหล็กลูกขั้น  9 มม. @ 0.20ม.

เหล็กยึดขั้น  9 มม. ทุกมุม t = 0.15 ม. DB 12 @ 0.175 ม.

 9 มม.@ 0.15 ม.

DB 12 @ 0.175 ม.
พืน้ และบันได 90

แบบฝึ กหัด

1. จงออกแบบพื้นเสริ มเหล็กทางเดียว ดังรู ป


กาหนดให้ fc' = 210 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
wLL= 250 กก./ม.2 ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

1.00

2.00
2.00 ม. 1.00 ม.
5.00 ม.

2. จงออกแบบพื้นเสริ มเหล็กทางเดียว s ดังรู ป


กาหนดให้ fc' = 180 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
wLL = 300 กก./ม.2 น้ าหนักวัสดุปูพ้นื = 50 กก./ม.2

8.00 ม.
2.0 2.0 2.0 2.0

6.00 ม.
s s s s
พืน้ และบันได 91

3. จงออกแบบพื้นเสริ มเหล็กสองทาง s ดังรู ป


กาหนดให้ fc' = 180 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2
wLL = 300 กก./ม.2 น้ าหนักวัสดุปูพ้นื = 60 กก./ม.2

3.60 ม. 3.60 ม.

4.80 ม. s s

4. จงออกแบบบันไดยืน่ ท้องเรี ยบกว้าง 1.20 ม. ปลายยืน่ จากคาน ดังรู ป


กาหนดให้ fc' = 210 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2 wLL = 300 กก./ม.2
ลูกตั้งบันไดสู ง 18 ซม. และลูกนอนกว้าง 25 ซม.

คาน
1.20 ม.

4 @ 0.25 = 1.00 ม.
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 92

บทที่ 6
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

เสาเป็ นองค์อาคารที่รับแรงอัดเป็ นหลัก หรื ออาจรับแรงอัดร่ วมกับโมเมนต์ดดั ซึ่ งเป็ นผลมาจาก


แรงเยื้องศูนย์ หรื อแรงกระทาทางด้านข้าง เช่น แรงลม เป็ นต้น เนื่องจากพฤติกรรมทางโครงสร้างของเสา
จะทาหน้าที่เป็ นฐานรองรับ ของคานหรื อพื้น และทาหน้าที่ ถ่ายน้ าหนักบรรทุ กนั้นให้กบั เสาต้นต่อไป
จนถึ งชั้นฐานราก เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบ่งออกได้เป็ นสองประเภท คือ เสาสั้น (Short column) และ
เสายาวหรื อเสาชะลูด (Slender column) พฤติกรรมในการรับน้ าหนักของเสาทั้งสองทาให้เกิดการวิบตั ิที่
แตกต่างกัน ดังนั้น ในการออกแบบเสาจึงต้องพิจารณาทั้งพฤติกรรมการรับแรงของเสาและประเภทของ
เสาควบคู่กนั รู ปแบบของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กอาจออกแบบให้มีรูปตัดกลม หรื อรู ปตัดสี่ เหลี่ ยมทั้ง
แบบสี่ เหลี่ยมจัตุรัสและสี่ เหลี่ยมผืนผ้าก็ได้ มีเหล็กเสริ มหลักที่เรี ยกว่าเหล็กยืนตามความยาวเสาเพื่อช่วย
รับน้ าหนักร่ วมกับคอนกรี ต และมีเหล็กเสริ มทางขวางที่เรี ยกว่าเหล็กปลอกยึดรอบเหล็กยืนโดยอาจเป็ น
ปลอกเดี่ยวรู ปสี่ เหลี่ยมเว้นห่ างเป็ นระยะๆ เรี ยกว่าเสาปลอกเดี่ยว ดังรู ป 6.1 (ก) หรื อมีลกั ษณะวงกลมเป็ น
ปลอกเกลียวพันรอบเหล็กยืน เรี ยกว่าเสาปลอกเกลียว ดังรู ป 6.1 (ข) และเสาที่ใช้เหล็กรู ปพรรณเสริ มเพิ่ม
แกนกลางเสา ดัง รู ป 6.1 (ค) ซึ่ งเรี ย กเสาแบบนี้ ว่ า เสาคอนกรี ต เชิ ง ประกอบ (Composite columns)
(Edward G. Nawy., 2009)

ปลอกเดี่ยว ปลอกเกลียว ปลอกเกลียว

เหล็กยืน เหล็กยืน แกนเหล็ก

(ก) เสาปลอกเดี่ยว (ข) เสาปลอกเกลียว (ค) เสาเชิงประกอบ

รู ปที่ 6.1 รู ปแบบของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก (Edward G. Nawy., 2009)


เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 93

6.1 เสาสั้ นรับนา้ หนักตามแนวแกน


เสาสั้ น (Short columns) เป็ นเสาที่ มี อ ัต ราส่ ว นความชะลู ด น้อ ย (Slenderness ratio : h/r) โดย
พิจารณาจากอัตราส่ วนความสู งของเสาต่อด้านแคบสุ ดของเสาไม่เกิน 15 (h/t≤ 15) กาลังรับน้ าหนักของ
เสาสั้ น ขึ้ น อยู่ก ับ ก าลังของวัส ดุ และพื้ นที่ ห น้าตัดเสา กล่ าวคื อ ความสามารถในการรั บ น้ าหนักเสา P
เท่ากับกาลังรับน้ าหนักโดยคอนกรี ต (PC) ร่ วมกับเหล็กเสริ ม (PS) ซึ่ งหาได้จากหน่ วยแรงของวัสดุ คูณ
พื้นที่หน้าตัดวัสดุ ดังรู ปที่ 6.2 (มงคล จิรวัชรเดช, 2549)

P P


Ast

Section A–A A A fc‫׳‬ Pc  fc( Ag  Ast )


(Area = Ag) fy fy Ps  fy. Ast
P  Pc  Ps  fc( Ag  Ast )  fy. Ast

รู ปที่ 6.2 กาลังรับน้ าหนักของเสาสั้น (มงคล จิรวัชรเดช, 2549)

เมื่อเสาเริ่ มรับน้ าหนักเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กจะหดตัวเล็กน้อยตามแนวแกนเท่ากับ  และเบ่ง


ตัวหรื อขยายตัวออกทางด้านข้าง และเมื่อเสารับน้ าหนักเพิ่มขึ้นจนกระทัง่ เกินขีดความสามารถของกาลัง
วัสดุ เสาจะเกิดการวิบตั ิ ซึ่ งคอนกรี ตผิวนอกที่หุ้มเหล็กเสริ มจะเกิดการแตกร้าวลักษณะคล้ายกับตัวอย่าง
ทดสอบกาลังอัดของคอนกรี ต อย่างไรก็ตาม เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กยังมีเหล็กเสริ มทางขวางหรื อเหล็ก
ปลอก ซึ่ งอาจเป็ นเหล็กปลอกเดี่ยวหรื อปลอกเกลียวเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญ เพราะนอกจากจะช่วยยึด
เหล็กยืนให้อยูใ่ นตาแหน่งเพื่อช่วยคอนกรี ตรับแรงแล้ว ยังส่ งผลให้มีพฤติกรรมแบบเหนียวและทาให้การ
วิบตั ิของเสามีความแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่ น เสาปลอกเดี่ยว เมื่อคอนกรี ตผิวนอกที่หุ้มเหล็กเสริ ม ถูกอัด
จนแตกหลุ ดร่ อนออก เหล็กยืนจะมี แนวโน้มที่ จะเกิ ดการโก่งเดาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าระยะห่ างของ
เหล็กปลอกมากเกินไปเหล็กยืนจะเกิดการโก่งเดาะและเกิดการวิบตั ิทนั ที ดังรู ปที่ 6.3 (ก) แต่ถา้ เสริ มเหล็ก
ปลอกเดี่ยวถี่ๆ กาลังรับน้ าหนักของเสาจะค่อยๆ ลดลงหลังจากที่คอนกรี ตหุม้ ผิวถูกแรงอัดจนกะเทาะออก
ทาให้เสามี มีพฤติกรรมแบบเหนี ยวก่ อนเกิ ดการวิบตั ิ ลักษณะเดี ยวกับเสาปลอกเกลียวเมื่อคอนกรี ตผิว
นอกที่หุม้ เหล็กเสริ มแตกออกแต่ปลอกเกลียวยังคงรัดคอนกรี ตภายในไว้ ดังแสดงในรู ปที่ 6.3 (ข)
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 94

คอนกรี ตหุ้ม
เหล็กยืนโก่งเดาะ
กะเทาะออก

(ก) เสาปลอกเดี่ยว (ข) เสาปลอกเกลียว

รู ปที่ 6.3 ลักษณะการวิบตั ิของเสา (มงคล จิรวัชรเดช, 2549)

มาตรฐาน ว.ส.ท. 6602 ถึ ง 6606 เสนอสู ตรคานวณหาน้ าหนักปลอดภัยตามแนวแกนของเสา


คอนกรี ตเสริ มเหล็กรู ปแบบต่างๆ ดังนี้

6.1.1 เสาปลอกเกลี ยว เสาที่มีปลอกเกลียวพันถี่ๆ รอบเหล็กตามแนวยาวที่เรี ยกว่าเหล็กยืนของ


เสาในแนวดิ่ง คานวณหาน้ าหนักปลอดภัยตามแกน ดังนี้

P  Ag (0.25 fc ' fs g )

โดยที่ P : น้ าหนักปลอดภัยตามแกน
Ag : พื้นที่หน้าตัดเสา
fc‫ ׳‬: กาลังของคอนกรี ต
fs : หน่วยแรงของเหล็กเสริ ม (0.40fy)
 g : อัตราส่ วนเหล็กยืนต่อพื้นที่หน้าตัดเสา (Ast/Ag)
Ast
และเมื่อแทนค่า  g  ลงในสู ตร จะได้
Ag
Ast
P  Ag (0.25 fc ' fs )
Ag
= 0.25 fc ' Ag  fsAst

แสดงให้เห็ นถึงกาลังรับน้ าปลอดภัยของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กได้จากกาลังที่รับโดยคอนกรี ต


ร่ วมกับเหล็กเสริ ม (Ast : พื้นที่หน้าตัดของเหล็กยืนทั้งหมดในเสา)

6.1.2 เสาปลอกเดี่ ยว เป็ นเสาที่เสริ มเหล็กตามแนวยาวที่เรี ยกว่าเหล็กยืน และมีเหล็กปลอกเดี่ยว


เว้นห่างเป็ นระยะๆ ให้รับน้ าหนักปลอดภัยสู งสุ ดตามแกนเท่ากับร้อยละ 85 ของเสาปลอกเกลียว

P  0.85 Ag (0.25 fc ' fs g )


เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 95

โดยที่ P : น้ าหนักปลอดภัยตามแกน
Ag : พื้นที่หน้าตัดเสา
fc‫ ׳‬: กาลังของคอนกรี ต
fs : หน่วยแรงของเหล็กเสริ ม (0.40fy)
 g : อัตราส่ วนพื้นที่หน้าตัดเหล็กยืนต่อพื้นที่หน้าตัดเสา (Ast/Ag)

6.1.3 เสา ค.ส.ล.แกนเหล็ก เป็ นเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กตามแนวยาวและใช้เหล็กปลอกเกลียวพัน


รอบโดยมีแกนเป็ นเหล็กรู ปพรรณหรื อเหล็กหล่อ รับน้ าหนักปลอดภัยได้ไม่เกิน

P  0.225 Ag fc ' fsAst  f r Ar

โดยที่ fr : หน่วยแรงที่ยอมให้ของแกนเหล็กรู ปพรรณแต่ตอ้ งไม่เกิน 1,200 กก./ซม.2 สาหรับเหล็ก มอก.


116–2529 ชั้นคุณภาพ Fe 24 หรื อ 700 กก./ซม.2 สาหรับแกนที่ทาด้วยเหล็กหล่อ
Ar : พื้นที่หน้าตัดแกนเหล็กรู ปพรรณต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของพื้นที่หน้าตัดเสา ถ้าใช้แกนโลหะ
กลวงต้องเทคอนกรี ตภายในให้เต็มทุกๆ จุดตลอดเสาต้องมีระยะห่างระหว่างเหล็ก
ปลอกเกลียวกับแกนเหล็กรู ปพรรณอย่างน้อย 7.5 เซนติเมตร ในกรณี ที่ใช้แกนเสาเหล็ก
รู ปตัว H ระยะห่างที่แคบที่สุดต้องไม่นอ้ ยกว่า 5.0 เซนติเมตร

6.1.4 เสาแบบผสม เป็ นเสาเหล็กโครงสร้างรู ปพรรณที่ฝังในคอนกรี ตที่มีระยะหุ ้มของคอนกรี ต


ไม่ต่ากว่า 6 เซนติเมตร จากผิวเหล็ก ให้คานวณหาน้ าหนักปลอดภัย ดังนี้

 Ag
P  Ar f r (1  )
100 Ar

โดยที่ คอนกรี ตที่ใช้ตอ้ งมีกาลังอัด fc‫ ׳‬ไม่ต่ากว่า 200 กก./ซม.2 เมื่ออายุ 28 วัน และต้องเสริ มด้วยเหล็ก
ตาข่ า ยเบอร์ 10 A S & W Gage หรื อ อย่ า งอื่ น ที่ เที ย บเท่ า พัน รอบเสา โดยมี ล วดเหล็ ก ตาม
แนวนอนที่พนั รอบเสาห่างกันไม่เกิน 10.0 เซนติเมตร ส่ วนลวดเหล็กที่ขนานกับแกน ข อ ง เส า
ต้องห่ างกันไม่เกิ น 20.0 เซนติเมตร เหล็กตาข่ายนี้ ให้พนั รอบเสาห่ างจากผิวหน้าคอนกรี ตเข้ามา
ไม่น้อยกว่า 2.5 เซนติเมตร และให้พนั เหลื่ อมกันไม่น้อยกว่า 40 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของ
ลวดเหล็ก
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 96

6.1.5 เสาท่ อเหล็กคอนกรี ต เป็ นเสาซึ่ งประกอบด้วยท่ อเหล็ กที่ กรอกคอนกรี ตเต็ม ภายใน ให้
คานวณหาน้ าหนักปลอดภัย ดังนี้

h2 
P  0.25 fc(1  0.000025 2
) AC  f r Ar
Kc

โดย h : ความสู งของเสา, Kc : รัศมีไจเรชัน่ ของเสาคอนกรี ต, AC : พื้นที่หน้าตัดเสาคอนกรี ต


h2 h2
fr´ : 1,195  0.0342 2
โดยที่ 2
 120 และท่อเหล็กมีกาลังครากไม่นอ้ ยกว่า 2,300 กก./ซม.2
Ks Ks
Ks : รัศมีไจเรชัน่ ของท่อเหล็ก

6.2 ข้ อกาหนดทัว่ ไปเกีย่ วกับเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก


6.2.1 ขนาดเล็ ก ที่ สุ ดของเสาต้อ งมี ด้ า นแคบที่ สุ ด หรื อ มี เส้ น ผ่ า นศู น ย์ก ลางไม่ ต่ า กว่ า 20
เซนติเมตร เสาที่อยูร่ ะหว่างเสาหลักและไม่ต่อเนื่ องระหว่างชั้นถึงชั้นอาจมีขนาดเล็กกว่าได้ แต่ตอ้ งไม่ต่า
กว่า 15 เซนติเมตร
6.2.2 คอนกรี ตที่หุม้ เหล็กเสริ ม (Covering) วัดจากผิวคอนกรี ตถึงผิวนอกสุ ดของเหล็กปลอกเดี่ยว
หรื อปลอกเกลียว กรณี ไม่สัมผัสดิน หรื อไม่ถูกแดดฝน ระยะหุ ม้ ต่าสุ ดเท่ากับ 3.0 เซนติเมตร
6.2.3 พิ ก ัด หน้า ตัด เสา เสาปลอกเดี่ ย วที่ มี ห น้าตัด ใหญ่ ม ากสามารถรั บ น้ าหนัก ได้เกิ น กว่า ที่
ต้องการมาก การหาปริ มาณเหล็กเสริ มที่น้อยที่สุดและความสามารถในการรับน้ าหนักให้คานวณจาก
พื้นที่หน้าตัด Ag ที่ลดลงได้ แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าครึ่ งหนึ่งของหน้าตัดจริ ง
6.2.4 พิกดั สาหรับเหล็กเสริ มในเสา
ก) เสาปลอกเดี่ ยวต้องมี เหล็กยืนอย่างน้อย 4 เส้ น เสาปลอกเกลี ยวต้องมี อย่างน้อย 6
เส้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กยืนต้องไม่เล็กกว่า 12 มิลลิเมตร โดยอัตราส่ วนของพื้นที่หน้าตัดเหล็ก
ยืนต่อพื้นที่หน้าตัดเสา (  g = Ast/Ag) ต้องไม่นอ้ ยกว่า 0.01 และไม่เกิน 0.08
ข) ในเสาปลอกเดี่ยว เหล็กยืนทุกเส้นต้องมีเหล็กปลอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็ก
กว่า 6 มิลลิเมตร พันโดยรอบ โดยมีระยะเรี ยงของเหล็กปลอกไม่ห่างกว่า 16 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลาง
เหล็กยืน และไม่ห่างกว่า 48 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กปลอก และ/หรื อมิติเล็กที่สุดของเสานั้น
ค) ในเสาปลอกเกลี ยว เหล็กยืนทุกเส้นต้องมีเหล็กปลอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็ก
กว่า 6 มิ ล ลิ เมตร พันโดยรอบ โดยมี ระยะห่ างระหว่างเกลี ยวไม่ เกิ น 7 เซนติ เมตร และไม่ แคบกว่า 3
เซนติเมตร หรื อ 1.34 เท่าของขนาดโตสุ ดของหิ น ทั้งนี้ อตั ราส่ วนของปริ มาตรเหล็กปลอกเกลี ยว (  s )
Ag fc '
ต้องไม่นอ้ ยกว่าที่คานวณจากสมการ :  S  0.45(  1)
Ac fy
โดยที่ fy คือ กาลังครากของเหล็กปลอกเกลียว แต่ตอ้ งไม่เกิน 4,000 กก./ซม.2
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 97

ตัวอย่างที่ 6.1 จงออกแบบเสาปลอกเกลียว รับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน (P) เท่ากับ 72,000 กก.


กาหนดให้ fc´ = 180 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2
วิธีทา
กาลังรับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน : P  Ag (0.25 fc' fs g )
สมมติขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเท่ากับ 0.35 ม. (Ag = 962.11 ซม.2)
กาลังรับน้ าหนักโดยคอนกรี ต : PC  0.25 fc' Ag = 0.25 (180) 962.11
= 43,294.95 กก.
กาลังรับน้ าหนักโดยเหล็กเสริ ม : PS  P  PC  fs g Ag  fsAst
72,000 – 43,294.95 = (0.40 x 3,000) Ast
28,705.05
Ast  = 23.92 ซม.2
(0.40  3,000)
เลือกใช้เหล็ก 8 DB 20 (Ast = 25.13 ซม.2,  g  0.0261 )

Ag fc '  35  2  180
ปริ มาณเหล็กปลอกเกลียว :  S  0.45(  1)  0.45   1 = 0.01541
Ac fy  29   2,400

Ag Ac Dc

เลือกใช้เหล็กปลอกเกลียวขนาด  9 มม. (As = 0.636 ซม.2)


4 As 4  0.636
ระยะห่างปลอกเกลียว : s   = 5.69 ซม.
 S Dc 0.01541  29
ใช้ปลอกเกลียวขนาด  9 มม. @ 0.055 ม.

8 DB 20
ป  9 มม. @ 0.055 ม.
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 98

ตัวอย่างที่ 6.2 จงออกแบบเสาปลอกเดี่ยว รับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน (P) เท่ากับ 22,500 กก.


กาหนดให้ fc´ = 180 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2

วิธีทา
กาลังรับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน : P  0.85 Ag (0.25 fc' fs g )
สมมติขนาดหน้าตัดเสาสี่ เหลี่ยมจัตุรัสเท่ากับ 0.20 x 0.20 ม. (Ag = 400.00 ซม.2)
กาลังรับน้ าหนักโดยคอนกรี ต : PC  0.85(0.25 fc' ) Ag = 0.85 (0.25 x 180) 400
= 15,300.00 กก.

กาลังรับน้ าหนักโดยเหล็กเสริ ม : PS  P  PC  0.85 fs g Ag  0.85 fsAst


22,500 – 15,300.00 = 0.85 (0.40 x 3,000) Ast
7,200
Ast  = 7.05 ซม.2
0.85(0.40  3,000)
เลือกใช้เหล็ก 4 DB 16 (Ast = 8.04 ซม.2,  g  0.0201 )

ระยะห่างเหล็กปลอก (s) : เลือกใช้เหล็กขนาด  6 มม. โดยใช้ค่าต่าสุ ดดังนี้


s = 16 ของเหล็กยืน = 16 x 1.6 = 25.6 ซม.
หรื อ = 48 เท่าของเหล็กปลอก = 48 x 0.6 = 28.8 ซม.
หรื อ = ด้านแคบสุ ดของเสา = 20 ซม.
เลือกใช้เหล็กปลอกขนาด  6 มม. @ 0.20 ม.

