Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 27

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑
ปี การศึกษา 256 ๕
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 2110 ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อ่านคิดพินิจสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้
ตัดสินใจแก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
1.2 ตัวชี้วัด
ข้อที่ ๔ ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่
อ่าน
2. สาระสำคัญ
ข้อเท็จจริง คือข้อความหรือเหตุการณ์ที่เป็ นมาหรือที่เป็ นอยู่ตามจริง
สามารถตรวจสอบได้พิสูจน์ได้ มีหลักฐานอ้างอิง เช่น จังหวัดอุบลราชธานี
ตั้งอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ คือ
นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยที่สังกัดพรรคประชาธิปั ตย์ ส่วนข้อคิดเห็น
คือความเห็น ความคิดเห็นส่วนบุคคล ความรู้สึก การคาดคะเน หรือทัศน
2

ของผู้พูดหรือผู้เขียนที่แสดงต่อเหตุการณ์หรือเรื่องราวต่าง ดังนั้นในการอ่าน
เรื่องราวต่าง ๆ ผู้อ่านจึงมีความจำเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องแยกแยะได้ว่าข้อมูล
ใดเป็ นข้อเท็จจริง และข้อมูลใดเป็ นข้อคิดเห็นเพื่อที่จะสามารถนำข้อมูลที่ได้
จากการอ่านนั้นเผยแพร่ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระการเรียนรู้ (เนื้อหาที่เรียน)
- ความหมายของข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
- ลักษณะของข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
- ความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
- การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ความรู้(K)
- ความหมายของข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
- ลักษณะของข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
- ความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
- การอ่านเพื่อแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
4.2 ทักษะ(P)
1) สามารถอ่านจับใจความแล้วแยกแยะข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
จากเนื้อความได้
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัยในการทำงานส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
2) มีความใฝ่ เรียนเรียนรู้ในการเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ
ตนเอง
4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(C)
3

ความสามารถในการสื่อสารโดยการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด
ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ
สังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ
การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่
มีต่อตนเองและสังคม
ความสามารถในการคิด โดยผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิด
สังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ และคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
ความสามารถในการแก้ปั ญหา โดย เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้
มาใช้ในการป้ องกัน และแก้ไขปั ญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐาน
ของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจที่มี
ประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ง
แวดล้อม
5. ชิ้นงาน / ภาระงาน
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
2. ใบงานที่ 2 เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น

6. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)


เนื้อหาจำเป็ น เนื้อหาควรรู้ เนื้อหารู้ก็ได้
- ความหมายของข้อเท็จ - การอ่านเพื่อแยกข้อ
4

จริง และข้อคิดเห็น เท็จจริงและข้อคิดเห็น


- ลักษณะของข้อเท็จจริง
และข้อคิดเห็น
- ความแตกต่างระหว่าง
ข้อเท็จจริงและข้อคิด
เห็น

7. ทักษะการคิด (Literacy Thinking Skills)


Thinking to Writing Thinking to Thinking to Oral
Reading
แยกข้อเท็จจริงและ การอ่านจับใจความ อ่านเรื่องแล้ว
ข้อคิดเห็น สำคัญเพื่อแยกข้อ สามารถระบุเหตุและ
เท็จจริงและข้อคิด ผล ข้อเท็จจริงและ
เห็น ข้อคิดเห็นได้

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ( วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการ


