Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 25

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 256 ๕
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อ่านคิดพินิจสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้
ตัดสินใจแก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
1.2 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูก
ต้อง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
2. สาระสำคัญ
การอ่านออกเสียงเป็ นวิธีการสื่อสารอีกประเภทหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ฟั งและผู้
อ่านได้รับความรู้ ประสบการณ์และความเพลิดเพลิน เมื่อเราจะอ่านให้ผู้อื่น
ฟั งเราควรอ่านให้น่าฟั ง น่าสนใจ หมายถึงทำให้ผู้ฟั งได้รับสารจากบทที่อ่าน
นั้นครบถ้วน เข้าใจบทอ่านได้อย่างซาบซึ้ง ในการอ่านออกเสียงจากบทร้อย
แก้วถ้าผู้อ่านออกเสียงได้ถูกต้องชัดเจน อ่านแบ่งวรรคตอนตามรูปแบบ และ
2

สอดแทรกอารมณ์ตามเรื่องราวที่เขียนได้ จะทำให้การอ่านออกเสียงร้อย
แก้วน่าฟั ง และเกิดอารมณ์ร่วมด้วย ก่อนอ่านออกเสียงผู้อ่านควรทำความ
เข้าใจหลักการอ่าน และฝึ กทักษะการอ่าน ทำความเข้าใจสารที่อ่านให้
ชัดเจนก่อนเพื่อเป็ นการเตรียมตัวล่วงหน้า เพื่อพัฒนาการอ่านในระดับต่อไป
3. สาระการเรียนรู้ (เนื้อหาที่เรียน)
การอ่านบทร้อยกรอง อ่านได้ 2 แบบ 1. อ่านแบบธรรมดา เป็ นการ
อ่านออกเสียงพูดธรรมดา ไม่มีทำนองเหมือนอ่านร้อยแก้ว แต่มีการ แบ่ง
จังหวะวรรคตอนให้ถูกต้องตามชนิดของคำประพันธ์ 2. อ่านแบบทำนอง
เสนาะ เป็ นการอ่านออกเสียงที่มีทำนองอย่างไพเราะ มีเอื้อนเสียง เน้น
สัมผัส แบ่งจังหวะจำนวนคำ การอ่านตามฉันทลักษณ์บังคับของคำประพันธ์
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ความรู้(K)
1) จุดมุ่งหมายของการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
2) หลักการอ่านบทร้อยแก้ว
4.2 ทักษะ(P)
1) สามารถอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีความรับผิดชอบในการทำงาน มีวินัยในการทำงานส่งงานตรง
ตามเวลาที่กำหนด และมีความใฝ่ เรียนเรียนรู้ในการเรียนเพื่อพัฒนาการ
เรียนรู้ของตนเอง
4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(C)
ความสามารถในการสื่อสารโดยการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด
ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูล
3

ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ
สังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ
การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่
มีต่อตนเองและสังคม

5. ชิ้นงาน / ภาระงาน
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๒. ใบงานที่ ๒ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
๓. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
2. แบบทดสอบการอ่านออกเสียงร้อยกรอง

6. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)


เนื้อหาจำเป็ น เนื้อหาควรรู้ เนื้อหารู้ก็ได้
หลักการอ่านออกเสียง
บทร้อยกรอง

7. ทักษะการคิด (Literacy Thinking Skills)


Thinking to Writing Thinking to Thinking to
Reading Oral
หลักในการอ่านออก อ่านออกเสียงบทร้อย อ่านออกเสียงบท
เสียงบทร้อยกรองและ กรอง ร้อยกรองประเภท
4

จุดประสงค์ในการอ่าน ต่าง ๆ
ออกเสียงบทร้อยกรอง

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ( วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการ


ปฏิบัติ )

คาบเรียนที่

กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ
1. นักเรียนดูสื่อวีดีโอละครจักร ๆ วงศ์ ๆ ของไทย จากนั้นครู
และนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับลักษณะการดำเนินของ
ละครที่มีการเล่าเรื่องราวโดยการอ่านกลอนเป็ นการขับเสภา
ว่าลักษณะดังกล่าวคือการออกเสียงบทร้อยกรอง
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2. ให้นักเรียนศึกษาหลักเกณฑ์ และวิธีการในการอ่านออกเสียง
บทร้อยกรองจากใบความรู้เรื่อง การออกเสียงบทร้อยกรอง
3. นักเรียนฝึ กทำใบงานที่ ๑ และ ๒ เรื่อง การอ่านออกเสียงบท
ร้อยกรอง เพื่อฝึ กการเว้นวรรคตอนในการอ่านออกเสียงบท
ร้อยกรองแต่ละประเภท
4. นักเรียนฝึ กอ่านออกเสียงบทร้อยกรองแบบธรรมดา
ขั้นที่ ๓ ขั้นสรุป
5