4 DB 16
ป  6 มม.@ 0.20 ม.
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 99

ตัวอย่างที่ 6.3 จงออกแบบเสา ค.ส.ล. แกนเหล็ก หน้าตัดสี่ เหลี่ยมจัตุรัสแกนเหล็กรู ปพรรณ WF 100x17.2


(Ar= 21.90 ซม.2) รับน้ าหนักปลอดภัยตามแกนเท่ากับ 72,000 กก.
กาหนดให้ fc´ = 180 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2, fr = 1,200 กก./ซม.2

วิธีทา
กาลังรับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน : P  0.225 Ag fc' fsAst  f r Ar
เลื อกขนาดเสาเท่ากับ 0.30x0.30 เมตร และตรวจสอบเนื้ อที่หน้าตัดแกนเหล็กรู ปพรรณ (Ar) ต่อ
Ar 21.9
พื้นที่หน้าตัดเสา (Ag) :  (100) = 2.43 % < 20 % ใช้ได้ (ตามข้อกาหนด)
Ag 30  30
ปริ มาณเหล็กยืนที่ตอ้ งการ
Ast  P  0.225 Ag fc ' f r Ar / fs
= [72,000 – (0.225x900x180) – (1,200x21.90)] / (0.40x3,000)
= 7.72 ซม.2 เลือกใช้เหล็ก 8 DB 12 (Ast = 9.04 ซม.2)

  
Ag fc '  30  30   180
ปริ มาณเหล็กปลอกเกลียว :  S  0.45(  1)  0.45   1 = 0.033
Ac fy   (24 2 )   2,400
 4  
เลือกใช้เหล็กปลอกเกลียวขนาด  9 มม. (As = 0.636 ซม.2)
4 As 4  0.636
ระยะห่างปลอกเกลียว : s   = 3.21 ซม.
 S Dc 0.033  24
ใช้ปลอกเกลียวขนาด  9 มม. @ 0.03 ม.

เหล็กรู ปพรรณ WF 100x17.2


เหล็กยืน 8 DB 12 (Ast = 9.04 ซม.2)
ป  9 มม. @ 0.03 ม.
ขนาดเสา 0.30x0.30 เมตร
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 100

ตัวอย่างที่ 6.4 จงออกแบบเสาแบบผสม เป็ นเสาเหล็กรู ปพรรณฝังในคอนกรี ตขนาดหน้าตัด 0.25x0.25 ม.


สู ง (h) เท่ากับ 3.50 ม. รับน้ าหนักปลอดภัยตามแกนเท่ากับ 25,000 กก.
กาหนดให้ fc´ = 180 กก./ซม.2, ใช้เหล็กรู ปพรรณ WF ชนิด A 36

วิธีทา
เสาเหล็กรู ปพรรณหุ ม้ คอนกรี ต ใช้ลวดตาข่ายเบอร์ 10 AS & W Gage หรื อเทียบเท่าพันรอบเสา
และมีคอนกรี ตหุ ม้ ผิวเหล็กไม่นอ้ ยกว่า 6 ซม.
Ag
กาลังรับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน : P  Ar fr ' (1  )
100 Ar
เลือกใช้ WF 125 x 23.3 ; ระยะคอนกรี ตหุม้ ผิวเหล็ก : (25–12.5)/2 = 6.25 ซม. > 6.0ซม.
ข้อมูลจากตารางเหล็ก WF 125 x 23.3 : Ar= 30.31 ซม.2, Ksx= 5.29 ซม., Ksy = 3.11 ซม.,
Ag : เนื้ อที่หน้าตัดเสา = 625 ซม.2
2
fr' : หน่วยแรงที่ยอมให้ของเสาเหล็ก = 1,195  0.0342( h 2 ) โดยอัตราส่ วน h
 120
Ks Ks
h 350
ตรวจสอบอัตราส่ วน   112.54  120 ใช้ได้
K s 3.11
ดังนั้น fr' = 1,195  0.0342(112.54) 2 = 761.84 กก./ซม.2

ความสามารถรั บนา้ หนักปลอดภัยตามแกน


Ag 625
P  Ar fr ' (1  )  30.31  761.84(1  )
100 Ar 100  30.31
= 27,852.87 กก. > 25,000 กก. ใช้ได้

เหล็กรู ปพรรณ WF 125x23.3


ขนาดเสา 0.25x0.25 เมตร
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 101

ตั ว อย่ า งที่ 6.5 จงตรวจสอบความสามารถรั บ น้ า หนัก ปลอดภัย ตามแกนของเสาท่ อ เหล็ ก คอนกรี ต


ประกอบด้วย ท่อเหล็ก ชนิ ด Fe 24 กรอกคอนกรี ตเต็ม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกและภายในของ
ท่อเหล็กเท่ากับ 0.1387 ม. และ 0.129 ม. ตามลาดับ หนา 4.85 มม. ดังรู ป
กาหนดให้ fc´ = 240กก./ซม.2
ความสู งเสา (h) = 3.00 ม.
Ac 0.129 ม. 0.1387 ม.
วิธีทา

กาลังรับน้ าหนักปลอดภัยตามแกนของเสาท่อเหล็กคอนกรี ต ภายในกรอกคอนกรี ตเต็ม


h2
Pa  0.25 fc(1  0.000025 2
) Ac  fr ' Ar
Kc
d o 2 d i 2  (13.87) 2  (12.90) 2
Ar     = 20.40 ซม.2
4 4 4 4
 (12.90) 2
2
Ac  = 130.69 ซม.
4
di 12.90
Kc : รัศมีไจเรชัน่ ของเสาส่ วนที่เป็ นคอนกรี ต =  = 3.225 ซม.
4 4
h2 h
fr' : หน่วยแรงที่ยอมให้ของท่อเหล็ก = 1,195  0.0342 2 กก./ซม.2 โดย  120
Ks Ks

และ K s  1 d 0 2  di 2  1 13.87 2  12.902 = 4.73 ซม.


4 4
ตรวจสอบอัตราส่ วน h

300
 63.42  120 ใช้ได้
Ks 4.73
fr   1,195  0.0342(63.42) 2 = 1,057.44 กก./ซม.2

ความสามารถรั บนา้ หนักปลอดภัยตามแกน


h2
Pa  0.25 fc(1  0.000025 2
) Ac  fr ' Ar
Kc
300 2
 0.25  240  [1  0.000025  ( ) ]  130.69  (1,057.74  20.40)
3.225
= 6,145.04 + 21,577.89
= 27,722.93 กก.
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 102

6.3 เสาสั้ นรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ ดัดร่ วมกัน


เสาอาจรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั ร่ วมกันอันเนื่ องมาจากแรงเยื้องศูนย์ เช่ น เสาที่มี
บ่าหรื อหู ชา้ งเพื่อรับคาน และ/หรื อ รางเครนยกวัสดุ ในโรงงาน เป็ นต้น นอกจากนี้ โครงสร้างอาคารที่มี
แรงกระท าทางด้ า นข้า ง เช่ น แรงลม ก็ ส่ ง ผลให้ เกิ ด โมเมนต์ ที่ จุ ด ต่ อ แบบยึ ด รั้ ง (Rigid joint) ของ
โครงสร้ าง ดังนั้น การออกแบบเสาจึ งต้องพิ จารณาทั้งแรงอัด ตามแนวแกนและโมเมนต์ดัด ร่ วมกัน
My
ลักษณะแรงเยื้องศูนย์ แสดงในรู ปที่ 6.4 โดย ex  M x และ e y  หรื อเมื่อแรงเยื้องศูนย์อยูใ่ นแกน
P P
M
หนึ่งแกนใด หรื อแกนเดียว e
P

P P
ey x My
x
ex =
Mx
y y

รู ปที่ 6.4 เสาสั้นรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั ร่ วมกันอันเกิดจากแรงเยื้องศูนย์

การรับแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั ร่ วมกันของเสามี โอกาสเกิ ดการวิบตั ิได้ 3 ลักษณะ


คือ วิบัติแบบแรงอัดเป็ นหลัก (Compression failure)โดยคอนกรี ตจะถูกอัดแตกก่อนที่เหล็กเสริ มรับแรง
ดึงจะถึ งจุดคราก ซึ่ งเกิดขึ้นในกรณี ที่เสารับแรงอัดมากแต่มีค่าโมเมนต์ดดั น้อยหรื อระยะเยื้องศูนย์ที่เกิ ด
ในเสาไม่มากนัก ลักษณะที่สอง การวิบัติแบบแรงดึงเป็ นหลัก (Tension failure) ซึ่ งมีลกั ษณะตรงข้ามกับ
แบบแรก นัน่ คือ เหล็กเสริ มรับแรงดึงถูกดึงจนถึงจุดครากก่อนที่คอนกรี ตจะถูกอัดแตก ซึ่ งเกิดขึ้นในกรณี
ที่เสามีโมเมนต์ดดั อย่างมากหรื อระยะเยื้องศูนย์ที่เกิ ดในเสามาก และลักษณะที่สาม การวิบัติแบบสมดุล
(Balanced failure) ซึ่ งเป็ นสภาวะที่เหล็กเสริ มรับแรงดึงถูกดึงจนถึงจุดครากไปพร้อมคอนกรี ตถูกอัดแตก
โดยคอนกรี ตมีหน่วยการหดตัวสู งสุ ดที่ 0.003 มม./มม. การวิบตั ิของเสาทั้งสามลักษณะ สามารถอธิ บาย
ได้ดว้ ยกราฟปฏิสัมพันธ์ (Interaction diagram) ของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่รับแรงอัดตามแนวแกนและ
โมเมนต์ดดั ร่ วมกัน ซึ่ งให้แกน x เป็ นค่าโมเมนต์ดดั (Mn) และแกน y เป็ นแรงอัดตามแนวแกน (Pn) ดังรู ป
ที่ 6.5 โดยการพิจารณาเปรี ยบเทียบเสาที่มีขนาดหน้าตัดและปริ มาณเหล็กเสริ มเท่ากัน นามาทดสอบโดย
ให้แรงอัดตามแนวแกนอย่างเดี ยวจนกระทัง่ วิบตั ิ จะได้กาลังต้านทานแรงอัดสู งสุ ดของเสา (Po) ที่จุด A
ทานองเดียวกัน เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กทดสอบภายใต้โมเมนต์ดดั อย่างเดียวจนกระทัง่ เกิดการวิบตั ิ จะได้
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 103

กาลังต้านทานโมเมนต์ดดั สู งสุ ดของเสา (Mo) ที่จุด C และที่จุด B แสดงถึงกาลังต้านทานสู งสุ ดของเสาทั้ง


แรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั ที่ทาให้เกิดการวิบตั ิแบบสมดุล (Pb, Mb) ซึ่งเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่
มีขนาดหน้าตัดและปริ มาณเหล็กเสริ มหนึ่ งๆ จะมีค่าสมดุลอยูจ่ ุดหนึ่ งภายใต้การรับแรงอัดตามแนวแกน
และโมเมนต์ดดั ร่ วมกัน (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)

Pn
Po A

Pn
Mn
e
Pn

Pb B
Mb
eb 
Pb

C
Mn Mo Mb Mn
รู ป 6.5 กราฟปฏิสัมพันธ์ (Interaction diagram)

จากกราฟปฏิสัมพันธ์นาไปสู่ การประยุกต์ใช้กราฟในการออกแบบเสาที่รับแรงอัดตามแนวแกน
และโมเมนต์ดดั ร่ วมกัน โดยแบ่งออกเป็ น 3 ช่วง ตามระยะเยื้องศูนย์ : e  M ดังรู ปที่ 6.6
P

PO = FaAg ช่ วงที่ 1 เมื่อ e  ea


ea ออกแบบเป็ นเสารับแรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว
Pa A B ช่ วงที่ 2 เมื่อ ea  e  eb
ช่ วง 1 ออกแบบเสารับแรงอัดเป็ นหลัก (Compression control)
eb ช่ วงที่ 3 เมื่อ e  eb
Pb ช่ วงที่ 2 C ออกแบบเสารับแรงดึงเป็ นหลัก
(Tension control)
ช่ วงที่ 3 D
Ma Mo Mb Ms = FbS Mn

รู ป 6.6 กราฟออกแบบเสาแบ่งช่วงตามระยะเยื้องศูนย์ (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)


เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 104

6.3.1 ช่ วงที่ 1 : e  ea ; เป็ นช่วงที่เสามีโมเมนต์ดดั กระทาน้อยมากเมื่อเทียบกับแรงอัด


ตามแนวแกน เนื่องจากระยะเยื้องศูนย์ (e) มีค่าน้อย โมเมนต์ดดั จึงไม่มีผลต่อการรับน้ าหนักตามแนวแกน
ของเสา ดังนั้น จึ งออกแบบเป็ นเสารั บแรงอัดตามแนวแกนอย่ างเดียว และเสาจะเกิดการวิบัติแบบแรงอัด
เป็ นหลัก (Compression failure) หรื อที่เรี ยกว่าเสารับแรงอัดเป็ นหลัก (Compression control) โดยที่ระยะ
เยื้องศูนย์ (ea) หาได้จากสมการ ดังนี้
1 1
ea  M s   
 Po Pa 

เมื่อ Pa  Ag (0.25 fc ' fs g ) ………..เสาปลอกเกลียว


Pa  0.85 Ag (0.25 fc ' fs g ) ………..เสาปลอกเดี่ยว
As
Po  Fa Ag , Fa  0.34(1   g m) fc , g 
Ag
I fy
M s  Fb S , Fb  0.45 fc , S  , m
c 0.85 fc
ค่าโมเมนต์อินเนอร์ เชี ยของรู ปตัดเสา (Ix, Iy) คานวณจากเนื้ อที่หน้าตัดการแปลงของเหล็กเสริ ม :
(2n  1) Ast ดังรู ปที่ 6.7 โดยที่ n คืออัตราส่ วนโมดูลส
ั : Es/Ec

d Ds d d Ds d

d

h x Ds = gh h x
d
y y
(ก) (ข)
b d gb d

d d
Ast/2
h d x gh h d x x gh
Ast/2 d
y d
(ค) (ง)

รู ปที่ 6.7 หน้าตัดเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก


เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 105

เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมจัตุรัส เรี ยงเหล็กยืนเป็ นวงกลม ดังรู ปที่ 6.7 (ก)
h4 Ds 2
Ix  Iy  (2n  1) Ast
12 8
h
cx  c y 
2
เสาหน้ าตัดกลม เรี ยงเหล็กยืนเป็ นวงกลม ดังรู ปที่ 6.7 (ข)
d 4 Ds 2
Ix  Iy   (2n  1) Ast
64 8
h
cx  c y 
2
เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมจัตุรัส เรี ยงเหล็กยืนเหมือนกัน 2 ด้ านขนานกัน ดังรู ปที่ 6.7 (ค)
bh 3 ( gh) 2
Ix   (2n  1) Ast
12 4
3
bh ( gh) 2
Iy   (2n  1) Ast
12 4
b
cx  , และ c y  h
2 2
เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้ า เรี ยงเหล็กยืนเหมือนกันทั้งสี่ ด้าน ดังรู ปที่ 6.7 (ง)
bh 3 ( gh) 2
Ix   (2n  1) Ast
12 6
3
bh ( gh) 2
Iy   (2n  1) Ast
12 6
b
cx  , และ c y  h
2 2

6.3.2 ช่ วงที่ 2 : ea  e  eb ; เป็ นช่ วงที่ เสามี โมเมนต์ดัด กระท าปานกลาง ผลของ
โมเมนต์ดดั ที่กระทากับเสาทาให้ความสามารถในการรับน้ าหนักตามแนวแกนของเสาลดลง แต่ การวิบัติ
ของเสายังคงเป็ นแบบแรงอัดเป็ นหลัก (Compression failure) ดังนั้น จึ งเรี ยกการออกแบบเสาช่ วงนีว้ ่ าเสา
รั บแรงอัดเป็ นหลัก (Compression control) โดยที่ระยะเยื้องศูนย์สมดุล (eb) หาได้จากสมการ ดังนี้
เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมจัตุรัส เสริ มเหล็กรั บแรงอัดและแรงดึงเหมือนกัน
เสาปลอกเกลียว ดังรู ปที่ 6.7 (ก)
ebx  eby  0.43 g mDs  0.14h
เสาปลอกเดี่ยว ดังรู ปที่ 6.7 (ค)
ebx  eby  [0.67  g m  0.17](h  d )
เสาหน้ าตัดกลม : เสาปลอกเกลียว ดังรู ปที่ 6.7 (ข)
ebx  eby  0.43 g mDs  0.14h
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 106

เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้ า เสริ มเหล็กรั บแรงอัดและแรงดึงเหมือนกัน


เสาปลอกเดี่ยว ดังรู ปที่ 6.7 (ง)
ebx  [0.67  g m  0.17](h  d )
eby  [0.67  g m  0.17](b  d )
เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้ า เสริ มเหล็กรั บแรงอัดและแรงดึงไม่ เหมือนกัน
เสาปลอกเดี่ยว
 m(h  2d )  0.1(h  d )
ebx 
(     )m  0.6

 m(b  2d )  0.1(b  d )
eby 
(     )m  0.6
As As Ast
เมื่อ  ,   , m
fy
, g 
bd bd 0.85 fc Ag

เมื่อระยะเยื้องศูนย์ ea  e  eb หลักการออกแบบจะใช้ วิธีการตรวจสอบหน่ วยแรงที่


เกิ ดขึ น้ ต้ องไม่ เกิ นกว่ าหน่ วยแรงที่ ยอมให้ โดยหาผลรวมของอัตราส่ วนระหว่างหน่ วยแรงที่เกิ ดขึ้นต่อ
หน่วยแรงที่ยอมให้ของแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั ทั้งสองแกนต้องไม่เกินหนึ่ง ดังนี้

f a f bx f by
   1.0 (ว.ส.ท. 6607 (ข))
Fa Fbx Fby

P
เมื่อ fa  : หน่วยแรงอัดที่เกิดขึ้นตามแนวแกน
Ag
M xcy
f bx  : หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้นรอบแกน x
Ix
M y cx
f by  : หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้นรอบแกน y
Iy
Fa  0.34(1   g m) fc : หน่วยแรงอัดที่ยอมให้ของคอนกรี ต
Fb  0.45 fc : หน่วยแรงดัดที่ยอมให้ของคอนกรี ต

6.3.3 ช่ วงที่ 3 : e  eb ; เป็ นช่วงที่เสามีโมเมนต์ดดั กระทาอย่างมากผลของโมเมนต์ดดั


ที่กระทากับเสาทาให้เกิด การวิบัติแบบแรงดึงเป็ นหลัก (Tension failure) เหล็กเสริ มรั บแรงดึงถูกดึงจนถึง
จุดครากก่ อนที่ คอนกรี ตจะถูกอัดแตก ดังนั้น จึ งเรี ยกการออกแบบเสาช่ วงนี ้ว่าเสารั บแรงดึ งเป็ นหลัก
(Tension control) การคานวณความสามารถในการรับน้ าหนักของเสาช่วงนี้ให้ถือว่าโมเมนต์ดดั ปลอดภัย
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 107

(M) ผันแปรแบบเส้ นตรงกับน้ าหนักตามแนวแกน (P) จาก Mo ถึง Mb (เส้น CD รู ปที่ 6.6) ค่า Mb หาได้
f a f bx f by
จาก : Mb = Pb.eb และค่า Pb หาจากสู ตร    1.0 ส่ วนค่าของ Mo หาจากสมการต่อไปนี้
Fa Fbx Fby
เสาหน้ าตัดกลม และเสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมจัตุรัสที่มีปลอกเกลียว
M ox  M oy  0.12 Ast fyDs
เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้ าที่มีปลอกเดี่ยวเสริ มเหล็กสองด้ านเท่ ากัน
M ox  0.40 Asfy (t  2d )
M oy  0.40 Asfy (b  2d )
เสาหน้ าตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้ าที่มีปลอกเกลียว เสริ มเหล็กสองด้ านไม่ เท่ ากัน
M ox  0.40 Asfy ( J x )(t  d )
M oy  0.40 Asfy ( J y )(b  d )

เมื่อ Ast : พื้นที่หน้าตัดของเหล็กยืนทั้งหมดในเสา


As : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มรับแรงดึงของเหล็กยืน
( J x )(t  d ) และ ( J y )(b  d ) คือช่วงแขนของโมเมนต์

ในกรณี ที่แรงอัดตามแนวแกน (P) กระทาเยื้องศูนย์ท้ งั แกน x และแกน y พร้อมกัน (Mx,


My) ให้ทาการตรวจสอบความปลอดภัยในการรับน้ าหนักจากสมการ ดังนี้

Mx My
  1.0 (ว.ส.ท. 6607 (ค))
M ox M oy

ขัน้ ตอนในการคานวณออกแบบเสารั บแรงอัดตามแนวแกนและโมเมนต์ ดัดร่ วมกัน


1. สมมติขนาดเสา และอัตราส่ วนพื้นที่หน้าตัดเหล็กยืนต่อพื้นที่หน้าตัดเสา : b, t, d,  g , Ast
 1
2. คานวณหาระยะเยื้องศูนย์ : e  M , ea  M s  1   และระยะเยื้องศูนย์สมดุล eb
P  Po Pa 
3. เปรี ยบเทียบระยะเยื้องศูนย์ :
3.1 ถ้า e  ea ; ช่ วงที่ 1 : ออกแบบเป็ นเสารับแรงอัดตามแนวแกนอย่างเดียว
3.2 ถ้า ea  e  eb ; ช่ วงที่ 2 : ออกแบบเสารับแรงอัดเป็ นหลัก (Compression control)
ใช้วธิ ี การตรวจสอบหน่วยแรงที่เกิดขึ้นต้องไม่เกินกว่าหน่วยแรงที่ยอมให้
fa f f by
 bx   1.0
Fa Fbx Fby
3.3 ถ้า e  eb ; ช่ วงที่ 3 : ออกแบบเสารับแรงดึงเป็ นหลัก (Tension control)
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 108

ตัวอย่ างที่ 6 จงออกแบบเสาปลอกเดี่ยวหน้าตัดสี่ เหลี่ยมจัตุรัส รับน้ าหนักปลอดภัยตามแกน (P) เท่ากับ


72,000 กก. และโมเมนต์ดดั Mx = 4,800 กก.–ม. โมเมนต์ดดั My = 1,200 กก.–ม.
กาหนดให้ fc´ = 180 กก./ซม.2, fy= 3,000 กก./ซม.2, n = 10
วิธีทา
สมมติขนาดหน้าตัด เสา และอัตราส่ วนพื้นที่ หน้าตัดเหล็กยืนต่อพื้นที่ หน้าตัดเสา : ตรวจสอบ
ความสามารถในการรับน้ าหนักเสา
สมมติใช้ขนาดหน้าตัดเสาเท่ากับ 0.40 x 0.40 ม. และเลือก  g  0.020 (2.0 %)
พื้นที่หน้าตัดของเหล็กยืน : Ast   g  Ag  0.020  (40  40) = 32.0. ซม.2
เลือกใช้เหล็กยืน 12 DB 20 มม. (Ast = 37.70 ซม.2,  g  0.0235 )
จัดวางเหล็กยืนปริ มาณเท่ากันทุ กด้าน ระยะคอนกรี ตหุ ้มเหล็กเท่ากับ 3.0 ซม. ใช้เหล็กปลอก
ขนาด  9 มม. เหล็กยืนขนาด DB 20 มม. ดังนั้น d' = 3.0 + 0.9 + 1.0 = 4.90 ซม.
fy 3,000
m  = 19.60
0.85 fc 0.85  180

4,800  100
ระยะเยื้องศูนย์สูงสุ ด : ex  M x  = 6.67 ซม.
P 72,000
ระยะเยื้องศูนย์สมดุล : ebx  eby  [0.67  g m  0.17](h  d )
= [0.67  0.0235 19.60  0.17](40  4.90)
= 16.80 ซม. > 6.67 ซม.