ปฏิบัติ )
คาบเรียนที่ ๑
ขั้นที่ ๑ นำเข้าสู่บทเรียน
5

๑. ครูชวนนักเรียนคุยเกี่ยวกับเรื่องการอ่าน ถามนักเรียนว่า
วันนี้ได้อ่านหนังสือหรืออ่านอะไรมาบ้างหรือยัง ในปั จจุบันนักเรียนรับข้อมูล
ข่าวสารผ่านทางไหนมากที่สุด มีใครเล่นไลน์ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ฯลฯ บ้าง
หรือไม่ มีใครรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางช่องทางนี้บ้าง ข้อมูลข่าวสารจาก
ช่องทางเหล่านี้มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด มีใจความสำคัญหรือไม่
แล้วโยงเข้าสู่บทเรียนเรื่องการอ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ โดยระบุเหตุ
และผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น
ขั้นที่ ๒ กิจกรรมการเรียนรู้
๒. นักเรียนศึกษาความรู้จากใบความรู้ เรื่อง การระบุเหตุและผล
และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น หรือสื่อ power point โดยครูทำหน้าที่ในการ
อธิบายรายละเอียดข้อสงสัยต่าง ๆ ให้นักเรียน
๓. นักเรียนช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้รับจากใบความรู้ ครูให้
นักเรียนบอกความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นว่าต่างกัน
อย่างไร
๔. ครูยกตัวอย่างข่าวให้นักเรียนแยกแยะเหตุและผล และข้อ
เท็จจริงกับข้อคิดเห็น
๕. นักเรียนทำใบงานที่ ๑ และใบงานที่ ๒ เรื่อง การแยกแยะข้อ
เท็จจริงกับข้อคิดเห็น
๖. นักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงาน ครูอธิบายเพิ่มเติมตาม
ความเหมาะสม
ขั้นที่ ๓ สรุปผล
7. นักเรียนช่วยกันสรุปความสำคัญของการอ่านจับใจความจาก
สื่อต่าง ๆ โดยระบุ
6

เหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น เพื่อทบทวนความรู้อีกครั้ง


8. นักเรียนทำแบบทดสอบเรื่องการอ่านจับใจความสำคัญจาก
ข่าว โดยระบุเหตุและ
ผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น เพื่อเก็บคะแนน ๒๐ คะแนน
9. การวัดและประเมินผล
ประเด็น มาตรฐานการ รายการ
วิธีการ
เรียนรู้/ตัวชี้ ที่ เครื่องมือ เกณฑ์การวัด
วัด
วัด ประเมิน
ความรู้ (K) แบบทดสอบ ใบงาน ตรวจใบ ใบงาน ระดับคุณภาพ
เรื่องการอ่าน งาน 2 ผ่านเกณฑ์
๑. ระบุ
จับใจความ
เหตุและผล
สำคัญจากข่าว
และข้อเท็จ
โดยระบุเหตุ
จริงกับ
และผล แยะ
ข้อคิดเห็น
แยะข้อเท็จ
จากเรื่องที่
จริงและข้อคิด
อ่าน
เห็น
ทักษะ แบบสังเกต แบบ สังเกต แบบ 9-10 ระดับ ดี
กระบวนก พฤติกรรม ประเมิน ประเมิน มาก
าร (P) การสอบ 7- 8 ระดับ ดี
5-6 ระดับ
๑. ทักษะ
พอใช้
การปฏิบัติ
0-4 ระดับ
7

ด้วยตนเอง ปรับปรุง

- ความ
สามารถใน
การสื่อสาร
- ความ
สามารถใน
การคิด
A คุณ มีวินัย รับผิด พฤติกรร สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ
ลักษณะฯ ชอบ มของ สังเกต 2 ผ่านเกณฑ์
ใฝ่ เรียนรู้ นักเรียน พฤติกรรม
C ความสามารถ พฤติกรร สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ
สมรรถนะ ในการสื่อสาร มของ สังเกต 2 ผ่านเกณฑ์
ของ นักเรียน พฤติกรรม
นักเรียน

10. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. สื่อการสอน Power point เรื่อง การระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริง และ
ข้อคิดเห็น
2. ใบงานที่ 1 เรื่อง การแยกแยะข้อคิดเห็น และข้อเท็จจริง
3. ใบงานที่ 2 เรื่อง การแยกแยะข้อคิดเห็น และข้อเท็จจริง
4. แบบทดสอบ
5. ใบความรู้ เรื่อง การระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
8

แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เน็ต
3. เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะฝ่ ายวิชาการ
ได้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ..๔...ของ นางสาวเจนจิรา จิรกำแหง
กุล มีความคิดเห็นดังนี้
1. กระบวนการเรียนรู้
□ มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ เหมาะสมกับความสนใจและ
ความถนัดของผู้เรียน
□ ไม่สอดคล้องและยังไม่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
9

□ คำนึงถึงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยจัดให้นักเรียนได้ฝึ กทักษะ
เรียนรู้จากประสบการณ์จริงส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึ กคิดอย่างหลากหลาย
สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสาร การแก้ปั ญหาและมีการฝึ กให้
นักเรียนมีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
□ ลำดับขั้นตอนการเรียนรู้ไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุง
3. การวัดผลประเมินผล
□ ระบุวิธีการวัดผลและเครื่องมือวัดสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน
รู้ ใช้วิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
□ ไม่ระบุวิธีวัดและเครื่องมือวัด ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
เรียนรู้
4. ความเหมาะสมในการนำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
□ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ได้จริงเนื่องจากมีองค์ประกอบครบ
ถ้วนสมบูรณ์
□ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
5. ข้อเสนอแนะ
อื่นๆ...............................................................................................................
...............................................................................................................
................................