5. นักเรียนร่วมกันสรุปปั ญหาและอุปสรรคที่พบในการเรียนการ
สอนเรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง โดยครูผู้สอนทำ
หน้าที่อธิบายเพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจให้แก่นักเรียน
คาบเรียนที่ ๒
ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ
1. ครูสุ่มนักเรียนจำนวน ๒ คนออกมาหน้าห้องเรียน แล้วให้
นักเรียนอ่านบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะ
2. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการอ่านออกเสียง
บทร้อยกรองของเพื่อนที่ออกมาอ่านหน้าห้องเรียน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
3. นักเรียนฝึ กอ่านออกเสียงบทร้อยกรองเป็ นทำนองเสนาะซึ่ง
เป็ นบทท่องจำของชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ จากวรรณคดี เรื่อง
นิราศภูเขาทอง
4. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งด้วยกันแล้วสลับกันอ่านออกเสียง
ให้เพื่อนฟั ง
ขั้นที่ ๓ ขั้นสรุป
5. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนกลับไปฝึ กท่องจำบทอาขยาน
จากวรรณคดีเรื่อง นิราศภูเขาทอง เพื่อมาสอบอ่านเป็ น
ทำนองเสนาะกับครู
6. นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนเรื่องการ
อ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
6

9. การวัดและประเมินผล
ประเด็น มาตรฐา
นการ รายการที่ วิธีการ
เครื่องมือ เกณฑ์การวัด
เรียนรู้/ ประเมิน วัด
ตัวชี้วัด
K ความรู้ หลักการ ใบงาน ตรวจใบ ใบงาน ระดับคุณภาพ
อ่านออก งาน 2 ผ่านเกณฑ์
เสียงบท
ร้อยกรอง
P ทักษะ อ่านบท การอ่าน สอบ แบบ ดีเยี่ยม 18
7

ร้อยกรอง ออกเสียง ปฎิบัติ ประเมิน – 20


ร้อยกรอง การอ่าน ดี 14
ร้อยกรอง – 17
พอใช้ 12
– 13
ปรับปรุง ตำ
กว่า 12
A คุณ มีวินัย รับ พฤติกรรม สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ
ลักษณะฯ ผิดชอบ ของ สังเกต 2 ผ่านเกณฑ์
ใฝ่ เรียนรู้ นักเรียน พฤติกรรม
C ความ พฤติกรรม สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ
สมรรถนะ สามารถ ของ สังเกต 2 ผ่านเกณฑ์
ของ ในการ นักเรียน พฤติกรรม
นักเรียน สื่อสาร

10. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
2. ใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
3. ใบงานที่ ๒ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
4. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
5. แบบฝึ กการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
8

2. อินเตอร์เน็ต
3. เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะฝ่ ายวิชาการ
ได้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ..๒...ของ นางสาวเจนจิรา จิรกำแหง
กุล มีความคิดเห็นดังนี้
1. กระบวนการเรียนรู้
□ มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ เหมาะสมกับความสนใจและ
ความถนัดของผู้เรียน
□ ไม่สอดคล้องและยังไม่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
□ คำนึงถึงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยจัดให้นักเรียนได้ฝึ กทักษะ
เรียนรู้จากประสบการณ์จริงส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึ กคิดอย่างหลากหลาย
สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสาร การแก้ปั ญหาและมีการฝึ กให้
นักเรียนมีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
9

□ ลำดับขั้นตอนการเรียนรู้ไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุง
3. การวัดผลประเมินผล
□ ระบุวิธีการวัดผลและเครื่องมือวัดสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน
รู้ ใช้วิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
□ ไม่ระบุวิธีวัดและเครื่องมือวัด ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
เรียนรู้
4. ความเหมาะสมในการนำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
□ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ได้จริงเนื่องจากมีองค์ประกอบครบ
ถ้วนสมบูรณ์
□ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
5. ข้อเสนอแนะ
อื่นๆ...............................................................................................................
...............................................................................................................
................................

ลงชื่อ....................................................
( นางรวิวรรณ ยอดสร้อย
)
หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
10

........................................................................................................................
........................................................................................................................
.........................................................................................................