ช่ วงที่ 2 : ea  e  eb ; ออกแบบเสารับแรงอัดเป็ นหลัก


ตรวจสอบความสามารถในการรับน้ าหนักปลอดภัยของเสาจากสมการ

f a f bx f by
   1.0
Fa Fbx Fby

P 72,000
fa   = 45.00 กก./ซม.2
Ag (40  40)
Fa  0.34(1   g m) fc  0.34(1  0.0235  19.60)180 = 89.38กก./ซม.2
M xcy bh 3 ( gh) 2
f bx  , Ix  Iy   (2n  1) Ast 
Ix 12 6
= 4,800 100  20 = 29.79 กก./ซม.2
322,215.70
M y cx 1,200 100  20
f by   = 7.44 กก./ซม.2
Iy 322,215.70
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 109

Fbx  Fby  0.45 fc  0.45 180 = 81.0 กก./ซม.2

แทนค่าลงในสมการ

f a f bx f by 45.0 29.79 7.44


     = 0.963 < 1.0 ใช้ได้
Fa Fbx Fby 89.38 81.0 81.0

ทั้งนี้แรงอัดที่เสารับได้โดยปลอดภัยมีค่าไม่เกินกว่าค่า Pa เมื่อเสารับแรงอัดตามแกนอย่างเดียว
Pa  0.85 Ag (0.25 fc ' fs g )
= 0.85 1,600(0.25 180  1,200  0.0235)
= 99,552 กก. > 72,000 กก. ใช้ได้

ระยะห่างเหล็กปลอก (s) : เลือกใช้เหล็กขนาด  9 มม. โดยใช้ค่าต่าสุ ดดังนี้


s = 16 ของเหล็กยืน = 16 x 2.0 = 32.0 ซม.
หรื อ = 48 เท่าของเหล็กปลอก = 48 x 0.9 = 43.2 ซม.
หรื อ = ด้านแคบสุ ดของเสา = 40 ซม.
ใช้เหล็ก 2 ป  9 มม.@ 0.30 ม.

12 DB 20มม.
2 ป  9 มม. @ 0.30 ม.
ขนาดเสา 0.40x0.40 เมตร
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 110

ตัว อย่ างที่ 7 เสาปลอกเดี่ ยวหน้าตัดสี่ เหลี่ ย มจัตุรัส ขนาด 0.30x0.30 เมตร เสริ มเหล็กยืน 8 DB 20 มม.
เหล็ ก ปลอก  9 มม. @ 0.30 ม. รั บ แรงอัด เยื้ อ งศู น ย์ 12,500 กก. ดัง รู ป จงตรวจสอบว่า สามารถรั บ
น้ าหนักได้ปลอดภัยหรื อไม่
กาหนดให้ fc´ = 180 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2

P = 12,500 กก.
x 8 DB 20มม.
ป  9 มม. @ 0.30 ม.
0.08 ม. 0.16 ม. ขนาด 0.30x0.30 ม.
y
Ast = 25.132 ซม.2,  g  0.0279
d'= 3 + 0.90 + 1.0 = 4.90 ซม.
fy 3,000
m  = 19.60
0.85 fc 0.85  180
วิธีทา โมเมนต์ดดั เนื่ องจากแรงเยื้องศูนย์
M x  12,500  0.16  2,000 กก.–ม.
M Y  12,500  0.08  1,000 กก.–ม.
2,000 100
ระยะเยื้องศูนย์สูงสุ ด : e  M  = 16.00 ซม.
P 12,500
ระยะเยื้องศูนย์สมดุล : ebx  eby  [0.67  g m  0.17](h  d )
= [0.67  0.0279 19.60  0.17](30  4.90)
= 13.46 ซม. < 16.00 ซม. : เสารับแรงดึงเป็ นหลัก

Mx My
แรงอัดตามแนวแกนกระทาเยื้องศูนย์พร้อมกันทั้งสองแกน :   1.00
M ox M oy

M ox  M oy  0.40 Asfy (h  2d )
= 0.40 (4x3.141) 3,000 [30 – (2x4.90)]
= 304,551.36 กก.–ซม.

Mx My (2,000  1,000) 100


  1.00 :  0.985 < 1.00
M ox M oy 304,551.36
เสาสามารถรั บนา้ หนักได้ โดยปลอดภัย
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 111

6.4 เสายาว (Slender columns)


เสายาวหรื อเสาชะลูดเป็ นเสาที่มีขนาดรู ปตัดน้อยเมื่อเทียบกับความสู งของเสา โดยอาจพิจารณา
จากค่าอัตราส่ วนความสู งต่อด้านแคบสุ ดของเสามากกว่า 15 (h/t >15) เมื่อเสายาวรับน้ าหนักความชะลูด
ของเสาทาให้เกิ ดการโก่งตัวทางด้านข้าง การวิบตั ิของเสาจึงอาจเกิ ดขึ้นได้สองแบบซึ่ งขึ้นอยูก่ บั การยึด
หรื อการค้ ายันปลายเสา แบบแรกถ้ายึดหรื อค้ ายันปลายเสาอย่างมัน่ คง ปลายเสาไม่เกิดการเคลื่อนที่ การ
วิบตั ิจะเกิดจากกาลังวัสดุ (Material failure) ลักษณะเดียวกับการวิบตั ิของเสาสั้น แบบที่สอง ถ้ายึดหรื อค้ า
ยันปลายเสาอย่างไม่มนั่ คงเพียงพอ และ/หรื อเป็ นเสาอิสระไม่ยึดรั้ง ปลายเสาเกิ ดการเคลื่ อนที่การวิบตั ิ
ของเสาจะเกิ ดจากการสู ญเสี ยความมัน่ คงก่อนถึ งกาลังสู งสุ ดของวัสดุ (Instability failure) ความชะลูด
ของเสาส่ ง ผลให้ ค วามสามารถในรั บ น้ าหนั ก ของเสายาวน้ อ ยกว่า เสาสั้ น ในการออกแบบเสายาว
มาตรฐาน ว.ส.ท. 5303 ให้ใช้สูตรเดียวกับเสาสั้น แล้วใช้ตวั คูณลดกาลังเสาชะลูด (R) ดังนี้

Pเสายาว = RxPเสาสั้น, Mเสายาว = RxMเสาสั้น

เมื่อ Pเสาสั้น, Mเสาสั้น : แรงอัดและโมเมนต์ดดั ที่คานวณจากสู ตรออกแบบเสาสั้น


R : ตัวคูณลดกาลังเสาชะลูด (R ≤ 1.0)

6.4.1 ความชะลูดของเสา พิ จารณาจากอัตราส่ วนความชะลู ดของเสา : h/r (Slenderness ratio)


เมื่ อ h เป็ นความยาวอิ ส ระปราศจากการค้ ายัน และ r เป็ นรั ศมี ไ จเรชัน่ (𝑟 = √𝐼⁄𝐴) กรณี เสาหน้าตัด
สี่ เหลี่ยมผืนผ้า r = 0.30 t โดย t คือความลึกของเสาด้านรับโมเมนต์ดดั ส่ วนเสาหน้าตัดกลม r = 0.25 D
โดย D คือเส้นผ่านศูนย์กลางเสา อย่างไรก็ตาม เสาในโครงสร้างอาคารทัว่ ไปจะต่อยึดกับคาน (ต่อยึดเป็ น
โครงเฟรม) หรื อมีการค้ ายันยึดด้านข้างในรู ปแบบต่างๆ จึงทาให้สติฟเนส (Stiffness) ของเสาที่มีคานและ
สิ่ ง ค้ ายันยึดด้านข้างต่ างกัน ซึ่ ง อาจส่ ง ผลให้ โครงเฟรมเกิ ดการเคลื่ อนที่ ห รื อไม่ เคลื่ อนที่ ก็ ไ ด้ ดัง นั้น
มาตรฐาน ว.ส.ท. กาหนดให้พิ จารณาความยาวอิส ระเสา (h) จากความยาวประสิ ทธิ ผล : h' (effective
length) ดังนี้
ก. เสาในโครงเฟรมปลายเสาไม่ เคลื่ อนที่ เนื่ องจากยึดหรื อค้ ายันปลายเสาอย่างมัน่ คง
เพียงพอ ให้ใช้ความยาวประสิ ทธิผล : h'= h
ข. เสาในโครงเฟรมปลายเสาเคลื่อนที่ เนื่องจากไม่มีการยึดปลายเสาหรื อค้ ายันปลายเสา
ไม่มนั่ คงเพียงพอ ความยาวประสิ ทธิ ผล : h' จะขึ้นอยูก่ บั การยึดปลายเสาโดยคานวณจากตัวคูณของจุดต่อ
: rj ซึ่ งเป็ นอัตราส่ วนของผลรวมสติฟ เนสของเสา (Kc) ต่อผลรวมสติ ฟเนสของคาน (Kb) บนระนาบ
พิจารณาที่จุดต่อ j นัน่ คือ
∑ 𝐾𝑐
𝑟𝑗 ′ =
∑ 𝐾𝑏
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 112

โดยที่ 𝑟𝑗 ′: ตัวคูณความยาวประสิ ทธิผล


Kc : ผลรวมสติฟเนสของเสาที่อยูเ่ หนือและใต้จุดต่อ; ∑ 2𝐸𝐼𝑐

2𝐸𝐼𝑏
Kb : ผลรวมสติฟเนสของคานซ้ายและขวาจุดต่อ; ∑ 𝐿
h : ความยาวของเสาที่ปราศจากการค้ ายัน
L : ความยาวของคาน

ให้ใช้ความยาวประสิ ทธิผล h' ที่มีค่ามากโดยพิจารณาทั้ง 2 ระนาบ จากกรณี ต่อไปนี้


1. ถ้าอัตราส่ วน 𝑟 ′ > 25 ให้ถือว่าปลายเสานั้นมีสภาพยึดหมุน (Pinned end)
2. ถ้าปลายเสาข้างหนึ่ งถูกยึดรั้งไม่ให้หมุน และอีกปลายหนึ่ งมีสภาพยึดหมุ น
ให้ใช้ความยาวประสิ ทธิผล ℎ′ = 2ℎ(0.78 + 0.22𝑟 ′ ) ≥ 2ℎ โดย 𝑟 ′ เป็ นค่าสาหรับปลายที่ถูกยึดไว้
3. ถ้าปลายเสาถูกยึดรั้งไว้ไม่ให้หมุนทั้งสองปลาย ให้ใช้ความยาวประสิ ทธิ ผล
ℎ′ = ℎ(0.78 + 0.22𝑟 ′ ) ≥ ℎ โดย 𝑟 ′ เป็ นค่าเฉลี่ ยสาหรั บปลายเสาทั้งสอง (𝑟 ′ = 𝑟𝑇 ′ + 𝑟𝐵 ′) คื อปลาย
1
2
เสาบน (T) และปลายเสาล่าง (B)
4. สาหรับปลายเสาอิสระ (Free end) อีกปลายหนึ่ งมีสภาพยึดแน่ นไม่ให้หมุน
ให้ใช้ความยาวประสิ ทธิผลเป็ นสองเท่าของความยาวเสา: ℎ′ = 2ℎ

6.4.2 ตัวคูณลดกาลังเสาชะลูด (R) มาตรฐาน ว.ส.ท. 5303 กาหนดให้ใช้สูตรลดกาลังเสาชะลูด


ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั อัตราส่ วนชะลูด ลักษณะการโก่งทางข้างของเสา และการเคลื่อนที่ปลายเสา ดังนี้
ก. กรณี เสารั บแรงอัดตามแกนอย่ างเดียว(𝑒 ≤ 𝑒𝑎 )
𝑅 = 1.07 − 0.008 (ℎ/𝑟) ≤ 1.0
ข. กรณี เสารั บแรงอัดและแรงดัดร่ วมกัน
1. เมื่อเสารับแรงอัดเป็ นหลัก (𝑒𝑎 < 𝑒 ≤ 𝑒𝑏 )
1.1 ปลายเสาไม่เกิดการเคลื่อนที่ทางด้านข้าง
- เมื่อเสาโก่งสองทาง (double curvature) ดังรู ปที่ 6.8 (ก)
ถ้า (ℎ/𝑟) < 60 : R = 1.0
ถ้า 60 ≤ (ℎ𝑟) ≤ 100 : 𝑅 = 1.32 − 0.006 (ℎ/𝑟) ≤ 1.0
ถ้า ℎ/𝑟 > 100 ให้วเิ คราะห์โดยคานึงถึงระยะโก่งที่เพิ่มขึ้น
- เมื่อเสาโก่งทางเดียว (single curvature) ดังรู ปที่ 6.8 (ข)
𝑅 = 1.07 − 0.008(ℎ/𝑟) ≤ 1.0
1.2 ปลายเสาเกิดการเคลื่อนที่ทางด้านข้างได้ ดังรู ปที่ 6.8 (ค) ถึง (จ)
𝑅 = 1.07 − 0.008(ℎ′ /𝑟) ≤ 1.0
2. เมื่อเสารับแรงดึงเป็ นหลัก (𝑒 > 𝑒𝑏 )
𝑒𝑏
𝑅 ′ = 1 − (1 − 𝑅) ≥𝑅
𝑒
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 113

R : ตัวคูณลดกาลังเสาชะลูดที่ได้จากกรณี ที่ 1.1 หรื อ 1.2


𝑒𝑏
𝑒
: อัตราส่ วนระยะเยื้องศูนย์สมดุลต่อระยะเยื้องศูนย์

P P P P P
ปลายบน(T) 𝑟𝑇 ′ ≤ 25 𝑟𝑇 ′ > 1 𝑟𝑇 ′ ≤ 25 𝑟𝑇 ′ ≤ 25

MT MT MT MT

MB MB MB
ปลายล่าง (B) 𝑟𝐵 ′ ≤ 25 𝑟𝐵 ′ > 1 𝑟𝐵 ′ ≤ 25 𝑟𝐵 ′ > 25 𝑟𝐵′ = 1

(ก) (ข) (ค) (ง) (จ)

รู ปที่ 6.8 ลักษณะการโก่งตัวและการเคลื่อนที่ทางด้านข้างของเสา

ตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าตัวคูณลดกาลังเสาชะลูด (R) ของเสาตัวกลาง CD ในโครงเฟรม ดังรู ป เมื่อ


ก) ปลายเสาไม่เกิดการเคลื่อนที่ และ
ข) ปลายเสาเกิดการเคลื่อนที่ทางด้านข้าง ปลายเสาถูกยึดรั้งไว้ไม่ให้หมุนทั้งสองปลาย
กาหนดให้ เสาโก่งแบบสองทาง และเสารับแรงอัดเป็ นหลัก
ขนาดเสา 0.25x0.40 ม. และขนาดคาน 0.25x0.50 ม.

A C E

5.40 ม.

B D F

5.40 ม.

6.00 ม. 6.00 ม.
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 114

วิธีทา
ก) ปลายเสาไม่เกิดการเคลื่อนที่
h = 540 ซม., r = 0.30 t = 0.30(40) = 12 ซม.
h/r = 45 < 60 ไม่ตอ้ งลดกาลังเสาชะลูด; ใช้ R = 1.0

ข) ปลายเสาเกิดการเคลื่อนที่ทางด้านข้าง
ค่าตัวคูณลดกาลังเสาชะลูด : 𝑅 = 1.07 − 0.008(ℎ′ /𝑟) ≤ 1.0
ความยาวประสิ ทธิผล : ℎ′ = ℎ(0.78 + 0.22𝑟′ ) ≥ ℎ
โดย 𝑟 ′ = 12 𝑟𝑇 ′ + 𝑟𝐵 ′
(25×403 )⁄12
∑ 𝐾𝑐 540 246.91
𝑟𝑇′ = = 2(25×503 )⁄12
= = 0.284
∑ 𝐾𝑏 868.05
600

2(25×403 )⁄12
∑ 𝐾𝑐 540 493.82
𝑟𝐵′ = = 2(25×503 )⁄12
= = 0.568
∑ 𝐾𝑏 868.05
600

ค่าเฉลี่ย 𝑟 ′ = 12 𝑟𝑇 ′ + 𝑟𝐵 ′ = 0.426

ℎ′ = ℎ(0.78 + 0.22 × 0.426) = 471.80 < ℎ ดังนั้น ใช้ ℎ′ = 540 ซม.

𝑅 = 1.07 − 0.008 (540/12)


= 0.71
ผลของความชะลูดและการโก่งตัวทางด้านข้างทาให้เสารับน้ าหนักลดลงร้อยละ 29
เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 115

แบบฝึ กหัด

1. เสาสั้นรับน้ าหนักปลอดภัยตามแนวแกน 55,000 กก.


กาหนดให้ fc' = 210 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
จงออกแบบ ก) เสาปลอกเดี่ยว ข) เสาปลอกเกลียว

2. จงตรวจสอบความสามารถในการรับน้ าหนักปลอดภัย
ตามแนวแกนของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ดังรู ป 8 DB 25
กาหนดให้ fc' = 250 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 2 ป  9 มม. @ 0.40 ม.
ขนาดหน้าตัดเสา 0.40x0.40 ม.

3. จงออกแบบเสาปลอกเดี่ยวน้ าหนักปลอดภัยตามแนวแกน 50,000 กก. และโมเมนต์ดดั 3,600 กก.–ม.


กาหนดให้ fc' = 250 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 n=9

4. จงตรวจสอบความสามารถในการรับน้ าหนักตามแนวแกน
เท่ากับ 70,000 กก. และโมเมนต์ดดั (M) เท่ากับ 4,200 กก.–ม.
ของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ดังรู ป ได้ปลอดภัยหรื อไม่
กาหนดให้ fc' = 210 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 12 DB 20
เสาปลอกเกลียวขนาด  0.40 ม. ป  9 มม. @ 0.05 ม.