ลงชื่อ....................................................
10

( นางรวิวรรณ ยอดสร้อย
)
หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
........................................................................................................................
........................................................................................................................
.........................................................................................................

ลงชื่อ...................................
...............
(นายอาคม

บันทึกผลหลังการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑
ปี การศึกษา 256 ๕
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 2110 ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง การระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริง
และข้อคิดเห็น เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
11

------------------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------
1. ผลการเรียนรู้
ผู้เรียนได้รับความรู้(K) ใน
เรื่อง……………………………………………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ(P) ใน
เรื่อง…………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม(A) ใน
เรื่อง……………………………………….…………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….….…………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ(C) ใน
เรื่อง…………………………………………………………………..……………………………
12

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………….…….
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
2. สรุปผลการเรียนรู้
นักเรียนผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดีมาก จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดี จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ พอใช้ จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ปรับปรุง จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
นักเรียนไม่ผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
สาเหตุที่ไม่
ผ่าน……………………………………………………………………………..
3.ปั ญหาอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
…………………......……………...
13

…………………………………………………………………………………………………………
……………..……………………………….
4. แนวทางแก้ปั ญหา/ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….…...…………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….

ลงชื่อ.......................................ผู้สอน
( นางสาวเจนจิรา จิรกำแหงกุล )

ใบความรู้ เรื่อง ลักษณะของข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น


ความหมายของข้อเท็จจริง
ข้อเท็จจริง คือ ข้อความหรือเหตุการณ์ที่มีความเป็ นไปได้ มีความ
สมจริง มีหลักฐานเชื่อถือได้ มีความสมเหตุสมผล เช่น วันขึ้น 15 ค่ำ จะมอง
เห็นพระจันทร์เต็มดวง ข้อความนี้เป็ นข้อเท็จจริง เพราะมีความสมจริง เป็ นไป
ได้ พิสูจน์ได้
ความหมายของข้อคิดเห็น
ข้อคิดเห็น เป็ นข้อความที่แสดงความรู้สึก แสดงความคาดคะเน หรือ
ข้อความที่แสดงทัศนะของผู้พูดที่สอดแทรกเข้าไปในข้อความที่พูด เพื่อแสดง
ความคิดเห็นส่วนตัว เช่น ชายชราคนนั้นน่าสงสารมากเขาต้องทำงานเหนื่อย
ตลอด ทั้งข้อความนี้เป็ นข้อคิดเห็น เพราะเป็ นความรู้สึกหรือความคิดเห็นส่วน
ตัว
ความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
1. มีความเป็ นไปได้เสมอ 1. แสดงความรู้สึก
14

ใบงานที่ 1
เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
คำชี้แจง ตอนที่ 1 ให้นักเรียนแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากข้อความต่อไปนี้โดยทำ
เครื่องหมาย /ให้ตรงกับข้อความที่เลือก

ที่ ข้อความ ข้อเท็จ ข้อคิด


จริง เห็น
1 สุนัขของไทยมีหน้าตาน่ารักและเฉลียวฉลาด
2 นายประยุทธ จันโอชาเป็ นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
3 พระพุทธศาสนามีแหล่งกำเนิดในชมพูทวีปและได้เผยแพร่
เข้ามาในประเทศไทยเป็ นเวลานานมาแล้ว
4 พ่อขุนรามคำแหงประดิษฐ์อักษรไทย
5 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์มีบรรยากาศที่สดชื่น ร่มรื่น และ
งดงาม
6 วันนี้อากาศครึ้มมากฝนคงจะตกหนัก
7 พระตำหนักดอยตุงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย
8 การตื่นนอนแต่เช้าตรู่เป็ นกำไรของชีวิต
9 โดม ปกรณ์เป็ นนักร้องที่ร้องเพลงได้เพราะมาก
1 เบลล่า ราณี เป็ นดาราที่สวยมาก
0

ตอนที่ 2 ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วบอกว่าเป็ นข้อเท็จจริงหรือ