ลงชื่อ...................................
...............
( นายอาคม

บันทึกผลหลังการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 256 ๕
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง การอ่านออกสียงบทร้อยกรอง
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------
1. ผลการเรียนรู้
ผู้เรียนได้รับความรู้(K) ใน
เรื่อง……………………………………………………………………………………………..…
11

………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ(P) ใน
เรื่อง…………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม(A) ใน
เรื่อง……………………………………….…………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….….…………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ(C) ใน
เรื่อง…………………………………………………………………..……………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………….…….
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
2. สรุปผลการเรียนรู้
12

นักเรียนผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย


ละ.......................................
ระดับ ดีมาก จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดี จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ พอใช้ จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ปรับปรุง จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
นักเรียนไม่ผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
สาเหตุที่ไม่
ผ่าน……………………………………………………………………………..
3.ปั ญหาอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
…………………......……………...
…………………………………………………………………………………………………………
……………..……………………………….
4. แนวทางแก้ปั ญหา/ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….…...…………
13

………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….

ลงชื่อ.......................................ผู้สอน
( นางสาวเจนจิรา จิรกำแหงกุล )

ใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง


…………………………………………………………………………………
………………………………………
ร้อยกรอง หมายถึง ถ้อยคําที่เรียบเรียงให้เป็ นระเบียบ
ตามบัญญัติแห่งฉันทลัก โดยมี
กําหนดข้อบังคับต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความครึกครื้น และมีความ
ไพเราะแตกต่างไปจาก ถ้อยคํา
ธรรมดา
การอ่านออกเสียงร้อยกรอง เป็ นการอ่านที่มุ่งให้เกิด
ความเพลิดเพลิน ซาบซึ้งใจ รสของ บทประพันธ์ ซึ่งจะต้อง
อ่านอย่างมีจังหวะและลีลาท่วงทํานองตามลักษณะ ของคํา
ประพันธ์แต่ละชนิด การอ่านร้อยกรองอ่านได้ 2 แบบ คือ
1. อ่านออกเสียงธรรมดา เป็ นการอ่านออกเสียงเหมือน
เสียงพูดตามปกติเหมือน อ่านร้อยแก้วแต่มีจังหวะวรรคตอน มี
การเน้นสัมผัสตามลักษณะบังคับของคําประพันธ์แต่ละชนิด
2. อ่านทํานองเสนาะ คือ การอ่านคําร้อยกรองประเภท
ต่างๆ ให้มีเสียงสูง ต่ำ หนัก เบา ยาว สั้น เป็ นทํานองเหมือน
เสียงดนตรี มีการเอื้อนเสียง เน้นสัมผัสตามจังหวะลีลาและ
14

ใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง


…………………………………………………………………………………
………………………………………
8. คําที่มีพยางค์เกินให้อ่านเร็วและรวบเพื่อให้เสียงไปตกอยู่ในพยางค์
ที่ต้องการ
9. มีศิลปะในการใช้เสียงรู้จักเอื้อนเสียงให้เกิดความไพเราะและใช้เสียง
แสดงความ
รู้สึกให้เหมาะสมกับข้อความเพื่อรักษาบรรยากาศของเรื่องที่อ่าน
10. กรณีที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ (-) ต้องอ่านรวบเสียงอย่าทิ้งช่วงนาน
เกินไปแม้ว่าจะอยู่ คนละวรรคก็ตาม เช่น
15
16

ใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง


…………………………………………………………………………………
………………………………………
3. กาพย์ฉบัง 16 แบ่งจังหวะดังนี้
วรรค 6 คํา แบ่ง 3 จังหวะ 2 - 2 - 2
วรรค 4 คํา แบ่ง 2 จังหวะ 2 - 2
ตัวอย่าง
จะร่ำ / สัตว์ใน/ ไพรสัณฑ์ อเนก อนันต์
จะตรวจ/ จะนับ/ เหลือตรา
4. กาพย์สุรางคนางค์ 28 อ่านวรรคละ 2 จังหวะ 2 – 2
ตัวอย่าง
ขอเชิญ / เด็กไทย
นึกถึง / ต้นไม้ ในด้าน / คุณค่า
ปลูกเพื่อ / ประคับ ตกแต่ง / เคหา
กันแสง / สุริยา ด้วยเงา / ร่มเย็น

5. โคลงสี่สุภาพ แบ่งจังหวะดังนี้
วรรค 5 คํา แบ่ง 2 จังหวะ 2 – 3 หรือ 3 - 2
วรรค 2 คํา แบ่ง 2 จังหวะ 2 – 2
ตัวอย่าง
พระสมุทร/ สุดลึกล้น คณนา
สายดิ่ง/ ทิ้งทอดมา หยั่งได้
เขาสูง/ อาจวัดวา กําหนด
17