5. จากตัวอย่างที่ 8 จงหาค่าตัวคูณลดกาลังเสาชะลูด (R) ของเสาตัวริ ม AB ในโครงเฟรม เมื่อ


ก) ปลายเสาไม่เกิดการเคลื่อนที่ และ
ข) ปลายเสาเกิดการเคลื่อนที่ทางด้านข้าง ปลายเสาถูกยึดรั้งไว้ไม่ให้หมุนทั้งสองปลาย
กาหนดให้ เสาโก่งแบบสองทาง และเสารับแรงอัดเป็ นหลัก
ขนาดเสา 0.25x0.40 ม. และขนาดคาน 0.25x0.50 ม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 116

บทที่ 7
ฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก

ฐานรากเป็ นองค์อาคารที่ทาหน้าที่รับน้ าหนักจากเสาหรื อผนังของอาคารและถ่ายลงสู่ ช้ นั ดิน โดย


อาจถ่ายน้ าหนักลงสู่ ช้ นั ดิ นโดยตรงหรื อถ่ ายน้ าหนักลงสู่ ช้ นั ดิ นผ่านเสาเข็ม ดังนั้น ฐานรากจึงอาจแบ่ง
ออกเป็ นสองประเภท คือฐานรากแผ่วางบนดิ น (Spread footing) ซึ่ งจะต้องมีพ้ืนที่ ใหญ่เพียงพอที่จะลด
แรงดันดินใต้ฐานรากให้มีกาลังเพียงพอที่รับน้ าหนักได้ และฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม (Pile footing) ซึ่ ง
เสาเข็มจะรับน้ าหนักจากฐานรากและถ่ายลงชั้นดินอีกทอดหนึ่ ง โดยฐานรากอาจวางอยูบ่ นเสาเข็มสั้นซึ่ ง
อาศัยหน่ วยแรงฝื ดของดิ นกับพื้นที่ผิวเสาเข็มในการรับน้ าหนัก หรื อฐานรากที่วางบนเสาเข็มยาวปลาย
เสาเข็มอยูบ่ นชั้นดินแข็งซึ่ งใช้ท้ งั หน่วยแรงฝื ดของดินกับพื้นที่ผวิ เสาเข็ม และแรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม
ในการรับน้ าหนัก ดังรู ปที่ 7.1

P P P

ฐานรากแผ่ วางบนดิน

ฐานรากแผ่ วางบนเสาเข็ม
ชั้นดินแข็ง หรือชั้นทราย

รู ปที่ 7.1 ประเภทของฐานราก


ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 117

7.1 รู ปแบบของฐานราก (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)


ฐานรากที่ใช้รองรับน้ าหนักอาคารมีหลายรู ปแบบ เช่น ฐานรากใต้กาแพง ฐานรากเดี่ยว ฐานราก
ร่ วม ฐานรากตีนเป็ ด และฐานรากแบบแพ การออกแบบหรื อการเลือกรู ปแบบของฐานรากขึ้นอยูก่ บั การ
ใช้งาน น้ าหนักบรรทุก ตาแหน่งเสา และขอบเขตที่ดิน เป็ นต้น รู ปแบบของฐานรากแสดงในรู ปที่ 7.2

ฐานใต้ กาแพง ฐานเดี่ยว

ฐานร่ วม ฐานรากตีนเป็ ด

ฐานรากแบบแพ

รู ปที่ 7.2 รู ปแบบของฐานราก


ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 118

7.2 ฐานรากแผ่วางบนดิน
ฐานรากแผ่วางบนดิ น เป็ นองค์อาคารที่ ท าหน้าที่ ถ่ ายน้ าหนักลงสู่ ช้ ันดิ นโดยตรง เมื่ อน้ าหนัก
อาคารส่ งผ่านเสาตอม่อ หรื อผนังกาแพงคอนกรี ตลงสู่ ฐานราก จะเกิดแรงปฏิ กิริยาซึ่ งก็คือแรงดันดินใต้
ฐานราก หรื อที่ เรี ยกว่าแรงแบกทานของดิ น (Bearing pressure) และโดยทัว่ ไปจะสมมติ ให้แรงดันดิ น
กระทาแบบแผ่สม่ าเสมอ โดยถื อว่าดิ นใต้ฐานรากเป็ นวัสดุ เนื้ อเดียวกัน (Homogenous elastic materials)
จึงไม่คานึ งถึงชนิ ดของดินใต้ฐานราก อย่างไรก็ตาม การแผ่กระจายของแรงดันดินใต้ฐานรากยังขึ้นอยูก่ บั
น้ าหนักที่กระทา กรณี แรงรวมศูนย์ซ่ ึ งมีลกั ษณะเป็ นแรงตามแนวแกน แรงดันดิ นใต้ฐานรากแผ่กระจาย
แบบสม่ าเสมอ ดังรู ปที่ 7.3 (ก) และกรณี แรงเยื้องศูนย์ที่ทาให้เกิ ดทั้งแรงตามแนวแกนและโมเมนต์ดดั
ร่ วมกัน การแผ่กระจายของแรงดันดินใต้ฐานราก ดังรู ปที่ 7.3 (ข)

P P
M

p p p1 p2
L
L

P P P 6M
p  p1  
AF B  L B  L B  L2
P 6M
p2  
B  L B  L2

(ก) (ข)

เมื่อ p : แรงดันดินใต้ฐานราก
P : น้ าหนักทั้งหมดที่กระทากับฐานราก M : โมเมนต์ดดั ที่กระทากับฐานราก
AF : พื้นที่ของฐานราก B, L : ความกว้างและความยาวของฐานราก

รู ปที่ 7.3 การแผ่กระจายของแรงดันดินใต้ฐานราก


ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 119

การออกแบบฐานรากวางบนดิ น ชั้นดิ นจะต้องมี คุณสมบัติที่ดีสามารถรับกาลังได้สูง ซึ่ งส่ วน


ใหญ่เป็ นพื้นที่ชนบทที่เป็ นดินแข็งหรื อดินลูกรัง และขนาดของฐานรากจะต้องมีขนาดใหญ่เพียงพอที่จะ
ช่วยกาลังแบกทานของดินเพื่อป้ องกันมิให้ดินเกิดการวิบตั ิ โดยอาศัยหลักการออกแบบ คือ แรงดันดินใต้
ฐานรากจะต้ องไม่ เกิ น กว่ าก าลังแบกทานของดิ น หรื อไม่ เกิ น กว่ าหน่ วยแรงดัน ดิ น ที่ ย อมให้ พ.ร.บ.
กรุ งเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2522 (กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527) กาหนดว่า ถ้าไม่มีเอกสาร
แสดงผลการทดลองที่รับรองโดยสถาบันที่เชื่อถือได้ ให้ใช้กาลังแบกทานของดิน ดังตารางที่ 7.1

ตารางที่ 7.1 กาลังแบกทานของดิน ตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ปี พ.ศ. 2522


ประเภทของดิน กาลังแบกทานของดิน
(ตัน/ม.2)
ดินอ่อนหรื อดินถมไว้แน่นตัวเต็มที่ 2
ดินแน่นปานกลาง หรื อทรายร่ วน 5
ดินแน่น หรื อทรายหยาบ 10
กรวด หรื อดินดาน 20
หิ นดินดาน 25
หิ นปูน หรื อหิ นทราย 30
หิ นอัคนีที่ยงั ไม่แปรสภาพ 100

7.2.1 พฤติกรรมในการรั บนา้ หนักและการวิบัติของฐานรากแผ่ วางบนดิน แรงดันดินใต้ฐานราก


ส่ งผลให้เกิ ดแรงภายในฐานรากทั้งโมเมนต์ดดั แรงเฉื อน และแรงยึดหน่ วง ดังนั้น ในการออกแบบฐาน
รากจึงต้องคานึงถึงขนาดและความหนาที่เหมาะสมสามารถต้านทานแรงภายในที่เกิดขึ้นได้อย่างเพียงพอ
ก) โมเมนต์ดดั แรงดันดินใต้ฐานรากทาให้ฐานรากดัดโค้งลักษณะคล้ายการโก่งตัวของ
คานที่ ถู ก แรงภายนอกกระท า ซึ่ งเป็ นผลมาจากโมเมนต์ดัดที่ เกิ ด ขึ้ น ในฐานราก ดังรู ป ที่ 7.4 โดยค่ า
โมเมนต์ดดั สู งสุ ดที่ใช้คานวณออกแบบฐานรากเดี่ยวเกิ ดขึ้นที่ ขอบเสาตอม่อ หรื อแนวขอบผนังกาแพง
คอนกรี ต เรี ยกว่า เป็ นแนวหน้าตัดวิกฤตสาหรับ โมเมนต์ดดั และแรงยึดหน่ วงในฐานราก เมื่อตัดเฉพาะ
ส่ วนแนวหน้าตัดวิกฤติดงั กล่าวมาพิจารณาจะพบว่ามีลกั ษณะคล้ายคานยื่น โดยมีแรงดันดิ นใต้ฐานราก
เป็ นน้ าหนักบรรทุ ก ดังนั้น การวิเคราะห์หาค่าโมเมนต์ดดั สู งสุ ด (M) และแรงเฉื อนสู งสุ ด (V) ที่เกิ ดใน
ฐานรากจึงพิจารณาเหมือนคานยื่น ส่ วนการออกแบบฐานรากจะเหมือนกับการออกแบบคานเสริ มเหล็ก
M
รับแรงดึ งอย่างเดี ยว โดยพื้นที่ หน้าตัดเหล็กเสริ มต้านทานโมเมนต์ดดั คานวณจาก : As  และ
fs. jd
เส้ น รอบรู ป ของเหล็ ก เสริ มที่ ต้อ งการส าหรั บ การฝั ง ยึ ด เพื่ อ ต้ า นทานแรงยึ ด หน่ ว งค านวณจาก :
V
 o 
u. jd
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 120

P แนวหน้ าตัดวิกฤตสาหรั บโมเมนต์ ดัด

p = P/(BxL) : แรงดันดินใต้ ฐานราก

M
p
V

BMD

รู ปที่ 7.4 แนวหน้าตัดวิกฤติสาหรับโมเมนต์ดดั และแรงยึดหน่วง

ข) แรงเฉื อน การวิบ ตั ิ ของฐานรากภายใต้แรงเฉื อนมี โอกาสเกิ ดขึ้ นได้ 2 ลักษณะ ซึ่ ง


ขึ้นอยูก่ บั การพิจารณาแรงเฉื อน ดังนี้คือ (วินิต ช่อวิเชียร, 2545)
1. แรงเฉื อนทางเดี ย ว (One-way action) เกิ ดจากการพิ จารณาว่าฐานรากเป็ น
คาน การวิ บ ัติ เกิ ด จากแรงดึ ง ทแยงที่ ต าแหน่ ง ห่ า งออกจากขอบเสาตอม่ อ เป็ นระยะเท่ า กับ ความลึ ก
ประสิ ท ธิ ผ ลของฐานราก (d) ซึ่ งถื อ เป็ นแนวหน้าตัด วิก ฤตส าหรั บ แรงเฉื อ นแบบเดี ย วกับ คาน โดย
พิจารณาการวิบตั ิในแต่ละทิ ศทางทั้งด้านสั้นและด้านยาวของฐานรากในแนว AB และ CD ดังรู ปที่ 7.5
(ก) และแสดงเป็ นภาคตัดในรู ปที่ 7.5 (ข) การป้ องกันการวิบตั ิจะต้องออกแบบให้ฐานรากมีความลึกหรื อ
ความหนาที่เพียงพอต่อการต้านทานแรงเฉื อน ซึ่ งสามารถทาได้โดยตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น
V
ในฐานราก : v  ต้องน้อยกว่าหน่ วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ มาตรฐาน ว.ส.ท. 6301 กาหนดให้ไม่เกิ น
bd
กว่าหน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ต : vc  0.29 fc
2. แรงเฉื อนสองทาง (Two-way action) เกิ ดจากการกระท าของแรงเฉื อนใน
สองทิศทางพร้ อมกัน โดยพิจารณาว่าฐานรากเป็ นแผ่นพื้นรองรับเสาตอม่อซึ่ งส่ งถ่ายแรงลงฐานราก จึง
เกิ ดการวิบตั ิแบบเฉื อนทะลุ (Punching shear) มีลกั ษณะการวิบตั ิเป็ นรู ปทรงกรวยหรื อรู ปทรงปิ รามิด ที่
ตาแหน่งห่ างออกจากขอบเสาตอม่อโดยรอบเป็ นระยะเท่ากับครึ่ งหนึ่ งของความลึกประสิ ทธิ ผลของฐาน
ราก (d/2) และถื อเป็ นแนวหน้าตัดวิก ฤตส าหรับแรงเฉื อนแบบทะลุ ดังแสดงในรู ปที่ 7.5 (ก) ในแนว
EFGH และแสดงเป็ นภาคตัดในรู ปที่ 7.5 (ค) การป้ องกันการวิบตั ิแบบเฉื อนทะลุ จะต้องออกแบบให้ฐาน
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 121

รากมีความลึกหรื อความหนาที่เพียงพอต่อการต้านทานแรงเฉื อน ซึ่ งสามารถทาได้โดยตรวจสอบหน่วย


V
แรงเฉื อนที่ เกิ ดขึ้นในฐานราก : v  ต้องน้อยกว่าหน่ วยแรงเฉื อนที่ ยอมให้ มาตรฐาน ว.ส.ท. 6307
bd
กาหนดให้ไม่เกินกว่าหน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ต : vc  0.53 fc

A
d
E F
d G H
C D
B
(ก)
P P

d d/2 d/2
(ข) (ค)

รู ปที่ 7.5 แนวหน้าตัดวิกฤตสาหรับแรงเฉื อน (วินิต ช่อวิเชี ยร, 2545)

7.2.2 การเสริ มเหล็กในฐานราก มาตรฐาน ว.ส.ท. 7304 กาหนดให้เสริ มเหล็กต้านทานโมเมนต์


ดัด ดังนี้
ก) ฐานรากที่เสริ มเหล็กทางเดียว ต้องมีปริ มาณเหล็กเสริ มที่สามารถรับโมเมนต์ดดั ได้
ไม่นอ้ ยกว่าที่คานวณได้ และต้องกระจายเหล็กเสริ มให้สม่าเสมอตลอดความกว้างของหน้าตัดนั้นๆ
ข) ฐานรากที่เสริ มเหล็กสองทาง กรณี ฐานรากเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส ต้องกระจายเหล็ก
เสริ ม ในแต่ ล ะทิ ศ ทางให้ ส ม่ า เสมอตลอดความกว้างของฐานรากนั้น และในกรณี ที่ ฐานรากเป็ นรู ป
สี่ เหลี่ยมผืนผ้า เหล็กเสริ มในทิศทางยาวต้องกระจายสม่า เสมอตลอดความกว้างทางด้านสั้น ขณะที่เหล็ก
เสริ ม ในทิ ศ ทางสั้ นที่ ค านวณได้ท้ ัง หมดให้ แ บ่ ง เป็ น 2 ส่ ว น ดังรู ป ที่ 7.6 โดยส่ ว นแรกต้อ งกระจาย
สม่ าเสมอบริ เวณแถบกลางของฐานราก ความกว้างเท่ ากับ ด้านสั้นของฐานราก (B) และพื้ นที่ หน้าตัด
เหล็กเสริ มคานวณจากสู ตร :
2
As  As B
( S  1)
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 122

เมื่อ As : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มในแถบกลางความกว้างเท่ากับด้านสั้น (B)


AsB : พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มในทิศทางสั้นที่คานวณได้ท้ งั หมด
S : อัตราส่ วนระหว่างด้านยาวต่อด้านสั้นของฐานราก

เหล็กเสริ มส่ วนที่เหลื อให้แบ่งครึ่ งเพื่อเสริ มแถบริ มทั้งสองข้าง โดยกระจายเหล็กเสริ ม


แบบสม่าเสมอ

L
แถบริ ม แถบกลาง (B) แถบริ ม

รู ปที่ 7.6 การเสริ มเหล็กในฐานราก

7.2.3 แรงเฉื อนและแรงยึ ดหน่ วง มาตรฐาน ว.ส.ท. 7305 ให้ใช้ห น้าตัดวิก ฤตส าหรับแรงยึด
หน่ วงที่ ระนาบเดี ยวกับ หน้าตัดวิก ฤตส าหรั บ โมเมนต์ดัด และเป็ นแนวในการค านวณแรงเฉื อน เพื่ อ
นามาใช้ห าค่ าแรงยึดหน่ วงซึ่ งเกิ ดจากแรงดัด และเหล็ ก เสริ ม รั บ แรงดึ งทั้งหมด ณ หน้าตัดใดๆ ต้อ ง
สามารถต้านทานแรงยึดหน่ วงได้ไม่น้อยกว่าเกณฑ์กาหนดของแรงยึดหน่ วงตามที่ คานวณได้จากแรง
เฉื อนภายนอก ณ หน้าตัดนั้น
7.2.4 ความหนาตา่ สุ ดของฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ฐานรากแผ่วางบนดิ นหรื อฐานรากที่ใช้
เสาเข็มสั้นในดิ นอ่อน มาตรฐาน ว.ส.ท. 7309 กาหนดความหนาของคอนกรี ตที่ อยู่เหนื อเหล็กเสริ มถึ ง
ขอบนอกของฐาน ต้องไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร และต้องไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร สาหรับฐานรากที่
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 123

ใช้เสาเข็ม อื่น กรณี ฐานรากคอนกรี ตไม่เสริ ม เหล็ก ความหนาที่ขอบนอกของฐานต้องไม่ น้อยกว่า 20


เซนติเมตร และต้องไม่นอ้ ยกว่า 35 เซนติเมตร จากหัวเสาเข็มสาหรับฐานรากที่ใช้เสาเข็มอื่น
7.2.5 การถ่ ายหน่ วยแรงที่ ฐานของเสา การถ่ายหน่ วยแรงหรื อแรงต่างๆ จากเสาตอม่อ หรื อผนัง
กาแพงคอนกรี ต ลงสู่ ฐานรองรับ อาศัยกาลังรั บ แรงกดหรื อแรงแบกทาน (Bearing) ของคอนกรี ต ซึ่ ง
กาลังรั บ แรงกดหรื อแรงแบกทานที่ ยอมให้ต่อเนื้ อที่ ท้ งั หมดต้องไม่ เกิ น 0.25fc' เมื่ อรั บ น้ าหนักใช้งาน
นอกจากนี้ ยังอาศัยเหล็กยืนที่เสริ มในเสา หรื อใช้เหล็กเดือย (Dowels) ในการส่ งถ่ายแรง โดยยื่นเหล็กยืน
ของเสาเข้าไปในฐานราก กรณี ใช้เหล็กเดื อยต้องมีจานวนไม่น้อยกว่าสี่ เส้น และมีขนาดใหญ่กว่าขนาด
เหล็ กเสริ มตามแกนไม่ น้อยกว่า 3 มิลลิ เมตร ยื่นเข้าไปในเสา หรื อตอม่อระยะไม่น้อยกว่าการต่อทาบ
เหล็กเสริ มแกนเสา

7.3 ขั้นตอนในการคานวณออกแบบฐานรากแผ่ วางบนดิน


1. รวมน้ าหนักทั้งหมดที่กระทากับฐานราก และคานวณหาขนาดของฐานราก โดยพิจารณาจาก
น้ าหนักทั้งหมดที่กระทากับฐานรากหารด้วยหน่วยแรงดันดินที่ยอมให้ใต้ฐานราก
2. คานวณหาค่าโมเมนต์ดัดและแรงเฉื อนสู งสุ ดที่ แนวหน้าตัดวิก ฤติ ขอบเสาตอม่ อในแต่ล ะ
ทิศทาง (กรณี ฐานรากเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า)
3. หาความหนาของฐานราก (t) โดยการคานวณหาความลึกประสิ ทธิผลที่ตอ้ งการ (d) จากสู ตร :
M
d
R.b
4. ตรวจสอบความหนาของฐานรากที่ ได้จากขั้นตอนที่ 3 โดยการพิ จารณาหน่ วยแรงเฉื อนที่
เกิ ดขึ้นในฐานรากต้องน้อยกว่าหน่ วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ ที่ตาแหน่ งแนวหน้าตัดวิกฤติสาหรับแรงเฉื อน
ทั้ง 2 กรณี คื อ แรงเฉื อนทางเดี ย ว (แบบคาน : vc  0.29 fc ) และแรงเฉื อนสองทาง (แบบทะลุ :
vc  0.53 fc )
5. ค านวณหาพื้ น ที่ ห น้ า ตัด เหล็ ก เสริ มต้ า นทานโมเมนต์ ดั ด ในแต่ ล ะทิ ศ ทางจากสู ตร :
M
As  และคานวณเส้ นรอบรู ป ของเหล็กเสริ ม ที่ ต้องการส าหรับการฝั งยึด เพื่ อต้านทานแรงยึด
fs. jd
V
หน่วงจากสู ตร :  O  เลือกขนาดของเหล็กเสริ มและเขียนรายละเอียดการเสริ มเหล็ก
u. jd
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 124

ตัวอย่ างที่ 1 จงออกแบบฐานรากแผ่สี่เหลี่ยมจัตุรัส รับน้ าหนักจากเสาตอม่อ 22,500 กก. ขนาดเสาเท่ากับ


0.30x0.30 ม. ใต้ฐานรากเป็ นชั้นดินแน่นมีหน่วยแรงดันดินที่ยอมให้เท่ากับ 10,000 กก./ม.2
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2,
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
วิธีทา
น้ าหนักจากเสาตอม่อ = 22,500 กก. 22,500 กก.
สมมติน้ าหนักฐานราก = 2,250 กก.
น้ าหนักรวม = 24,750 กก.
พื้นที่ฐานรากที่ตอ้ งการ = 24,750 = 2.475 ม.2
10,000
เลือกใช้ขนาดฐานรากเท่ากับ 1.60x1.60 ม.
24,750
หน่วยแรงดันดิน = = 9,667.96 กก./ม.2
1.60  1.60
9,667.96 กก./ม.2
1.60 ม.
ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax
1 2 1
M max  wL  (9,667.96)0.652
2 2
= 2,042.35 กก.–ม

Mmax
9,667.96 กก./ม.2
9,667.96 กก./ม. 0.65 ม.
0.65 ม.
2,042.35 กก.–ม
B.M.D.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2

หาความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการ : d


2,042.35  100
d
M max
 = 13.63 ซม. ใช้ d = 15.00 ซม.
Rb 10.99  100
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 125

ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึน้ ในฐานราก : v


หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบคาน : vc d
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม.2
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v 
bd
1.60(0.65  0.15)  9,667.96
v
(160)(15)
= 3.22 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้

0.50

หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบทะลุ : vc


d/2 vc  0.53 fc '  0.53 160 = 6.70 กก./ซม.2
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v 
bd
[(1.60)  (0.45) 2 ]  9,667.96
2
v
(180)(15)
= 8.44กก./ซม.2 > vc
ใช้ไม่ได้ ต้องเพิ่มความหนาฐานราก

ความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการหาจากสู ตร :


V 22,792.21
d  = 18.89 ซม.
vcb 6.70(180)
เลือกใช้ d = 20.00 ซม.