ข้อคิดเห็น
1. “ยิ้มเป็ นคุณลักษณะพิเศษของมนุษย์อย่างหนึ่ง ซึ่งหาไม่ได้จากบรรดาสัตว์ที่มีชีวิตอยู่
ในโลก สัตว์บางชนิดเรายกย่องกันว่าแสนจะฉลาด สามารถฝึ กได้นานาประการ แต่ฝึ กให้
ยิ้มนั้นฝึ กไม่ได้จะแสดงความดีใจหรือพอใจได้แต่ด้วยท่าทางอย่างอื่น เช่น กระดิกหาง
เคล้าแข้งเคล้าขาตะกุยตะกาย เป็ นต้น ไม่สามารถแสดงออกมาทางสีหน้าได้ คนเท่านั้นที่
ยิ้มได้”
……………………………………………………………………………………………………………………………
15

ใบงานที่ 2
เรื่อง การแยกข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น
คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทความต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม
เด็กหญิง 5 ขวบถูกหามส่งรพ.เหตุโรคคลั่งผอม
เว็บไซต์แท็บลอยด์เดลี่ เมล รายงานว่า มีเด็กผู้หญิงวัยเพียงแค่ 5 ขวบ ถูก
นำตัวส่งโรงพยาบาล หลังจากป่ วยเป็ นโรคอะนอเร็กเซีย หรือโรคคลั่งผอมอย่าง
รุนแรง ซึ่งสร้างความตื่นตกใจไปทั่วประเทศ พร้อมกับการตั้งคำถามว่า ความคิด
ห่วงสวยได้เข้าไปครอบงำจิตใจของเด็กตั้งแต่อายุเท่าใด
จากสถิติที่ออกโดยกระทรวงสาธารณสุขของอังกฤษระบุว่า มีเด็กจำนวนไม่
น้อยโดยเฉพาะเด็กผู้หญิงกำลังคลั่งไคล้ความผอมกันอย่างรุนแรง บางคนเลียน
แบบนางแบบที่ผอมจนเกินเหตุ หรือไม่ก็พวกคนที่มีชื่อเสียงที่พวกเขาเห็นใน
นิตยสารหรือโทรทัศน์ และพยายามจะผอมเลียนแบบคนเหล่านี้
แพทย์และผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการหลายคนเตือนว่า มีเด็กที่อายุน้อย
กำลังพัฒนาไปสู่ความสัมพันธ์กับอาหารในแบบที่ผิดหลักอนามัย เพราะนำตัว
เองไปเปรียบเทียบกับเพื่อน และบางครั้งยังแข่งกันด้วยว่า ใครลดน้ำหนักได้
มากกว่ากันโรคนี้มีความเกี่ยวข้องกับปั ญหาทางด้านจิตใจด้วย ส่วนใหญ่จะพบใน
กลุ่มที่ขาดความมั่นใจในตัวเองอย่างมาก หรือกลุ่มที่แสวงหาความสมบูรณ์แบบ
บางคนเคยถูกทารุณกรรมทางร่างกายหรือทางจิตใจ หรือมักรู้สึกว่าตัวเองขาด
ความรักอยู่ตลอดเวลา
การรักษานอกจากรักษาทางการแพทย์แล้ว วิธีครอบครัวบำบัดก็มี
ความจำเป็ นอย่างยิ่ง โดยคนในครอบครัวต้องเป็ นผู้เยียวยาสำคัญที่สุด ต้องให้
ความรัก ความเข้าใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ป่ วย อย่าใช้วิธีบังคับให้กินตาม
มื้ออาหาร แต่เปลี่ยนเป็ นการสร้างบรรยากาศการกิน เปลี่ยนสถานที่กิน หรือ
ชักชวนให้ร่วมกันทำอาหาร ในขณะเดียวกันพ่อแม่อาจชวนลูกไปออกกำลังกาย
ร่วมกัน เพื่อให้ลูกลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับเรื่องน้ำหนัก และต้องเอาตัวเอง
เข้าไปปรับแก้พฤติกรรมของลูกด้วยจึงจะได้ผล
16