ใบงานที่ 1
เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
…………………………………………………………………………………
………………………………………
คำชี้แจง
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่เป็ นการอ่านออกเสียง
บทร้อยกรอง และทำเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ไม่ใช่หลักการอ่านออก
เสียงบทร้อยกรอง ( 10 คะแนน )
……………1 การอ่านออกเสียงร้อยกรองอ่านได้ 2 แบบ คือ อ่านแบบ
ธรรมดา และอ่านแบบทำนองเสนาะ
……………2 อ่านให้ถูกจังหวะหรือวรรคตอนของคำประพันธ์ชนิดนั้น ๆ
…………..3 การอ่ายร้อยกรองบางครั้งต้องอ่านให้เอื้อสัมผัสถึงแม้จะไม่
ถูกอักขรวิธี
…………..4 ต้องมีท่าทางประกอบการอ่าน
…………..5 ใช้น้ำเสียงให้เหมาะกับเนื้อหา
…………..6 อ่านให้ถูกต้องตามอักขรวิธี และคำควบกล้ำ โดยเฉพาะ ร

18

ใบงานที่ 2
เรื่อง แบ่งวรรค จับจังหวะ
…………………………………………………………………………………
………………………………………
คำชี้แจง จงแบ่งจังหวะคำประพันธ์ต่อไปนี้โดยใช้เครื่องหมาย / ให้ถูก
ต้องตามหลักการอ่านออกและให้ฝึ กอ่านออกเสียงแบบธรรมดา และ
ทำนองเสนาะ
1. กล้วยน้ำกาบดำก้านใบ คล้ายกล้วย
น้ำไทย

19
20

ใบงานที่ 3
เรื่อง ทำนองเสนาะกะเทาะความรู้
…………………………………………………………………………………
………………………………………
คำชี้แจง ให้นักเรียนฝึ กอ่านทำนองเสนาะและท่องจำบทอาขยานต่อ
ไปนี้เป็ นทำนองเสนาะ (10 คะแนน)

มาถึงบางธรณีทวีโศก ยามวิโยค
ยากใจให้สะอื้น
โอ้สุธาหนาแน่นเป็ นแผ่นพื้น ถึงสี่
หมื่นสองแสนทั้งแดนไตร
เมื่อเคราะห์ร้ายกายเราก็เท่านี้ ไม่มีที่
พสุธาจะอาศัย
ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมือน
นกไร้รังเร่อยู่เอกา
ถึงเกร็ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเก่า ผู้หญิงเกล้า
มวยงามตามภาษา
เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทั้งผัด
หน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย
โอ้สามัญผันแปรไม่แท้เที่ยง เหมือน
21

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของ


นักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ ระดับ
อันพึง รายการประเมิน คะแนน
ประสงค์ด้าน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.มีวินัย รับ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อ
ผิดชอบ บังคับของครอบครัว และ
โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ
ในชีวิตประจำวัน
๒. ใฝ่ เรียนรู้ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง
22


มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็ นระบบ
สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
๓. มุ่งมั่นใน มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้
การ รับมอบหมาย
ทำงาน มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อ
ให้งานสำเร็จ
๔. รักความ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและ
เป็ นไทย ภูมิปั ญญาไทย
เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวเจนจิรา จิร
กำแหงกุล )
23

แบบประเมินการอ่านร้อยกรอง
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนแล้วขีด
 ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
คะแนน

การ รวม
ชื่อ – สกุล ถูกต้อง การแบ่ง ออกเสียง การใช้น้ำ
เอื้อน/ ๒๐ค
ที่ ของผู้รับการ ตาม วรรคตอน ชัดเจน เสียง
สัมผัส ะแน
ประเมิน อักขรวิธี

๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

3
24

1
0

1
1

1
2

1
3

1
4

1
5
25

1
6

1
7

1
8

เกณฑ์การให้คะแนน
ช่วง ระดับ
ดีมาก = 4
คะแนน คุณภาพ
ดี = 3
พอใช้ = 2 18 – ดีมาก

ปรับปรุง = 1 20 ดี
14 – พอใช้
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ 17
ปรับปรุง
10 –
13
ลงชื่อ...................................................ผู้
ประเมิน ต่ำกว่า
10 ( นางส
าวเจนจิรา จิรกำแหงกุล )

You might also like