สรุ ปขนาดของฐานราก 1.60 x 1.60 x 0.30 ม. ระยะ d = 20.00 ซม.


น้ าหนักฐานราก : 1.60 x 1.60 x 0.30 x 2,400 = 1,843.2 กก. < 2,250 กก. ใช้ได้
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 126

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As
M max 2,042.35  100
As  
fs. jd 1,500(0.885)20
= 7.69 ซม.2 (DB 12 = 6.80 เส้น)

เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการ :  o


V 0.65  1.60  9,667.96 3.23 fc '
 o 
u. jd

34.04(0.885  20)
, u
db
= 34.04 กก./ซม.2
= 16.68 ซม. (DB 12 = 4.42 เส้น)

เปรี ยบเทียบพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มกับเส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการ กรณี ใดใช้ปริ มาณ


เหล็กเสริ มมากกว่ากัน ดังนั้น เลือกใช้เหล็กเสริ ม 7 DB 12 (เสริ มสองทางเท่ากัน) As = 7.91 ซม.2,  o
= 26.38 ซม.

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

7 DB 12 มม.

0.20 ม.
0.30 ม.

1.60 ม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 127

ตัวอย่ างที่ 2 จงออกแบบฐานรากแผ่สี่เหลี่ ยมผืนผ้า เพื่อรับน้ าหนักจากเสาตอม่อ 34,000 กก. ขนาดเสา


เท่ากับ 0.30x0.30 ม. ใต้ฐานรากเป็ นชั้นดินแน่นมีหน่วยแรงดันดินที่ยอมให้เท่ากับ 10,000 กก./ม.2
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2,
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
วิธีทา 34,000 กก.
น้ าหนักจากเสาตอม่อ = 34,000 กก.
สมมติน้ าหนักฐานราก = 3,400 กก.
น้ าหนักรวม = 37,400 กก.
37,400
พื้นที่ฐานรากที่ตอ้ งการ = = 3.74 ม.2
10,000
เลือกใช้ขนาดฐานรากเท่ากับ 1.80x2.20 ม.
37,400
หน่วยแรงดันดิน = = 9,444.44 กก./ม.2 9,444.44 กก./ม.2
1.80  2.20
ด้านสั้น = 1.80 ม.
ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax ด้านยาว = 2.20 ม.
ด้านสั้น (1.80 ม.)
1 2 1
M max  wL  (9,444.44)0.752 Mmax
2 2
= 2,656.25 กก.–ม. 9,444.44 กก./ม.
0.75 ม.
ด้านยาว (2.20 ม.)
1 2 1
M max  wL  (9,444.44)0.952
2 2
= 4,261.80 กก.–ม. Mmax
9,444.44 กก./ม.
0.95 ม.
ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2

หาความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการ : d


M max 4,261.80  100 = 19.69ซม. ใช้ d = 25.00 ซม.
d 
Rb 10.99  100
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 128

ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึน้ ในฐานราก : v 2.20 ม.


หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบคาน : vc d
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม.2
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นทางด้านสั้น: v  1.80 ม.
bd
1.80(0.95  0.25)  9,444.44
v
(180)(25)
= 2.64 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นทางด้านยาว: v  d
bd
2.20(0.75  0.25)  9,444.44
v
(220)(25)
= 1.88 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้

หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบทะลุ : vc


vc  0.53 fc '  0.53 160 = 6.70 กก./ซม.2 2.20 ม.
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v  d/2
bd
[(1.80  2.20)  (0.55) ]  9,444.44
2
v 1.80 ม.
(4  55)(25)
= 6.28 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้

สรุ ปขนาดของฐานราก 1.80 x 2.20 x 0.35 ม. ระยะ d = 25.00 ซม.


น้ าหนักฐานราก : 1.80 x 2.20 x 0.35 x 2,400 = 3,326.4 กก. < 3,400 กก. ใช้ได้

คานวณหาปริ มาณเหล็กเสริ ม
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มด้านยาว : AsL
M max 4,261.80  100
As L  
fs. jd 1,500(0.885)25
= 12.84 ซม.2 (DB 12 = 11.36 เส้น)

เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการทางด้านยาว :  o


V 0.95  1.80  9,444.44 3.23 fc '
 o 
u. jd

34.04(0.885  25)
, u
db
= 34.04 กก./ซม.2
= 21.44 ซม. (DB 12 = 5.68 เส้น)
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 129

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มทางด้านยาววางกระจายแบบสม่าเสมอทางด้านสั้นเท่ากับ 12 DB 12 : As
= 13.56 ซม.2,  o = 45.24 ซม.

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มด้านสั้น : AsB


M 2,656.25  100
As B  
fs. jd 1,500(0.885)25
= 8.00 ซม.2 (DB 12 = 7.08 เส้น)
เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการทางด้านสั้น :  o
V 0.75  2.20  9,444.44 3.23 fc '
 o 
u. jd

34.04(0.885  25)
, u
db
= 34.04 กก./ซม.2
= 20.69 ซม. (DB 12 = 5.48 เส้น)

ใช้ พื้นที่ หน้ าตัดเหล็กเสริ มทางด้ านสั้ นเท่ ากับ As = 8.00 ซม.2 โดยแบ่ งเป็ นเหล็กเสริ มด้ านสั้ น
แถบกลางและแถบริ ม ดังนี ้
เหล็กเสริ มแถบกลาง As 
2
( As B ) 
2
(8.00)
S 1 2.20
1
1.8
= 7.20 ซม.2
เลือกใช้ 7 DB 12 (As = 7.91 ซม.2)
8.00  7.20
เหล็กเสริ มแถบริ มแถบละ As 
2
= 0.40 ซม.2
เลือกใช้ 1 DB 12 (As = 1.13 ซม.2)
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 130

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

2.20 ม.
0.20 1.80 0.20

1.80 ม.

ด้านยาว : 12 DB 12
ด้านสั้น : 9 DB 12 (แถบกลาง 7 DB 12)

9 DB 12 มม. (แถบกลาง 7 DB 12)


12 DB 12 มม.

0.35 ม. 0.25 ม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 131

ตัวอย่ างที่ 3 จงออกแบบฐานรากแผ่รับน้ าหนักตามแกนเท่ากับ 22,500 กก. และโมเมนต์ดดั 2,000 กก.–ม.


ใต้ฐานรากเป็ นชั้นดินแน่นมีหน่วยแรงดันดินที่ยอมให้เท่ากับ 10,000 กก./ม.2
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2, ขนาดเสาตอม่อ : 0.30x0.30 ม.
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา น้ าหนักจากเสาตอม่อ = 22,500 กก. 22,500 กก.


สมมติน้ าหนักฐานราก = 4,500 กก. 2,000 กก.–ม.
น้ าหนักรวม = 27,000 กก.
27,000
พื้นที่ฐานรากที่ตอ้ งการ = = 2.70 ม.2
10,000
เลือกใช้ขนาดฐานรากเท่ากับ 2.0x2.0 ม.
(เผือ่ ขนาดฐานรากเพื่อรับโมเมนต์ดดั )
P 6M
หน่วยแรงดันดินข้างมาก : p 
BL BL2
27,000 6(2,000) 27,000 กก.
p 
(2.0  2.0) (2.0  2.0 2 )
= 8,250 กก./ม.2 < 10,000 กก./ม.2 ใช้ได้ 2,000 กก.–ม.
P 6M
หน่วยแรงดันดินข้างน้อย : p  
BL BL2
27,000 6(2,000)
p  5,250 8,250
(2.0  2.0) (2.0  2.02 )
= 5,250 กก./ม.2 2.00 ม.

หน่วยแรงดันดินที่ขอบเสาตอม่อ :
3,000
p  5,250  (1.15) = 6,975 กก./ม.2 Mmax
2
6,975 8,250
ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax 0.85 ม.
1 1 2
M max   6,975  0.852  (1,275)0.85(  0.85) 2,826.78กก.–ม.
2 2 3
= 2,826.78 กก.–ม.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 132

หาความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการ : d


M max 2,826.78  100 = 16.03ซม. ใช้ d = 20.00 ซม.
d 
Rb 10.99  100

ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึน้ ในฐานราก : v 2.00 ม.


หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบคาน : vc d
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม.2 2.00 ม.
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v 
bd
หน่วยแรงดันดินที่แนวหน้าตัดวิกฤต :
3,000
p  5,250  (1.35) = 7,275 กก./ม.2
2
1
V  (8,250  7,275)  2  0.65 = 10,091.25 กก.
2
10,091.25
v = 2.52 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้
(200)(20)
0.65
หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบทะลุ : vc
vc  0.53 fc '  0.53 160 = 6.70 กก./ซม.2 2.00 ม.
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v  d/2
bd
8,250  5,250
V ( )  (2.02  0.52 ) 2.00 ม.
2
= 25,312.50 กก.
25,310.50
v = 6.32 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้
(4  50)(20)

สรุ ปขนาดของฐานราก 2.00 x 2.00 x 0.30 ม. ระยะ d = 20.00 ซม.


น้ าหนักฐานราก : 2.00 x 2.00 x 0.30 x 2,400 = 2,880 กก. < 4,500 กก. ใช้ได้

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As
M max 2,826.78  100
As  
fs. jd 1,500(0.885)20
= 10.64 ซม.2 (DB 12 = 9.41 เส้น)
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 133

เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการ :  o


1
(8,250  6,975)  2.0  0.85
V 3.23 fc '
 o 
u. jd
 2
34.04(0.885  20)
, u
db
= 34.04 กก./ซม.2
= 21.47 ซม. (DB 12 = 5.69 เส้น)
เปรี ยบเทียบพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มกับเส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการ กรณี ใดใช้ปริ มาณ
เหล็กเสริ มมากกว่ากัน ดังนั้น เลือกใช้เหล็กเสริ ม 10 DB 12 (เสริ มสองทางเท่ากัน) As = 11.30 ซม.2,
 o = 37.69 ซม.

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

10 DB 12 มม.

0.30 ม. 0.20 ม.

2.00 ม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 134

7.4 ฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม
ฐานรากของอาคารที่ต้ งั อยูใ่ นบริ เวณดินอ่อนจะอาศัยเสาเข็มเป็ นตัวถ่ายน้ าหนักลงสู่ ช้ นั ดินแข็งที่
อยู่ลึกลงไปใต้ดิน โดยมักจะทาเป็ นกลุ่มเสาเข็มแล้วใช้ฐานรากคอนกรี ต หรื อฐานแผ่หุ้มเสาเข็ม เพื่อทา
หน้าที่กระจายน้ าหนักลงเสาเข็ม ลักษณะของฐานรากแผ่วางบนเสาเข็มจึงคล้ายกับฐานรากแผ่วางบนดิน
ต่างกันเพียงแรงที่กระทาต่อฐานราก โดยฐานรากแผ่วางบนเสาเข็มจะมีแรงกระทาเป็ นจุดขณะที่ฐานราก
แผ่วางบนดินมีแรงดันดินใต้ฐานรากกระจายต่อพื้นที่
7.4.1 เสาเข็ม การพิ จ ารณาออกแบบฐานรากแผ่ ว างบนเสาเข็ ม จ าเป็ นต้อ งทราบถึ ง ข้อ มู ล
รายละเอียดต่างๆ ของเสาเข็มเพื่อที่จะเลือกนามาใช้งานได้อย่างเหมาะสม ซึ่ งปั จจุบนั เสาเข็ม มีมากมาย
หลายประเภท ในที่น้ ีจะกล่าวเฉพาะเสาเข็มที่นิยมใช้ในงานอาคารพักอาศัย ดังนี้
ก) เสาเข็ม คอนกรี ตอัดแรง เป็ นเสาเข็มเสริ ม ลวดแรงดึ งสู ง กระบวนการผลิ ต จะใช้
เทคนิ คการดึ งลวดแล้วเทคอนกรี ตลงในแบบ เมื่ อคอนกรี ตแข็งตัวแล้วมี กาลังตามกาหนดจึงทาการตัด
ลวดรับแรงดึ งเพื่ อเพิ่มกาลังอัดในตัวเสาเข็ม และช่ วยลดปั ญหาการแตกร้ าวของคอนกรี ตด้วย เสาเข็ม
คอนกรี ตอัดแรงมีรูปตัดหลายแบบ เช่ น เสาเข็มรู ปตัวไอ รู ปสี่ เหลี่ ยมจัตุรัส และเสาเข็มหกเหลี่ยมกลวง
เป็ นต้น บริ ษทั ผูผ้ ลิ ตจะประมาณค่ากาลังรับน้ าหนักปลอดภัยของเสาเข็มเบื้องต้นจากขนาดหน้าตัดของ
เสาเข็มและคุณสมบัติของวัสดุเพื่อเป็ นข้อมูลในการเลือกใช้งาน ดังตารางที่ 7.2

ตารางที่ 7.2 เสาเข็มคอนกรี ตอัดแรง


รหั ส รู ปตัด ขนาดเสาเข็ม พืน้ ที่ หน้ าตัด เส้ นรอบรู ป นา้ หนัก นา้ หนัก
(ซม.2) (ซม.) (กก./ม.) ปลอดภัย
(ตัน)
I-18 0.18x0.18x12.00–21.00 ม. 235 83 57 8 – 20
I-22 0.22x0.22x2@10.50 ม. 332 105 80 25 – 60
I-26 0.26x0.26x21.00–24.00 ม. 460 126 110 30 – 35
I-30 0.30x0.30x21.00–24.00 ม. 570 154 137 35 – 40
I-35 0.35x0.35x21.00–24.00 ม. 880 165 211 57
S-18 0.18x0.18x3@ 7.00 ม. 324 72 78 20 – 25
S-22 0.22x0.22x2@10.50 ม. 484 88 116 25 – 30
S-26 0.26x0.26x21.00–24.00 ม. 676 104 160 40 – 45
S-30 0.30x0.30x21.00–24.00 ม. 900 120 216 45 – 50
S-35 0.35x0.35x 21.00–24.00 ม. 1,225 140 294 60 – 80
0.15x0.15x4.00ม. 1.03
Hp-15 0.15x0.15x5.00 ม. 138 50 33 1.35
0.15x0.15x6.00 ม. 1.71
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 135

ข) เสาเข็มเจาะ ใช้ในงานก่อสร้างที่มีพ้ืนที่จากัดและบริ เวณก่อสร้ างติดอาคารข้างเคียง


เพื่อลดปั ญหาในการตอกเสาเข็มคอนกรี ตอัดแรงลงดิน ซึ่ งอาจกระทบกระเทือนทาให้เกิดความเสี ยหาย
ต่ อ อาคารข้างเคี ย งได้ ส าหรั บ อาคารพัก อาศัย ทั่วไปนิ ย มใช้เสาเข็ ม เจาะขนาดเส้ น ผ่า นศู น ย์ก ลาง 35
เซนติเมตร ความยาวเสาเข็มเจาะ 20–30 เมตร เป็ นระบบเจาะแบบแห้ง โดยขุดเจาะดินออกตามความลึกที่
กาหนด ใส่ เหล็กเสริ ม แล้วเทคอนกรี ตจนเติมหลุมเจาะ
โดยทัว่ ไปวิศวกรจะเป็ นผูก้ าหนดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความลึ กของเสาเข็ม ซึ่ ง
จะต้องอาศัยข้อมูลเจาะสารวจชั้นดิน ตลอดจนทดสอบกาลังรับน้ าหนักแบกทานของเสาเข็มตามหลักวิชา
วิศวกรรมปฐพีและฐานราก เพื่อให้ได้ความสามารถในการรับน้ าหนักปลอดภัยของเสาเข็มอย่างแท้จริ ง
ดังนั้น ความสามารถในการรับน้ าหนักปลอดภัยของเสาเข็มจะขึ้ นอยู่กบั 2 ส่ วน ส่ วนแรกก็คือเสาเข็ม
ประกอบด้วยขนาดและคุ ณสมบัติวสั ดุ ที่ใช้ทาเสาเข็ม และส่ วนที่สองคือคุ ณสมบัติของชั้นดิ นที่ รองรับ
เสาเข็ม กรณี ที่ฐานรากวางบนเสาเข็มสั้นจะอาศัยหน่ วยแรงฝื ดของดิ นกับพื้นที่ผิวของเสาเข็มในการรับ
น้ าหนัก ส่ วนเสาเข็มยาวจะอาศัยทั้งหน่ วยแรงฝื ดของดิ นกับพื้นที่ผิวของเสาเข็มในการรับน้ าหนักและ
กาลังแบกทานที่ปลายเสาเข็มซึ่ งหยัง่ บนชั้นดิ นแข็ง ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร ปี พ.ศ.2522 กาหนดให้
ใช้หน่วยแรงฝื ดและกาลังแบกทานของดิน ดังนี้
ในกรณี ไม่มีเอกสารผลทดสอบคุณสมบัติของดิน
1. สาหรับดินที่อยูใ่ นระดับลึกไม่เกิน 7.00 เมตร ใต้ระดับน้ าทะเลปานกลาง ให้ใช้หน่วย
แรงฝื ดของดินได้ไม่เกิน 600 กก./ม.2 ของพื้นผิวประสิ ทธิ ผลของเสาเข็ม
2. ส าหรั บ ดิ นที่ อยู่ในระดับ ลึ ก เกิ นกว่า 7.00 เมตร ใต้ระดับ น้ าทะเลปานกลาง ให้ใ ช้
หน่ วยแรงฝื ดของดิ นเฉพาะส่ วนที่ ลึกเกิ นกว่า 7.00 เมตร ลงไปโดยคานวณจากสมการ : หน่ วยแรงฝื ด
เท่ากับ 800 + 200 L (L : ความยาวเสาเข็มส่ วนที่ เกิ น 7.00 เมตร) และในการคานวณหากาลังรับน้ าหนัก
ของเสาเข็มโดยอาศัยหน่วยแรงฝื ดของดิน ให้ใช้สมการต่อไปนี้

P = f.p.L

เมื่อ P : กาลังรับน้ าหนักปลอดภัยของเสาเข็ม, L : ความยาวของเสาเข็ม


f : หน่วยแรงฝื ดของดินที่ยอมให้, p : เส้นรอบรู ปของเสาเข็ม

ในกรณี ที่มีเอกสารผลทดสอบคุ ณสมบัติของดิ นหรื อมีการทดสอบกาลังแบกทานของ


เสาเข็ม ในบริ เวณก่อสร้างหรื อข้างเคียง ให้ใช้กาลังแบกทานของเสาเข็มไม่เกินอัตรา ต่อไปนี้
1. ไม่เกินร้อยละ 40 ของกาลังแบกทานเสาเข็มที่คานวณจากการทดสอบคุณสมบัติดิน
2. ไม่เกินร้อยละ 40 ของกาลังแบกทานเสาเข็มที่คานวณจากสู ตรการตอกเสาเข็ม
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 136

3. ไม่เกินร้อยละ 50 ของกาลังแบกทานเสาเข็มที่ได้จากการทดสอบกาลังแบกทานสู งสุ ด


ทั้งนี้ ในการทดสอบก าลังแบกทานสู งสุ ดของเสาเข็ม ค่าทรุ ดตัวของเสาเข็ม ต้องไม่ เกิ น 0.25 มม. ต่ อ
น้ าหนักแบกทาน 1,000 กก. และเมื่อเอาน้ าหนักแบกทานออกหมดแล้วเป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ค่าทรุ ดตัวที่
ปรากฏต้องไม่เกิน 6.00 มม.