เกณฑ์การประเมินใบงาน
ผู้ประเมิน
 ครูผู้สอน นักเรียน เพื่อน  ผู้ปกครอง
สิ่งที่ต้อง วิธีการ ประเด็นที่ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน วัดผล ประเมิน
- คิดวิเคราะห์และ ตอบคำถาม
ใบงาน ตรวจใบ เนื้อหา ได้ ถูกต้องชัดเจน สมบูรณ์ทุก
งาน ข้อ ทำงานเป็ น ระเบียบ
เรียบร้อย สวยงามงานเสร็จ
ทันเวลาที่กำหนด
= 5 คะแนน
- คิดวิเคราะห์ตอบ คำถามได้
ชัดเจน เป็ นส่วนใหญ่ ทำงาน
เป็ น ระเบียบ เรียบร้อยส่งงาน
ทันเวลาที่กำหนด
= 4 คะแนน
- คิดวิเคราะห์ตอบ คำถามไม่
ชัดเจน ต้องปรับปรุงบ้าง ข้อ
การทำงานเป็ น ระเบียบเรียน
ร้อย ส่งงานทันตามกำหนด
= 3 คะแนน
- คิดวิเคราะห์ ไม่ได้เป็ นส่วน
ใหญ่ ต้อง ปรับปรุงแก้ไข การ
17

ทำงานไม่ เรียบร้อยส่งงาน
ไม่ทันตามกำหนด
= 2 คะแนน
ตกแต่งชิ้นงานได้ สวยงามดี
มากให้
การ = 5 คะแนน
สร้างสรรค์ ตกแต่งชิ้นงานได้ สวยงาม
ผลงาน เรียบร้อยดีให้
= 4 คะแนน
ตกแต่งชิ้นงานได้ เรียบร้อย
พอใช้ให้
= 3 คะแนน
ตกแต่งชิ้นงานไม่ เรียบร้อยให้
= 2 คะแนน
การประเมินผล คะแนน 9 – 10 = ดีมาก คะแนน 6 – 8 = ดี
คะแนน 3 – 5 = พอใช้
คะแนน ต่ำกว่า 2 = ปรับปรุง

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน
18

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 4 4 2 10
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
19

20
21
22
23
24

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 4 4 2 10
25
26
27
28
29
30
31
20

32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน
21

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 8 8 4 20
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
22

67
68
69
70
71
72

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 4 4 2 10
73
74
75

ลงชื่อ.........................................................ผู้ประเมิน
23

( นางสาวเจนจิรา
จิรกำแหงกุล )
วัน
ที่..........เดือน.................................พ.ศ. .................
24

เกณฑ์การให้คะแนนการอ่าน

ระดับ
คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน น้ำ
คะแ
หนัก/
นน
ประเด็น ความ
รวม
การ 4 3 2 1 สำคัญ
ประเมิน
ความเข้าใจ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ
คำถาม คำถาม คำถาม คำถาม
หลังจาก หลังจาก หลังจาก หลังจาก
2 8
ที่อ่านได้ ที่อ่านได้ ที่อ่านได้ ที่อ่านได้
ทั้งหมด เกือบ เล็กน้อย น้อยมาก
ทั้งหมด
การจับใจ จับใจ จับใจ จับใจ จับใจ
ความ ความ ความ ความ ความ
สำคัญ สำคัญ สำคัญ สำคัญ สำคัญ
ของ ของ ของ ของ 2 8
เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา
ได้ ได้เกือบ ได้ ได้
ทั้งหมด ทั้งหมด เล็กน้อย น้อยมาก
25

การรู้ความ เมื่ออ่าน เมื่ออ่าน เมื่ออ่าน เมื่ออ่าน


หมาย พบ พบ พบ พบ
คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์
ใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่
สามารถ สามารถ สามารถ สามารถ
เดา เดา เดา เดา
ความ ความ ความ ความ 1 4
หมาย หมาย หมาย หมาย
คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์
จาก จาก จาก จาก
บริบทได้ บริบทได้ บริบทได้ บริบทได้
ทั้งหมด เกือบ เล็กน้อย น้อยมาก
ทั้งหมด
รวม 5 20
26

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของ


นักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ ระดับ
อันพึง รายการประเมิน คะแนน
ประสงค์ด้าน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.มีวินัย รับ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์
ผิดชอบ ระเบียบ ข้อบังคับในการเรียนการสอน
มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ
ในห้องเรียน
๒. ใฝ่ เรียนรู้ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้
ต่าง ๆ
มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็ นระบบ
สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
๓. มุ่งมั่นใน มีความตั้งใจและพยายามในการ
การ ทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ทำงาน มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค
เพื่อให้งานสำเร็จ
๔. รักความ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
27

เป็ นไทย และภูมิปั ญญาไทย


เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตาม
วัฒนธรรมไทย

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวเจนจิรา จิร
กำแหงกุล )

You might also like