7.4.2 พฤติกรรมในการรั บนา้ หนักและการวิบัติของฐานรากแผ่ วางบนเสาเข็ม จานวนเสาเข็มที่ใช้


ในแต่ละฐานรากหาได้จาก นา้ หนักบรรทุกใช้ งานทั้งหมดที่ ถ่ายลงสู่ ฐานรากหารด้ วยนา้ หนักปลอดภัย
ของเสาเข็ม ซึ่ งปกติ ท ั่วไปเสาเข็ม มี ตวั คู ณ ค่ าความปลอดภัย (Factor of safety) ไม่ น้อยกว่า 2.5 โดยมี
สมมติฐานในการออกแบบ คือ ให้เสาเข็มทุกต้นรับน้ าหนักเท่ากัน (Balance design method) จากการจัด
วางเสาเข็มให้สมมาตรกัน สาหรับประเทศไทย นิ ยมจัดเรี ยงเสาเข็มให้มีระยะห่ างอย่างน้อย 3 เท่าของ
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็ม ส่ วนระยะห่างระหว่างศูนย์กลางเสาเข็มต้นริ มถึงขอบฐานรากประมาณ 1
ถึง 1.5 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็ม (สถาพร โภคา, 2544) เมื่อได้จานวนเสาเข็มที่ใช้ในแต่ละ
ฐานแล้ว จานวนเสาเข็มจะเป็ นตัวควบคุ ม รู ป แบบหรื อรู ป ทรงของฐานราก ตัวอย่างเช่ น ฐานรากที่ ใช้
เสาเข็ม 2 ต้น จะมีรูปทรงเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ฐานรากที่ใช้เสาเข็ม 3 ต้น จะมีรูปทรงเป็ นสามเหลี่ยมปลาย
ตัด (หรื อลัก ษณะหกเหลี่ ยม) และฐานรากที่ ใช้เสาเข็ม 4 ต้น จะมี รูป ทรงเป็ นสี่ เหลี่ ยมจัตุรัส เป็ นต้น
รู ปแบบหรื อรู ปทรงของฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม แสดงในรู ปที่ 7.7

2 ต้ น 3 ต้ น 4 ต้ น 5 ต้ น

6 ต้ น
7 ต้ น 9 ต้ น

รู ปที่ 7.7 รู ปแบบหรื อรู ปทรงของฐานรากจากการจัดวางกลุ่มเสาเข็มแบบสมมาตร

การกระจายน้ าหนักของฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม กรณี เป็ นฐานรากเดี่ยวรับน้ าหนักรวมศูนย์จาก


เสาตอม่อเป็ นแรงตามแนวแกนอย่างเดี ยว ก็คือน้ าหนักเฉลี่ ยที่เสาเข็มแต่ละต้นรับมีลกั ษณะกระทาแบบ
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 137

เป็ นจุดเท่ากันทุกต้น ดังรู ปที่ 7.8 (ก) และกรณี ที่มีแรงเยื้องศูนย์กระทาส่ งผลให้ฐานรากรับน้ าหนักตาม
แนวแกน (P) และโมเมนต์ดดั (M) การกระจายน้ าหนักในแต่ละแถวแสดงในรู ปที่ 7.8 (ข)

d2 d 2
d1 d1
P P
M

P' P' P' P' P1' P2' P3' P4'


(ก) (ข)

กรณี แรงรวมศู น ย์ : ฐานรากรั บน้ า หนั ก ตาม กรณี แรงเยื ้อ งศู น ย์ : ฐานรากรั บ น้าหนั ก ตาม
แนวแกนอย่ างเดียว (P) แนวแกน (P) และโมเมนต์ ดัด (M)

P P Mc
P   Ra P  
n n I

เมื่อP' : นา้ หนักที่ เสาเข็มแต่ ละต้ นรั บ P1 


P

Md1 ,
P2 
P Md 2

n  dn2 n  dn2
P : นา้ หนักบรรทุกทั้งหมดที่ กระทากับฐานราก
P Md 2 P Md1
n : จานวนเสาเข็ม P3   , P4  
n  dn2 n  dn2
Ra : กาลังรั บนา้ หนักปลอดภัยของเสาเข็ม
เมื่อ dn : ระยะห่ างของเสาเข็มแต่ ละต้ นจาก
แกนศูนย์ ถ่วงของกลุ่มเสาเข็ม
d  2[3(d1 ) 2  3(d 2 ) 2 ]
2
n

รู ปที่ 7.8 การกระจายน้ าหนักของฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม


ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 138

แรงจากเสาเข็ม ส่ งผลให้ เกิ ดแรงภายในฐานราก ทั้งโมเมนต์ดัด แรงเฉื อน และแรงยึดหน่ วง


ดังนั้น ในการออกแบบฐานรากจึ งต้องคานึ งถึ งขนาดและความหนาที่ เหมาะสมสามารถต้านทานแรง
ภายในที่เกิดขึ้นได้อย่างเพียงพอ
ก) โมเมนต์ดดั ฐานรากเดี่ยววางแผ่บนเสาเข็มมีแนวหน้าตัดวิกฤตสาหรับ โมเมนต์ดดั
และแรงยึดหน่ วงที่ ขอบเสาตอม่อหรื อขอบผนังกาแพงคอนกรี ต ดังนั้น การหาค่าโมเมนต์ดดั และแรง
เฉื อนสู งสุ ดพิจารณาจากรู ปที่ 7.9 ซึ่ งจะพบว่าแรงต้านจากเสาเข็มที่กระทากับฐานรากมีลกั ษณะเป็ นจุด
M
ในส่ วนการคานวณหาพื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มต้านทานโมเมนต์ดดั คานวณจาก : As  และเส้น
fs. jd
รอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ ตอ้ งการสาหรับการฝั งยึด เพื่อต้านทานแรงยึดหน่ วงซึ่ งเกิ ดจากการดัดคานวณ
V
จาก :  o  เป็ นไปในลักษณะเดียวกับการออกแบบฐานรากแผ่วางบนดิน
u. jd

P
แนวหน้ าตัดวิกฤติสาหรั บโมเมนต์ ดัด

แรงต้ านหรื อแรงปฏิ กิริยาจากเสาเข็ม

BMD

รู ปที่ 7.9 แนวหน้าตัดวิกฤตสาหรับโมเมนต์ดดั และแรงยึดหน่วง

ข) แรงเฉื อน แนวหน้าตัดวิกฤตสาหรับแรงเฉื อนของฐานรากแผ่วางบนเสาเข็มซึ่ งเป็ น


แนวที่ทาให้ฐานรากเกิ ดการวิบตั ิภายใต้แรงเฉื อนมีโอกาสเกิ ดขึ้นได้ 2 กรณี เช่ นเดียวกับฐานรากแผ่วาง
บนดินดังได้กล่าวมาแล้ว คือ กรณี แรงเฉื อนทางเดียว (One-way action) เกิ ดจากการพิจารณาว่าฐานราก
เป็ นคาน ซึ่ งการวิบตั ิเกิดจากแรงดึงทแยงที่ตาแหน่งห่ างออกจากขอบเสาตอม่อเป็ นระยะเท่ากับความลึ ก
ประสิ ทธิ ผลของฐานราก (d) โดยพิจารณาแรงเฉื อนในแต่ละทิศทางทั้งด้านสั้นและด้านยาวของฐานราก
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 139

การป้ องกันการวิบตั ิจะต้องออกแบบให้ฐานรากมีความลึกหรื อความหนาที่เพียงพอต่อการต้านทานแรง


V
เฉื อน ซึ่ งสามารถทาได้โดยตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในฐานราก : v  ต้องน้อยกว่าหน่ วย
bd
แรงเฉื อนที่ยอมให้ มาตรฐาน ว.ส.ท. 6301 กาหนดให้ไม่เกินกว่าหน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ต :
vc  0.29 fc และกรณี แรงเฉื อ นสองทาง (Two-way action) เกิ ด จากการกระท าของแรงเฉื อ นใน
สองทิศทางพร้ อมกัน โดยพิจารณาว่าฐานรากเป็ นแผ่นพื้นรองรับเสาตอม่อซึ่ งส่ งถ่ายแรงลงฐานราก จึง
เกิ ดการวิบตั ิแบบเฉื อนทะลุ (Punching shear) มีลกั ษณะการวิบตั ิเป็ นรู ปทรงกรวยหรื อรู ปทรงปิ รามิด ที่
ตาแหน่งห่ างออกจากขอบเสาตอม่อโดยรอบเป็ นระยะเท่ากับครึ่ งหนึ่ งของความลึกประสิ ทธิ ผลของฐาน
ราก (d/2) การป้ องกันการวิบตั ิ แบบเฉื อนทะลุ จะต้องออกแบบให้ฐานรากมี ความลึ กหรื อความหนาที่
เพียงพอต่อการต้านทานแรงเฉื อน ซึ่ งสามารถทาได้โดยตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในฐานราก :
V
v ต้องน้อยกว่าหน่ วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ มาตรฐาน ว.ส.ท. 6307 กาหนดให้ไม่เกินกว่าหน่ วยแรง
bd
เฉือนที่ยอมให้ของคอนกรี ต : vc  0.53 fc อย่างไรก็ตาม เนื่องจากแรงที่กระทากับฐานรากแผ่วางบน
เสาเข็มมีลกั ษณะเป็ นจุดกระจายอยูบ่ นฐานราก ในการหาแรงเฉื อนที่หน้าตัดใดๆ มาตรฐาน ว.ส.ท. 7305
ให้พิจารณาดังนี้
1. แรงต้านทั้งหมดของเสาเข็มต้นใดก็ตามที่มีศูนย์กลางอยูห่ ่ างจากแนวหน้าตัด
วิกฤติออกไปภายนอกตั้งแต่ 15 เซนติเมตร ขึ้นไป มีผลให้เกิดแรงเฉื อนเต็มที่หน้าตัดนั้น
2. เสาเข็ ม ที่ มี ศู น ย์ก ลางอยู่ ห่ า งจากหน้ า ตั ด วิ ก ฤตเข้ า มาภายในตั้ง แต่ 15
เซนติเมตร ขึ้นไป ให้ถือว่าไม่ทาให้เกิดแรงเฉื อนที่หน้าตัดนั้น
3. กรณี ที่ศูนย์กลางของเสาเข็มอยูใ่ นช่วงนี้ให้ใช้วธิ ี เทียบอัตราส่ วนโดยตรง จาก
1
สมการ : V  ( x  15) P เมื่อ x คือระยะระหว่างแนวหน้าตัดวิกฤตกับศูนย์กลางของเสาเข็ม ดังแสดง
30
ในรู ปที่ 7.10

P แนวหน้ าตัดวิกฤติสาหรั บแรงเฉื อน


@ แบบคาน (d) และแบบทะลุ (d/2)

x (–) x (+) d V : แรงเฉื อนในฐานรากที่ เกิด


จากแรงต้ านของเสาเข็ม P'
P' : แรงต้ านของเสาเข็ม
P' P'

รู ปที่ 7.10 แนวหน้าตัดวิกฤตสาหรับแรงเฉือนและแรงเฉือนในฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม


ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 140

7.4.3 การเสริ ม เหล็กฐานรากแผ่ วางบนเสาเข็ม เป็ นไปตามข้อก าหนดมาตรฐาน ว.ส.ท. 7304


ลักษณะเดียวกับการเสริ มเหล็กฐานรากแผ่วางบนดิน รายละเอียดในหัวข้อ 7.2.2 และข้อ 7.2.3 นอกจากนี้
มาตรฐาน ว.ส.ท. 7309 กาหนดความหนาต่าสุ ดของขอบฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็กส่ วนที่อยูเ่ หนื อเหล็ก
เสริ มถึ งขอบนอกของฐาน ต้องไม่น้อยกว่า 15 เซนติ เมตร สาหรับ ฐานรากที่ ใช้เสาเข็มสั้ นบนดิ นอ่อน
และต้องไม่นอ้ ยกว่า 30 เซนติเมตร สาหรับฐานรากที่ใช้เสาเข็มอื่น

7.5 ขั้นตอนในการคานวณออกแบบฐานรากแผ่ วางบนเสาเข็ม


1. รวมน้ าหนักทั้งหมดที่กระทากับฐานราก เลือกขนาดเสาเข็มที่เหมาะสมโดยพิจารณาจากกาลัง
รับน้ าหนักปลอดภัยของเสาเข็มต่อต้น แล้วคานวณหาจานวนเสาเข็มจากน้ าหนักทั้งหมดที่กระทากับฐาน
รากหารด้วยกาลังรับน้ าหนักปลอดภัยของเสาเข็ม จัดวางเสาเข็มให้สมมาตรกันจะได้รูปแบบและขนาด
ของฐานราก
2. คานวณหาค่าโมเมนต์ดดั และแรงเฉื อนสู งสุ ดที่แนวหน้าตัดวิกฤตที่ขอบเสาตอม่อในแต่ละ
ทิศทาง (กรณี ฐานรากเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า)
3. หาความหนาของฐานราก (t) โดยการคานวณหาความลึกประสิ ทธิผลที่ตอ้ งการ (d) จากสู ตร :
M
d
R.b
4. ตรวจสอบความหนาของฐานรากที่ ได้จากขั้นตอนที่ 3 โดยการพิ จารณาหน่ วยแรงเฉื อนที่
เกิ ดขึ้นในฐานรากต้องน้อยกว่าหน่ วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ ที่ตาแหน่ งแนวหน้าตัดวิกฤติสาหรับแรงเฉื อน
ทั้ง 2 กรณี คื อ แรงเฉื อ นทางเดี ย ว (แบบคาน: vc  0.29 fc ) และแรงเฉื อ นสองทาง (แบบทะลุ :
vc  0.53 fc )
5. ค านวณหาพื้ น ที่ ห น้ า ตัด เหล็ ก เสริ ม เพื่ อ ต้า นทานโมเมนต์ดัด ในแต่ ล ะทิ ศ ทางจากสู ต ร :
M
As  และคานวณเส้ นรอบรู ป ของเหล็กเสริ ม ที่ ต้องการส าหรับการฝั งยึด เพื่ อต้านทานแรงยึด
fs. jd
V
หน่วงจากสู ตร :  O  เลือกขนาดของเหล็กเสริ มและเขียนรายละเอียดการเสริ มเหล็ก
u. jd
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 141

ตัวอย่ างที่ 4 จงออกแบบฐานรากแผ่วางบนเสาเข็มรับน้ าหนักจากเสาตอม่อ 84,000 กก.ขนาดเสาเท่ากับ


0.40x0.40 ม. ใช้เสาเข็ม I-22 (ขนาด 0.22x0.22x21.00 เมตร) รับน้ าหนักปลอดภัย 25,000 กก./ต้น
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา
น้ าหนักจากเสาตอม่อ = 84,000 กก. 84,000 กก.
สมมติน้ าหนักฐานราก = 8,400 กก.
น้ าหนักรวม = 92,400 กก.
จานวนเสาเข็มที่ตอ้ งการ = 92,400 = 3.69 ต้น
25,000
ใช้เสาเข็ม I-22 จานวน 4 ต้น ระยะห่างระหว่าง
ศูนย์กลางเสาเข็มเท่ากับ 0.80 ม. และระยะห่างระหว่าง
ศูนย์กลางเสาเข็มถึงขอบฐานรากเท่ากับ 0.25 ม. ดังนั้น
ขนาดฐานรากที่ใช้เท่ากับ 1.30 x 1.30 เมตร 0.25 0.80 ม. 0.25
น้ าหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นรับ : 92,400 = 23,100 กก. 1.30 ม.
4
92,400 กก.
ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax
M max  PL  2(23,100)0.20
= 9,240.00 กก.–ม
23,100 กก. 23,100 กก.
ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , Mmax
2
j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.
23,100 กก.
0.20 ม.
หาความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการ : d
M max 9,240.00 100 = 25.43 ซม.
d 
Rb 10.99 130
ใช้ d = 30.00 ซม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 142

ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึน้ ในฐานราก : v 1.30 ม.


หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบคาน : vc d
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม.2
ศูนย์กลางเสาเข็มอยูห่ ่างจากแนวหน้าตัดวิกฤต
1
เข้ามาภายใน 10 ซม. ; V  ( x  15) P
30
1
V (10  15)(23,100) = 3,850 กก. 0.2
30
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v  V 0.4 ม.
bd
2  3,850
v = 1.97 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้
(130)(30)

หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบทะลุ : vc


vc  0.53 fc '  0.53 160 = 6.70 กก./ซม.2 P' = 23,100 กก.
ศูนย์กลางเสาเข็มอยูห่ ่างจากแนวหน้าตัดวิกฤต
1
ออกไปภายนอก 5 ซม. ; V  ( x  15) P
30
1
V (5  15)(23,100) = 15,400 กก.
30
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v  V
bd
4  15,400
v = 7.33 กก./ซม.2 > vc 0.35
(4  70)(30)
ใช้ ไม่ ได้ ต้ องเพิ่มความหนาฐานราก 0.40

ความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการโดยประมาณหาจากสู ตร :


V 4  15,400
d  = 32.83 ซม. ใช้ d = 35.00 ซม.
vcb 6.70(4  70)

สรุ ปขนาดของฐานราก 1.30 x 1.30 x 0.45 ม. ระยะ d = 35.00 ซม.


น้ าหนักฐานราก : 1.30 x 1.30 x 0.45 x 2,400 = 1,825.2 กก. < 8,400 กก. ใช้ได้
84,000  1,825.2
น้ าหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นรับ : P' = = 21,456.30 กก.
4
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 143

ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax


M max  PL  2(21,456.30)0.20
= 8,582.52 กก.–ม

คานวณหาปริ มาณเหล็กเสริ ม
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As
M max 8,582.52  100
As  
fs. jd 1,500(0.885)35
= 18.47 ซม.2 (DB 16 = 9.18 เส้น)
เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการ :  o
V 2  21,456.30 3.23 fc '
 o  
u. jd 25.53(0.885  35)
, u
db
= 25.53 กก./ซม.2
= 54.26 ซม. (DB 16 = 10.79 เส้น)
ดังนั้น วางเหล็กเสริ มกระจายแบบสม่าเสมอเท่าๆ กันทั้งสองด้าน จานวน 11 DB 16 : As = 22.11
ซม.2,  o = 55.29 ซม.

1.30 ม.
0.25 0.80 0.25

0.25 11 DB 16 มม.

1.30 0.80 0.45 ม. 0.35


ม.

0.25
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 144

ตัวอย่ างที่ 5 จงออกแบบฐานรากแผ่วางบนเสาเข็มรับน้ าหนักจากเสาตอม่อ 135,000 กก. ขนาดเสาเท่ากับ


0.55x0.55 ม. ใช้เสาเข็ม I-22 (ขนาด 0.22x0.22x21.00 เมตร) รับน้ าหนักปลอดภัย 25,000 กก./ต้น
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา
น้ าหนักจากเสาตอม่อ = 135,000 กก. 1.40 ม.
สมมติน้ าหนักฐานราก = 6,750 กก. 0.30 0.80 0.30
น้ าหนักรวม = 141,750 กก.
จานวนเสาเข็มที่ตอ้ งการ = 141,750 = 5.67 ต้น
25,000
ใช้เสาเข็ม I-22 จานวน 6 ต้น ระยะห่างระหว่าง
ศูนย์กลางเสาเข็มเท่ากับ 0.80 ม. และระยะห่างระหว่าง
ศูนย์กลางเสาเข็มถึงขอบฐานรากเท่ากับ 0.30 ม. ดังนั้น 2.20 ม.
เป็ นฐานรากสี่ เหลี่ยมผืนผ้าขนาดเท่ากับ 1.40 x 2.20 ม.
น้ าหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นรับ = 141,750 = 23,625 กก.
6

ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax


ด้านสั้น (1.40 ม.)
M max  PL  3(23,625)0.125
= 8,859.37 กก.–ม Mmax
23,625 กก.
ด้านยาว (2.20 ม.) 0.125 ม.
M max  PL  2(23,625)0.525
= 24,806.25 กก.–ม
Mmax
23,625 กก.
0.525 ม.

ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 145

หาความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการ : d


M max 24,806.25  100 = 40.15 ซม. ใช้ d = 55.00 ซม.
d 
Rb 10.99  140

ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึน้ ในฐานราก : v 1.40 ม.


หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบคาน : vc 0.30 0.80 0.30
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม.2
ศูนย์กลางเสาเข็มอยูห่ ่างจากแนวหน้าตัดวิกฤต 2.5 ซม.
1
เข้ามาภายใน 2.5 ซม. ; V  ( x  15) P d = 0.55 ม. 0.425 ม.
30
1
V (2.5  15)(23,625) = 9,843.75 กก.
30
2  9,843.75
v = 2.55 กก./ซม.2 < vc ใช้ได้
(140)(55)
0.40 ม.

หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบทะลุ : vc


vc  0.53 fc '  0.53 160 = 6.70 กก./ซม.2
ศูนย์กลางเสาเข็มอยูห่ ่างจากแนวหน้าตัดวิกฤต
0.25
ออกไปภายนอก 25 ซม. มีผลให้เกิดแรงเฉื อนเต็ม
ที่หน้าตัดนั้น จานวน 4 ต้น 0.55 ม. 0.80 ม.
V
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v 
bd
4  23,625
v = 3.90 กก./ซม.2 < vc 0.55 ม. 0.15ม.
(4 110)(55)
0.25

สรุ ปขนาดของฐานราก 1.40 x 2.20 x 0.65 ม. ระยะ d = 55.00 ซม.


น้ าหนักฐานราก : 1.40 x 2.20 x 0.65 x 2,400 = 4,804.8 กก. < 6,750 กก. ใช้ได้
น้ าหนักที่เสาเข็มแต่ละต้นรับ : P' = 135,000  4,804.8 = 23,300.80 กก.
6
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 146

ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax


ด้านยาว (2.20 ม.) : M max  PL  2(23,300.8)0.525 = 24,465.84 กก.–ม
ด้านสั้น (1.40 ม.) : M max  PL  3(23,300.8)0.125 = 8,737.80 กก.–ม

คานวณหาปริ มาณเหล็กเสริ ม
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มด้านยาว : AsL
M max 24,465.84  100
As L  
fs. jd 1,500(0.885)55
= 33.50 ซม.2 (DB 20 = 10.66 เส้น)
เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการทางด้านยาว :  o
V 2  23,300.8 3.23 fc '
 o  
u. jd 20.42(0.885  55)
, u
db
= 20.42 กก./ซม.2
= 46.88 ซม. (DB 20 = 7.46 เส้น)
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มทางด้านยาววางกระจายแบบสม่าเสมอทางด้านสั้นเท่ากับ 11 DB 20 : As
= 34.55 ซม.2,  o = 69.11 ซม.

พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มด้านสั้น : AsB


M 8,737.8  100
As B  
fs. jd 1,500(0.885)55
= 11.96 ซม.2 (DB 12 = 10.59 เส้น)
เส้นรอบรู ปที่ตอ้ งการทางด้านสั้น :  o
V 3  23,300.8 3.23 fc '
 o  
u. j.d 34.04(0.885  55)
, u
db
= 34.04 กก./ซม.2
= 42.18 ซม. (DB 12 = 11.18 เส้น, As = 12.64 ซม.2)
ดังนั้น พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ มทางด้านสั้น : AsB = 12.64 ซม.2 โดยแบ่งเป็ นเหล็กเสริ มด้านสั้น
แถบกลาง และแถบริ ม ดังนี้
2 2
เหล็กเสริ มแถบกลาง As  ( As B )  (12.64) = 9.83 ซม.2
S 1 2.20
1
1.4
เลือกใช้ 9 DB 12 (As = 10.17 ซม.2)
12.64  9.83
เหล็กเสริ มแถบริ มแถบละ As  = 1.40 ซม.2
2
เลือกใช้ 2 DB 12 (As = 2.26 ซม.2)
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 147

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

2.20 ม.
0.40 1.40 0.40

1.40 ม.

ด้านยาว : 11 DB 20 มม.
ด้านสั้น : 13 DB 12 มม. (แถบกลาง 9 DB 12 มม.)

11 DB 20 มม.
13 DB 12 มม.

0.65 ม. 0.55 ม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 148

ตัวอย่ างที่ 6 จงออกแบบฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม รั บ น้ าหนักจากเสาตามแนวแกน 96,000 กก. และ


โมเมนต์ดดั 4,800 กก.–ม. ใช้เสาเข็ม I-22 (ขนาด 0.22x0.22x21.00 เมตร) รั บ น้ าหนักปลอดภัย 25,000
กก./ต้น
กาหนดให้ fc´ = 160 กก./ซม.2, fy = 3,000 กก./ซม.2, ขนาดเสาตอม่อ : 0.50x0.50 ม.
ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ

วิธีทา 1.60 ม.
น้ าหนักจากเสา = 96,000 กก. 0.30 1.00 0.30
สมมติน้ าหนักฐานราก = 6,720 กก. 0.30
น้ าหนักรวม = 102,720 กก.
จานวนเสาเข็มที่ตอ้ งการ = 102,720 = 4.10 ต้น 1.00
25,000
ใช้เสาเข็ม I-22 จานวน 5 ต้น จัดวางระยะห่างเสาเข็ม
ดังรู ป ขนาดฐานรากเท่ากับ 1.60 x 1.60 เมตร 0.30
น้ าหนักสู งสุ ดที่เสาเข็มรับ :
102,720 4,800(0.50)
P   = 22,944 กก. < 25,000 กก. ใช้ได้
5 4  (0.50) 2

น้ าหนักสุ ทธิ ที่เสาเข็มแต่ละแถวรับ : 102,720 กก.


102,720 4,800(0.50)
P1   = 18,144 กก. 4,800 กก.–ม.
5 4  (0.50) 2
102,720
P2  = 20,544 กก.
5
102,720 4,800(0.50)
P3   = 22,944 กก.
5 4  (0.50) 2
P'1 P'2 P'3
ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax
M max  PL  2(22,944)0.25
= 11,472 กก.–ม Mmax
P'3 = 22,944กก.
0.25 ม.
ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ
n  11 , k  0.345 , j  0.885 , R  10.99 กก./ซม.2
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 149

หาความลึกประสิ ทธิผลของฐานรากที่ตอ้ งการ : d


M max 11,472  100 = 25.54 ซม. ใช้ d = 35.00 ซม.
d 
Rb 10.99  160
1.60 ม.
ตรวจสอบหน่ วยแรงเฉื อนที่เกิดขึน้ ในฐานราก : v 0.30 1.00 0.30
หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบคาน : vc d
vc  0.29 fc '  0.29 160 = 3.66 กก./ซม.2
ศูนย์กลางเสาเข็มอยูห่างจากแนวหน้าตัดวิกฤต
1
เข้ามาภายใน 10 ซม. ; V  ( x  15) P
30
1
V (10  15)(22,944) = 3,824 กก. 0.25
30
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v  V 0.5 ม.
bd
2 3,824
v = 1.36 กก./ซม.2 < vc
(160)(35)

หน่วยแรงเฉื อนที่ยอมให้ของคอนกรี ตแบบทะลุ : vc


vc  0.53 fc '  0.53 160 = 6.70 กก./ซม.2
ศูนย์กลางเสาเข็มอยูห่ ่างจากแนวหน้าตัดวิกฤต P'3= 23,100 กก.
1
ออกไปภายนอก 7.5 ซม. ; V  ( x  15) P
30
1
V (7.5  15)(20,544) = 15,408 กก.
30
หน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้น : v  V
bd
4  15,408
v = 5.17 กก./ซม.2 < vc
(4  85)(35)
0.425
0.50 ม.

สรุ ปขนาดของฐานราก 1.60 x 1.60 x 0.45 ม. ระยะ d = 35.00 ซม.


น้ าหนักฐานราก : 1.60 x 1.60 x 0.45 x 2,400 = 2,764.8 กก. < 6720 กก. ใช้ได้
ตรวจสอบน้ าหนักสู งสุ ดที่เสาเข็มรับ :
96,000  2,764.8 4,800(0.50)
P3   = 22,152.96 กก. ใช้ได้
5 4  (0.50) 2
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 150

ค่าโมเมนต์สูงสุ ดที่ขอบเสาตอม่อ : Mmax


M max  PL  2(22,152.96)0.25
= 11,076.48 กก.–ม

คานวณหาปริ มาณเหล็กเสริ ม
พื้นที่หน้าตัดเหล็กเสริ ม : As
M max 11,076.48  100
As  
fs. jd 1,500(0.885)35
= 23.83 ซม.2 (DB 16 = 11.86 เส้น)
เส้นรอบรู ปของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งการทางด้านยาว :  o
V 2  22,152.96 3.23 fc '
 o  
u. jd 25.53(0.885  35)
, u
db
= 25.53 กก./ซม.2
= 56.02 ซม. (DB 16 = 11.14 เส้น)
ดังนั้น วางเหล็กเสริ มกระจายแบบสม่าเสมอเท่ากันๆ ทั้งสองด้านจานวน 12 DB 16 : As = 24.12
ซม.2,  o = 60.31ซม.

รายละเอียดการเสริ มเหล็ก

12 DB 16 มม.

0.45 ม. 0.35 ม.
ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 151

แบบฝึ กหัด

1. จงออกแบบฐานรากแผ่วางบนดิน รับน้ าหนักตามแนวแกนจากเสาตอม่อ 15,000 กก. ขนาดเสาตอม่อ


0.20x0.20 ม. ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
กาหนดให้ fc' = 210 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
หน่วยแรงดันดินที่ยอมให้ เท่ากับ 8,000 กก./ม.2
2. จงออกแบบฐานรากแผ่สี่เหลี่ ยมผืนผ้าวางบนดิ นรับน้ าหนักตามแนวแกนจากเสาตอม่อ 30,000 กก.
(รวมน้ าหนักฐานราก) ขนาดเสาตอม่อ 0.25x0.25 ม. ดังรู ป ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
กาหนดให้ fc' = 180 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
หน่วยแรงดันดินที่ยอมให้เท่ากับ 12,800 กก./ม.2

2.00 ม. 30,000 กก.

1.50 ม.

3. จงออกแบบฐานรากแผ่วางบนดิน รับน้ าหนักตามแนวแกนจากเสาตอม่อ 28,000 กก. และโมเมนต์ดดั


เท่ากับ 3,200 กก.-ม. ขนาดเสาตอม่อ 0.30x0.30 ม.ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
กาหนดให้ fc' = 210 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2
หน่วยแรงดันดินที่ยอมให้เท่ากับ 10,000 กก./ม.2
4. จงออกแบบฐานรากแผ่วางบนเสาเข็ม รับน้ าหนักตามแนวแกนจากเสาตอม่อ 13,500 กก. ขนาดเสา
ตอม่อ 0.20x0.20 ม. ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
กาหนดให้ fc' = 150 กก./ซม.2 fy = 2,400 กก./ซม.2 ใช้เสาเข็มหกเหลี่ยมกลวง
ขนาด ∅ 6 นิ้ว ยาว 6 เมตร รับน้ าหนักปลอดภัย 1,710 กก./ต้น
5. จงออกแบบฐานรากวางบนเสาเข็ม รับน้ าหนักตามแนวแกนจากเสาตอม่อ 125,000 กก. และโมเมนต์
ดัดเท่ากับ 5,500 กก.-ม. ขนาดเสาตอม่อ 0.40x0.40 ม.ใช้มาตรฐาน ว.ส.ท. ในการออกแบบ
กาหนดให้ fc' = 250 กก./ซม.2 fy = 3,000 กก./ซม.2 ใช้เสาเข็มคอนกรี ตอัดแรง
I-0.30x0.30x21.00 ม . รับน้ าหนักปลอดภัย 35,000 กก./ต้น
152

บรรณานุกรม

กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2527 ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.


2522
ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื่ อง ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 หมวด 5 กาลังวัตถุ และ
น้ าหนักบรรทุก
คู่มือการทดสอบหิ น ทราย และคอนกรี ต บริ ษทั ผลิตภัณฑ์ และวัตถุก่อสร้าง จากัด พิมพ์ครั้งที่ 5
พ.ศ. 2552
ชัชวาลย์ เศรษฐบุตร คอนกรี ตเทคโนโลยี คอนกรี ตผสมเสร็ จซี แพค พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2536
ชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล , 2540. คอนกรี ตทรงกระบอกหรื อรู ปทรงลูกบาศก์ โยธาสาร ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1
หน้า 20–21 .
ชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล , 2551. การเลื อก การทดสอบ และความสัมพันธ์ ของกาลังอัดของคอนกรี ต
รู ปทรงลูกบาศก์และรู ปทรงกระบอก วารสารคอนกรี ต ฉบับที่ 3 หน้า 27–30.
ธนพล เหล่าสมาธิ กุล และชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2551. สมบัติเชิ งกลของคอนกรี ตที่ใช้ส่วนผสม
ของกากแคลเซี ยมคาร์ ไบด์และเถ้าถ่านหิ นเป็ นวัสดุประสาน การประชุมวิชาการคอนกรี ต ครั้งที่ 4 จังหวัด
อุบลราชธานี MAT–95.
มงคล จิรวัชรเดช การออกแบบคอนกรี ตเสริ มเหล็ก พิมพ์ครั้งที่สี่ พ.ศ. 2549
มาตรฐานผลิ ต ภัณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เหล็ ก เส้ น เสริ ม คอนกรี ต เหล็ ก เส้ น กลม มอก. 20–2543
กระทรวงอุตสาหกรรม
มาตรฐานผลิ ต ภัณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม เหล็ ก เส้ น เสริ ม คอนกรี ต เหล็ ก ข้อ อ้อ ย มอก. 24–2548
กระทรวงอุตสาหกรรม
วินิต ช่อวิเชี ยร การออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โดยวิธีหน่ วยแรงใช้งาน พิมพ์ครั้งที่
2 พ.ศ. 2545
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย มาตรฐานสาหรับอาคารคอนกรี ตเสริ มเหล็ก โดยวิธีหน่วยแรง
ใช้งาน พ.ศ. 2534
วิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ข้อกาหนดมาตรฐานวัสดุ และการก่อสร้ างสาหรับโครงสร้าง
คอนกรี ต พ.ศ. 2546
สถาพร โภคา การออกแบบคอนกรี ตเสริ มเหล็ก วิธีหน่ วยแรงใช้งาน บริ ษทั ไลบรารี นาย จากัด
พ.ศ. 2544
153

สาโรจน์ ดารงศีล และสุ วิมล สัจจวาณิ ชย์, 2550. ผลกระทบของปูนซี เมนต์ผสมเถ้าชานอ้อยและ


เถ้าลอยในลักษณะบดร่ วมต่อคุณสมบัติทางกายภาพและเชิ งกลของคอนกรี ต วารสารวิจยั และพัฒนา มจธ.
ปี ที่ 30 ฉบับที่ 3 หน้า 489–499.
สาโรจน์ ดารงศีล, 2558. ผลกระทบของการใช้เถ้าแกลบผสมเถ้าลอยต่อคุณสมบัติทางกายภาพ
และเชิงกลของคอนกรี ต วารสารวิชาการและวิจยั มทร. พระนคร ปี ที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 125–133.
สาโรจน์ ด ารงศี ล , 2559. การใช้ แ ผ่ น ยางแทนการใช้ ก ามะถัน ในการทดสอบก าลัง อัด ของ
คอนกรี ต วารสารวิชาการและวิจยั มทร. พระนคร ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 106–113.
อรรคเดช ฤกษ์พิบูลย์ และชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล , 2551. ผลกระทบของเถ้าชานอ้อยบดละเอี ยดต่อ
ก าลัง อัด ประลัย และโมดู ล ัส ยื ด หยุ่ น ของคอนกรี ต การประชุ ม วิ ช าการคอนกรี ต ครั้ งที่ 4 จัง หวัด
อุบลราชธานี MAT–96.
American Concrete Institute Building Code Requirement for Structural Concrete (ACI 318)
2005.
American Society for Testing and Materials, ASTM. Annual Book of ASTM Standard, 2001,
Volume 4.01 and 4.02
Edward G. Nawy, Reinforced Concrete : A Fundamental Approach, 6th ed., Pearson
International Edition, 2009.
154

ภาคผนวก
155

ตารางที่ ผ.1 รายละเอียดเหล็กเสริ ม : พื้นที่หน้าตัด และเส้นรอบรู ป


ขนาด  A : ซม2 จานวนเส้นของเหล็กเสริ ม
(มม.)  : ซม.
O 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
RB 6 A 0.28 0.57 0.85 1.13 1.42 1.70 1.98 2.26 2.55 2.83
-  O 1.89 3.77 5.66 7.54 9.43 11.32 13.20 15.09 16.97 18.86
RB 9 A 0.64 1.27 1.91 2.54 3.18 3.82 4.45 5.09 5.72 6.36
-  O 2.83 5.66 8.49 11.32 14.14 16.97 19.80 22.63 25.46 28.29
RB 12 A 1.13 2.26 3.39 4.52 5.65 6.78 7.91 9.04 10.17 11.30
DB 12  O 3.77 7.54 11.31 15.08 18.86 22.63 26.40 30.17 33.94 37.71
RB 15 A 1.77 3.54 5.31 7.08 8.85 10.62 12.39 14.16 15.93 17.70
-  O 4.71 9.43 14.14 18.86 23.57 28.28 33.00 37.71 42.43 47.14
- A 2.01 4.02 6.03 8.04 10.05 12.06 14.07 16.08 18.09 20.10
DB 16  O 5.03 10.06 15.09 20.12 25.14 30.17 35.20 40.23 45.26 50.29
RB19 A 2.84 5.68 8.52 11.36 14.20 17.04 19.88 22.72 25.56 28.40
-  O 5.97 11.94 17.91 23.88 29.86 35.83 41.80 47.77 53.74 59.71
- A 3.14 6.28 9.42 12.56 15.70 18.84 21.98 25.12 28.26 31.40
DB 20  O 6.29 12.58 18.87 25.16 31.45 37.74 44.03 50.32 56.61 62.90
RB 22 A 3.80 7.60 11.40 15.20 19.00 22.80 26.60 30.40 34.20 38.00
-  O 6.91 13.83 20.74 27.66 34.57 41.48 48.40 55.31 62.23 69.14
RB 25 A 4.91 9.82 14.73 19.54 24.55 29.46 34.37 39.28 44.19 49.10
DB 25  O 7.86 15.71 23.57 31.43 39.28 47.14 55.00 62.86 70.71 78.57
- A 6.16 12.32 18.48 24.54 30.80 36.96 43.12 49.28 55.44 61.60
DB 28  O 8.80 17.60 26.40 35.20 44.00 52.80 61.60 70.40 79.20 88.00
หมายเหตุ : RB : Round bar; เหล็กกลมผิวเรี ยบ DB : Deformed bar; เหล็กข้ออ้อย
 A : พื้นที่หน้าตัดรวม  : เส้นรอบวงรวม
O
156

ตารางที่ ผ.2 ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ n, k, j และ R


fc' n fc fs k j R
(กก./ซม.2) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2)
100 14 45 1,200 0.344 0.885 6.857
1,500 0.295 0.901 5.999
1,700 0.270 0.910 5.535
150 11 67.5 1,200 0.382 0.873 11.257
1,500 0.331 0.890 9.941
1,700 0.304 0.899 9.220
200 10 90 1,200 0.429 0.857 16.531
1,500 0.375 0.875 14.766
1,700 0.346 0.885 13.780
250 9 112.5 1,200 0.458 0.847 21.815
1,500 0.403 0.866 19.623
1,700 0.373 0.876 18.384
300 8 135 1,200 0.474 0.842 26.925
1,500 0.419 0.860 24.313
1,700 0.388 0.871 22.827
Es 1 k
หมายเหตุ : n , k , j  1 , R
1
fc.k . j
Ec fs 3 2
1
n. fc
157

ตารางที่ ผ.3 ค่าความต้านทานโมเมนต์และแรงเฉื อนของคานรู ปตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า (คานกว้าง 15 ซม.)


ขนาดรู ปตัด ความลึก น้ าหนักคาน fc' Vc Mc = Rbd2 (กก./ซม.2)
bxd ประสิ ทธิผล (กก./ม.) (กก./ซม.2) (กก.) fs = 1,200 fs = 1,500 fs = 1,700
(ซม.xซม.) d (ซม.) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2)
15x30 25 108 150 1,332 1,055 932 864
200 1,538 1,550 1,384 1,292
250 1,719 2,045 1,840 1,724
300 1,884 2,524 2,279 2,140
15x35 30 126 150 1,598 1,520 1,342 1,245
200 1,846 2,232 1,993 1,860
250 2,063 2,945 2,649 2,482
300 2,260 3,635 3,282 3,082
15x40 35 144 150 1,865 2,068 1,827 1,694
200 2,153 3,038 2,713 2,532
250 2,407 4,008 3,606 3,378
300 2,637 4,948 4,468 4,195
15x45 40 162 150 2,131 2,702 2386 2,213
200 2,461 3,967 3544 3,307
250 2,751 5,236 4710 4,412
300 3,014 6,462 5835 5,479
15x50 45 180 150 2,344 3,269 2,887 2,678
200 2,707 4,800 4,288 4,002
250 3,026 6,335 5,699 5,339
300 3,315 7,819 7,061 6,629
15x55 50 198 150 2,611 4,054 3,580 3,321
200 3,014 5,954 5,318 4,963
250 3,370 7,857 7,067 6,621
300 3,692 9,697 8,756 8,221
หมายเหตุ : fc = 0.45 fc', Vc  0.29 fc (b  d ) , Mc  Rbd 2
158

ตารางที่ ผ.4 ค่าความต้านทานโมเมนต์และแรงเฉื อนของคานรู ปตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า (คานกว้าง 20 ซม.)


ขนาดรู ปตัด ความลึก น้ าหนักคาน fc' Vc Mc = Rbd2 (กก./ซม.2)
bxd ประสิ ทธิผล (กก./ม.) (กก./ซม.2) (กก.) fs = 1,200 fs = 1,500 fs = 1,700
(ซม.xซม.) d (ซม.) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2)
20x35 30 168 150 2,131 2,026 1,789 1,660
200 2,461 2,976 2,658 2,480
250 2,751 3,927 3,532 3,309
300 3,014 4,847 4,376 4,109
20x40 35 192 150 2,486 2,758 2,436 2,259
200 2,871 4,050 3,618 3,376
250 3,210 5,345 4,808 4,504
300 3,516 6,597 5,957 5,593
20x45 40 216 150 2,841 3,602 3,181 2,950
200 3,281 5,290 4,725 4,409
250 3,668 6,981 6,279 5,883
300 4,018 8,616 7,780 7,305
20x50 44 240 150 3,126 4,359 3,849 3,570
200 3,609 6,401 5,717 5,335
250 4,035 8,447 7,598 7,118
300 4,420 10,425 9,414 8,839
20x55 49 264 150 3,481 5,406 4,774 4,427
200 4,019 7,938 7,090 6,617
250 4,494 10,475 9,423 8,828
300 4,922 12,929 11,675 10,962
20x60 54 288 150 3,836 6,565 5,798 5,377
200 4,429 9,641 8,611 8,036
250 4,952 12,722 11,444 10,722
300 5,425 15,703 14,179 13,313
หมายเหตุ : fc = 0.45 fc', Vc  0.29 fc (b  d ) , Mc  Rbd 2
159

ตารางที่ ผ.5 ค่าความต้านทานโมเมนต์และแรงเฉื อนของคานรู ปตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า (คานกว้าง 25 ซม.)


ขนาดรู ปตัด ความลึก น้ าหนักคาน fc' Vc Mc = Rbd2
(ซม.xซม.) ประสิ ทธิผล (กก./ม.) (กก./ซม.2) (กก.) fs = 1,200 fs = 1,500 fs = 1,700
d (ซม.) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2)
25x45 40 270 150 3,552 4,503 3,977 3,688
200 4,101 6,612 5,906 5,512
250 4,585 8,726 7,849 7,354
300 5,023 10,770 9,725 9,131
25x50 44 300 150 3,907 5,448 4,812 4,463
200 4,511 8,001 7,147 6,669
250 5,044 10,558 9,498 8,898
300 5,525 13,032 11,768 11,048
25x55 49 330 150 4,351 6,757 5,967 5,534
200 5,024 9,923 8,863 8,271
250 5,617 13,094 11,779 11,035
300 6,153 16,162 14,594 13,702
25x60 54 360 150 4,795 8,206 7,247 6,721
200 5,537 12,051 10,764 10,045
250 6,190 15,903 14,305 13,402
300 6,781 19,628 17,724 16,641
25x65 59 390 150 5,239 9,796 8,652 8,024
200 6,049 14,386 12,850 11,992
250 6,763 18,984 17,077 15,999
300 7,409 23,432 21,159 19,865
25x70 63 420 150 5,594 11,170 9,864 9,149
200 6,459 16,403 14,651 13,673
250 7,222 21,646 19,471 18,242
300 7,911 26,717 24,125 22,650
หมายเหตุ : fc = 0.45 fc', Vc  0.29 fc (b  d ) , Mc  Rbd 2
160

ตารางที่ ผ.6 ค่าความต้านทานโมเมนต์ของพื้นคอนกรี ตรู ปตัดสี่ เหลี่ยมผืนผ้า (ความกว้าง 1.0 ม.)


ความหนาพื้น ความลึก น้ าหนักพื้น fc' Mc = Rbd2
(ซม.) ประสิ ทธิผล (กก./ม.2) (กก./ซม.2) fs = 1,200 fs = 1,500 fs = 1,700
d (ซม.) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2) (กก./ซม.2)
8 6 192 150 405 358 332
200 595 531 496
250 785 706 662
300 969 875 822
10 8 240 150 720 636 590
200 1,058 945 882
250 1,396 1,256 1,177
300 1,723 1,556 1,461
12 10 288 150 1,126 994 922
200 1,653 1,477 1,378
250 2,181 1,962 1,838
300 2,692 2,431 2,283
15 12 360 150 1,621 1,432 1,328
200 2,380 2,126 1,984
250 3,141 2,826 2,647
300 3,877 3,501 3,287
20 17 480 150 3,253 2,873 2,665
200 4,777 4,267 3,982
250 6,304 5,671 5,313
300 7,811 7,026 6,597
25 22 600 150 5,448 4,812 4,463
200 8,001 7,147 6,669
250 10,558 9,498 8,898
300 13,032 11,768 11,048
หมายเหตุ : fc = 0.45 fc', Mc  Rbd 2 , b = 1.0 เมตร
161

ตัวอย่างรายการคานวณโครงสร้ างบ้ านพักอาศัย

งานที่มอบหมายประจาภาคการศึกษา ให้คานวณออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กบ้านพัก


อาศัย โดยมีข้ นั ตอน ดังนี้
1. หาแบบรู ปรายการบ้านพักอาศัยเป็ นแบบทางสถาปั ตยกรรม ประกอบด้วย แปลนพื้น รู ปด้าน
ทั้งสี่ ดา้ น และอื่นๆ ตัวอย่างเช่น แบบแปลนพื้นชั้นที่ 1 ดังรู ปข้างล่าง

แปลนพืน้ ชั้นที่ 1
162

2. เขียนผังโครงสร้ างคานเพื่อรองรั บพื้ นและผนังตามแนว Grid line โดยพิจารณาจากแบบรู ป


สถาปัตยกรรม พร้อมทั้งกาหนดชนิดของพื้นและระบุหมายเลขคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ดังรู ป ในตัวอย่าง
นี้ กาหนดให้เป็ นพื้นสาเร็ จรู ป PS พื้นเสริ มเหล็กทางเดียว S และคานจานวน 14 ตัว

13

13

6 14 7 9

12 12

4 5 14

11

10 14

10 1 14

ผังโครงสร้ างพืน้ และคานคอนกรีตเสริมเหล็ก


163

3. เขียนแบบจาลองทางโครงสร้างแล้วทาการถ่ายน้ าหนักจากพื้นและผนังลงคานรองรับ รวมทั้ง


น้ าหนัก ของคานเอง และท าการวิเคราะห์โครงสร้าง เพื่ อหาแรงภายใน ได้แก่ แรงปฏิ กิริยา แรงเฉื อน
โมเมนต์ดดั และแรงบิด (ถ้ามี)

คานหมายเลข 1
558 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 335 กก.
แรงเฉื อน : 335 กก.
1.20 ม. โมเมนต์ดดั : 100.4 กก.–ม.

คานหมายเลข 2
335 กก.
303 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 774 กก.
แรงเฉื อน : 774 กก.
2.0 2.0 โมเมนต์ดดั : 941 กก.–ม.
4.00 ม.
คานหมายเลข 3
335 กก.
1,520 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 3,208 กก.
แรงเฉื อน : 3,208 กก.
2.0 2.0 โมเมนต์ดดั : 3,375 กก.–ม.
4.00 ม.
คานหมายเลข 4
1,227 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 1,533 กก.
แรงเฉื อน : 1,533 กก.
2.50 ม. โมเมนต์ดดั : 958 กก.–ม.

คานหมายเลข 5
1,437 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 1,796 กก.
แรงเฉื อน : 1,796 กก.
2.50 ม. โมเมนต์ดดั : 1,122 กก.–ม.

คานหมายเลข 6
642 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 963 กก.
แรงเฉื อน : 963 กก.
3.00 ม. โมเมนต์ดดั : 722 กก.–ม.
164

คานหมายเลข 7
837 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 1,255 กก.
แรงเฉื อน : 1,255 กก.
3.00 ม. โมเมนต์ดดั : 942 กก.–ม.

คานหมายเลข 8
837 กก./ม. แรงปฏิกิริยา : 1,465 กก.
แรงเฉื อน : 1,465 กก.
3.50 ม. โมเมนต์ดดั : 1,282 กก.–ม.

คานหมายเลข 9 คานหมายเลข 10
1,465 กก. 774 กก.
837 กก./ม. 642 642 กก./ม.

3.00 ม. 1.0 ม. 3.50 ม. 1.20 ม.

660.17 กก. 3,957.83 กก. 726.06 กก. 3,065.34 กก.

2,107 กก. 1,544 กก.


1,465 กก. 774 กก.
SFD SFD
1,850.83 กก.
263 กก.–ม. 410 กก.–ม.
BMD BMD
1,786 กก.–ม. 1,391 กก.–ม.

คานหมายเลข 11
1,533 กก. 1,796 กก. 3,111 กก.
642 875 กก./ม. 1,361 กก.
SFD
1.0 2.0 2.0 2,175 กก. 2,184 กก.
4.00 ม. 2,619 กก.–ม.
5,286 กก. 2,184 กก. BMD
1,854 กก.–ม.
165

คานหมายเลข 12
1,533 963 1,796 กก. 1,255 กก.
777 กก./ม. 1,227 กก./ม. 642
แรงเฉื อนสูงสุด :
Vmax = 3,273 กก.
0.5 0.5 2.5 1.5 2.5 1.0
1.00 5,571 กก. 4.00 5,470 กก. 3.50 2,100 กก.
1,115 กก. –ม.. 1,381 กก.–ม.

BMD 416
2,403 กก.–ม. 1,963 กก.–ม.

คานหมายเลข 13
963 กก. 1,255 กก.
1,227 กก./ม. 972 กก./ม. 387
แรงเฉื อนสูงสุด :
Vmax = 2,700 กก.
0.50 4.00 ม. 2.50 ม. 1.00
3,785 กก. 5,110 กก. 1,661 กก.
1,080 กก.–ม. 1,145 กก.–ม.

BMD 907 323


1,890 กก.–ม.

คานหมายเลข 14
774 กก. 1,465กก.
192 642 กก./ม. 1,032 กก./ม. 192 กก./ม. 642

1.20 3.50 ม. 2.50 ม. 3.00 ม. 1.00


2,235 กก. 2,529 กก. 867 กก. 2,882 กก.
แรงเฉื อนสูงสุด : Vmax = 2,106 กก.

218 กก.–ม. 489 กก.–ม.


BMD
1,067 กก.–ม. 621 กก.–ม. 1,786 กก.–ม.
166

4. รวมน้ าหนักถ่ายลงเสา (ชั้นที่ 1) โดยพิจารณาจากแรงปฏิกิริยาที่ได้จากการวิเคราะห์โครงสร้าง


ในขั้นตอนที่ 3 และเขียนตามแนว Grid line ดังนี้

1 2 3

4.00 ม. 3.50 ม.

3,785 กก. 5,110 กก. 1,661 กก.


A -- 2,882 กก. 3,957 กก.
รวม 3,785 กก. 7,992 กก. 5,618 กก.
3.00 ม.

5,571 กก. 5,470 กก. 2,100 กก.


B -- 867 กก. 660 กก.
รวม 5,571 กก. 6,337 กก. 2,760 กก.
2.50 ม.
5,286 กก. 2,184 กก.
C
726 กก. 2,529 กก.
รวม 6,012 กก. 4,713 กก.

3.50 ม.

3,208 กก. 3,208 กก.


D
3,065 กก. 2,235 กก.
รวม 6,273 กก. 5,443 กก.

ข้ อสังเกต
ส่ วนของโครงสร้ างรองรั บ น้ าหนัก ชั้น ที่ 1 คื อ เสาตอม่ อ แต่ เสาเป็ นองค์อาคารที่ รับ น้ าหนัก
บรรทุกสะสมจากชั้นอื่นๆ ด้วย ดังนั้น การคานวณออกแบบเสาตอม่อและฐานรากต้องรวมน้ าหนักชั้น 2
และชั้นหลังคาด้วย (กรณี เป็ นบ้าน 2 ชั้น)
167

5. รายการคานวณโครงสร้าง

รายการคานวณโครงสร้ าง

ข้ อกาหนดที่ใช้ ในการออกแบบ
1. คอนกรี ต : fc' = 150 กก./ซม.2
fc = 0.45fc' = 67.5 กก./ซม.2

2. เหล็กเสริ ม
เหล็กข้ออ้อย : fy = 3,000 กก./ซม.2 fs = 1,500 กก./ซม.2
เหล็กกลม : fy = 2,400 กก./ซม.2 fs = 1,200 กก./ซม.2

3. ค่าคงที่สาหรับการออกแบบ :
ค่าคงที่ n k j R
เหล็กข้ออ้อย 11 0.331 0.889 9.93
เหล็กกลม 11 0.382 0.872 11.24

4. น้ าหนักบรรทุกจร (wLL) :
ส่ วนพักอาศัย ห้องน้ า = 150 กก./ม.2
หลังคา = 50 กก./ม.2

5. แผ่นพื้นสาเร็ จรู ป PS เป็ นพื้นคอนกรี ตอัดแรงแบบท้องเรี ยบ สามารถรับน้ าหนักบรรทุ ก


จรได้ไม่นอ้ ยกว่า 150 กก./ม.2 เทคอนกรี ตทับหน้าหนาไม่นอ้ ยกว่า 5.0 เซนติเมตร เสริ มเหล็ก  6 มม. @
0.20 ม. หรื อใช้ตะแกรงลวดเหล็กสาเร็ จรู ป (Wire mesh)
168

ออกแบบพื้น S : พื้นเสริ มเหล็กทางเดียว

450 กก./ม. m  S / L :1.5 / 4.0 = 0.3 < 0.5 : One way slab
ความหนาพื้นต่าสุ ดของพื้นช่วงเดียว
1.20 ม. t  L / 20  1.2 / 20 = 0.06 ม. เลือกใช้ 0.10 ม.
น้ าหนักที่กระทากับพื้น
270 กก. wDL = 0.10x2,400 = 240 กก./ม.2
270 กก. wLL = 150 กก./ม.2
w วัสดุปูพ้ืน = 60 กก./ม.2
81 กก.-ม. น้ าหนักรวม : w = 450 กก./ม.2
โมเมนต์ที่ตา้ นทานโดยคอนกรี ต : Mc
Mc  Rbd 2  11.24(1.0)7.52
= 632.25 กก.–ม. > Mmax
M max 81100
As   = 1.03 ซม.2
fs  j  d 1,200(0.872)7.5
เลือกใช้  9 มม. @ 0.25 ม. (As = 2.54 ซม.2)
2
As t  0.0025bt  0.0025 100 10 = 2.50 ซม.
เลือกใช้  9 มม. @ 0.25 ม. (As = 2.54 ซม.2)

ตรวจสอบหน่วยแรงเฉื อนที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้น : v
V 270
v  = 0.36 กก./ซม.2 < 0.29 fc '
bd (100)(7.5)

0.10 ม.

 9 มม. @ 0.25 ม.
169

ออกแบบคาน B1 (ใช้สาหรับคานหมายเลข 1, 2, 4, 5, 6, 7 และ 8)

837 กก./ม. เลือกขนาดคาน : 0.15x0.35 ม.


Mc  Rbd 2  9.93(0.15)302
3.50 ม. = 1,340 กก.–ม. > Mmax
M max 1,340 100
1,465 กก. As   = 3.20 ซม.2
fs  j  d 1,500(0.889)30
เลือกใช้ 2 DB 16 (As = 4.02 ซม.2)

1,282 กก.-ม. Vc  0.29 fc 'bd = 1,598 กก. > VMax 2 DB 12


เสริ มเหล็กปลอกปริ มาณต่าสุ ด : s  Av
0.0015b
เลือกใช้  6 มม. @ 0.15 ม. 2 DB 16

ออกแบบคาน B2 (ใช้สาหรับคานหมายเลข 3)
335 กก.
1,520 เลือกขนาดคาน : 0.20x0.40 ม.
Mc  Rbd 2  9.93(0.20)352
4.00 ม. = 2,432.85 กก.–ม. < Mmax
2,432.85 100
3,207.5 กก. As1  = 5.21 ซม.2
1,500(0.889)35
942.15 100
As 2  = 2.09 ซม.2
1,500(35  5)
3,207.5 กก. As = 7.30 ซม.2 เลือกใช้ 4 DB 16 (As = 8.04 ซม.2)
1 (1  k )
3,375 กก.-ม. As '  As 2
d'
= 3.71 ซม.2
2
(k  )
d
เลือก : 2 DB 16 (As = 4.02 ซม.2)

Vc  0.29 fc 'bd = 2,486 กก. < VMax 2 DB 16


V' = 722 กก.
Avfvd = 74 ซม. ป  9 มม. @ 0.15 ม.
s
V
เลือกใช้  9 มม. @ 0.15 ม.
4 DB16
170

ออกแบบคาน B3 (ใช้สาหรับคานหมายเลข 9 และ 10)

1,465 กก. เลือกขนาดคาน : 0.20x0.35 ม.


837 กก./ม. 642 Mc  Rbd 2  9.93(0.20)302
= 1,787 กก.–ม. > Mmax
M max 1,786 100
3.00 ม. 1.0 As  
fs  j  d 1,500(0.889)30
2,107 กก. = 4.46 ซม.2
660 1,465 เลือกใช้ 2 DB 16 + DB 12
SFD (As = 5.15 ซม.2)
1,850 กก.
263 Vc  0.29 fc 'bd = 1,598 กก. > VMax
BMD เสริ มเหล็กปลอกปริ มาณต่าสุ ด :
Av
1,786 กก.-ม. s
0.0015b
เลือกใช้  6 มม. @ 0.15 ม.
(1) (2)

2 DB 16 2 DB 16 + DB 12
(เสริ มพิเศษถึงกลางคาน)
 6 มม. @ 0.15 ม.  6 มม. @ 0.15 ม.

2 DB 12 2 DB 12
(1) – (1) (2) – (2)
171

ออกแบบคาน B4 (ใช้สาหรับคานหมายเลข 11)

1,533 กก. 1,795 กก. เลือกขนาดคาน : 0.20x0.40 ม.


642 875 กก./ม. Mc  Rbd 2  9.93(0.20)352
= 2,432.85 กก.–ม. < Mmax
1.0 2.00 2.00 ช่วงโมเมนต์บวก (+M)
2,432.85 100
As1  = 5.21 ซม.2
1,500(0.889)35
186.15 100
3,111 กก. As 2  = 0.41 ซม.2
1,500(35  5)
1,361.5 As = 5.62 ซม.2 เลือกใช้ 3 DB 16
1 (1  k )
2,619 กก.-ม. As '  As 2
d'
= 0.72 ซม.2
2
(k  )
d
1,854 กก.-ม. ช่วงโมเมนต์ลบ (–M)
M max 1,854 100
As  
fs  j  d 1,500(0.889)35
= 3.97 ซม.2 เลือกใช้ 2 DB 16

Vc  0.29 fc 'bd = 2,486 กก. < VMax 2 DB 16


V' = 625 กก.
Avfvd = 85.5 ซม. ป  9 มม. @ 0.15 ม.
s
V
เลือกใช้  9 มม. @ 0.15 ม.
3 DB16
172

ออกแบบคาน B5 (ใช้สาหรับคานหมายเลข 12 และ 13)

1,533 กก. 963 1,796 กก. 1,255 กก.


777 กก./ม. 1,227 กก./ม. 642

แรงเฉื อนสูงสุด : Vmax = 3,273 กก.


0.5 0.5 2.50 1.50 2.50 1.0

1,115 กก.-ม. 1,381 กก.-ม.

1,963 กก.-ม.
2,403 กก.-ม.

(1) (2) (3) (4)

เลือกขนาดคาน : 0.20x0.40 ม.
Mc  Rbd 2  9.93(0.20)352 = 2,432 กก.–ม. > Mmax
ช่วงโมเมนต์บวก (+M) ช่วงโมเมนต์ลบ (–M)
1,381100 2,403  100
As  = 2.33 ซม.2 As  = 5.14 ซม.2
1,500(0.889)35 1,500(0.889)35
เลือกใช้ 3 DB 12 เลือกใช้ 3 DB 16
1,963  100
As  = 4.20 ซม.2
1,500(0.889)35
Vc  0.29 fc 'bd = 2,486 กก. < VMax เลือกใช้ 2 DB 16 + 1 DB 12
V' = 787 กก.
Avfvd = 67.7 ซม. 3 DB 16 2 DB 16
s
V
เลือกใช้  9 มม. @ 0.15 ม.
2 DB 12 3 DB 12
(1) – (1) (2) – (2)
2 DB 16 2 DB 16
+ 1 DB 12
ป  9 มม. @ 0.15 ม.
2 DB 12 3 DB 12
(3) – (3) (4) – (4)
173

ออกแบบคาน B6 (ใช้สาหรับคานหมายเลข 14)

774 กก. 1,465 กก.


192 642 กก./ม. 1,032 กก./ม. 192 กก./ม. 642

1.20 3.50 ม. 2.50 ม. 3.00 ม. 1.0

แรงเฉื อนสูงสุด : Vmax = 2,106 กก.


218 กก.-ม. 489 กก.-ม.

1,067 กก.-ม. 621 1,786 กก.-ม.

(1) (2) (3)

เลือกขนาดคาน : 0.20x0.35 ม.
Mc  Rbd 2  9.93(0.20)302 = 1,787 กก.–ม. > Mmax
ช่วงโมเมนต์บวก (+M) ช่วงโมเมนต์ลบ (–M)
489  100 1,067  100
As  = 1.22 ซม.2 As  = 2.67 ซม.2
1,500(0.889)30 1,500(0.889)30
เลือกใช้ 2 DB 12 เลือกใช้ 3 DB 12
1,786  100
As  = 4.46 ซม.2
1,500(0.889)30
Vc  0.29 fc 'bd = 2,131 กก. > VMax เลือกใช้ 4 DB 12
เสริ มเหล็กปลอกปริ มาณต่าสุ ด :
s
Av 3 DB 12 2 DB 12
0.0015b
เลือกใช้  6 มม. @ 0.15 ม.
2 DB 12 2 DB 12
(1) – (1) (2) – (2)
4 DB 12
ป  6 มม. @ 0.15 ม.

2 DB 12
(3) – (3)
174

6. เขียนผังโครงสร้างพื้นและคานพร้อมระบุชื่อพื้นและคานที่ออกแบบ

ผังโครงสร้ างพืน้ และคานชั้นที่ 1


175

รายละเอียดเกี่ยวกับการเสริมเหล็ก

มาตรฐาน ว.ส.ท. ให้ขอ้ กาหนดการดัดงอเหล็กเสริ ม และการจัดวางเหล็กเสริ ม เพื่อให้โครงสร้าง


คอนกรี ตเสริ มเหล็กมีแข็งแรงและสามารถรับแรงได้อย่างปลอดภัยภายใต้น้ าหนักบรรทุกใช้งาน ปั จจุบนั
รายละเอียดเกี่ยวกับการเสริ มเหล็กสามารถหาข้อมูลได้จาก Internet ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้

การดัดงอเหล็กเสริ ม

เหล็กเสริ มคาน
176

การจัดวางเหล็กเสริ มเสา

จานวนเหล็กยืน 4 เส้น

จานวนเหล็กยืน 6 เส้น

จานวนเหล็กยืน 8 เส้น

จานวนเหล็กยืน 10 เส้น

จานวนเหล็กยืน 12 เส้น

จานวนเหล็กยืน 14 เส้น

จานวนเหล็กยืน 16 เส้น

จานวนเหล็กยืน 18 เส้น

จานวนเหล็กยืน 20 เส้น
177

การจัดวางและต่ อทาบเหล็กเสริ มเสาเพื่อต้ านทานแรงแผ่ นดินไหว

การเสริ มเหล็กฐานราก

You might also like