แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 23

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 256 ๖
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ตามรอยทางนิราศภูเขาทอง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อย
กรอง เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสิน
ใจแก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
1.2 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้อย่างถูกต้อง
ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน
2. สาระสำคัญ
การอ่านออกเสียงเป็ นวิธีการสื่อสารอีกประเภทหนึ่งที่ช่วยให้ผู้ฟั งและผู้อ่าน
ได้รับความรู้ ประสบการณ์และความเพลิดเพลิน เมื่อเราจะอ่านให้ผู้อื่นฟั งเรา
ควรอ่านให้น่าฟั ง น่าสนใจ หมายถึงทำให้ผู้ฟั งได้รับสารจากบทที่อ่านนั้นครบ
ถ้วน เข้าใจบทอ่านได้อย่างซาบซึ้ง ในการอ่านออกเสียงจากบทร้อยแก้วถ้าผู้
อ่านออกเสียงได้ถูกต้องชัดเจน อ่านแบ่งวรรคตอนตามรูปแบบ และสอดแทรก
อารมณ์ตามเรื่องราวที่เขียนได้ จะทำให้การอ่านออกเสียงร้อยแก้วน่าฟั ง และ
เกิดอารมณ์ร่วมด้วย ก่อนอ่านออกเสียงผู้อ่านควรทำความเข้าใจหลักการอ่าน
และฝึ กทักษะการอ่าน ทำความเข้าใจสารที่อ่านให้ชัดเจนก่อนเพื่อเป็ นการ
เตรียมตัวล่วงหน้า เพื่อพัฒนาการอ่านในระดับต่อไป
3. สาระการเรียนรู้ (เนื้อหาที่เรียน)
ร้อยแก้ว หมายถึง บทประพันธ์ที่เรียบเรียงด้วยภาษาที่ใช้เขียนหรือพุดกัน
ทั่วไป ภาษาที่ใช้สำหรับร้อยแก้วไม่มีการบังคับสัมผัส หรือกำหนดจำนวนคำ
เป็ นภาษาที่ใช้สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็ นสำคัญ
รูปแบบของงานเขียนประเภทร้อยแก้ว แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
1. บันเทิงคดี เป็ นลักษระงานเขียนที่มีเนื้อหามุ่งเสนอเรื่องที่แต่งขึ้นจาก
จินตนาการเพื่อความเพลิดเพลินเป็ นหลัก ได้แก่ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย
นิทานชาดก เป็ นต้น
2. สารคดี เป็ นลักษณะงานเขียนที่มีเนื้อหามุ่งเสนอข้อเท็จจริงที่เป็ นความรู้
ข้อคิด เป็ นหลัก ได้แก่ เรียงความ รายงาน ตำรา จดหมายเหตุ คัมภีร์สอน
ศาสนา เป็ นต้นไป
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ความรู้(K)
1) จุดมุ่งหมายของการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
2) หลักการอ่านบทร้อยแก้ว และร้อยกรอง
4.2 ทักษะ(P)
1) สามารถอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องตาม
หลักการอ่าน
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีความรับผิดชอบในการทำงาน มีวินัยในการทำงานส่งงานตรงตาม
เวลาที่กำหนด
๒) มีความใฝ่ เรียนเรียนรู้ในการเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(C)
ความสามารถในการสื่อสารโดยการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้
ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการ
เจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับ
ข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการ
สื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
5. ชิ้นงาน / ภาระงาน
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
2. ใบงานที่ 2 เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
3. ใบงานที่ 3 เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว

6. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)


เนื้อหาจำเป็ น เนื้อหาควรรู้ เนื้อหารู้ก็ได้
หลักการอ่านออกเสียงบท
ร้อยแก้ว
หลักการอ่านออกเสียงบ
มร้อยกรองประเภทกลอน
นิราศ

7. ทักษะการคิด (Literacy Thinking Skills)


Thinking to Writing Thinking to Thinking to Oral
Reading
หลักในการอ่านออกเสียง อ่านออกเสียง อ่านออกเสียงบทร้อย
บทร้อยแก้วและบทร้อย แก้ว และบทร้อย
กรอง และจุดประสงค์ใน กรอง
การอ่านออกเสียงบทร้อย
แก้ว และบทร้อยกรอง

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ( วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบัติ )

คาบเรียนที่

กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
ขั้นที่ 1 การสร้างความสนใจ
1. ครูให้สุ่มนักเรียนอ่านออกเสียงจากข้อความที่ครูกำหนดให้ เช่น
ยายกินลำไยน้ำลายยายไหลย้อย , หมูหมึกกุ้ง , ทหารถือปื นแบก
ปูนไปโบกตึก , เช้าฟาดผัดฟั กเย็นฟาดฝั กผัด เป็ นต้น
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2. ให้นักเรียนศึกษาหลักเกณฑ์ในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วจาก
ใบความรู้เรื่อง การออกเสียงบทร้อยแก้ว
3. ครูให้นักเรียนฝึ กอ่านบทความที่ครูแจกให้ โดยให้จับคู่กับเพื่อน
เพื่อฝึ กอ่านตามหลักเกณฑ์ในการ
อ่านที่ได้ศึกษามา

ในที่สุด เสียงทุกอย่างก็หมดไป คงเหลือแต่เสียงลม เสียงฝน และเสียง


กระแสน้ำกระทบผ่านต้นอ้อ ต้นแขม และรากลำพูที่ริมตลิ่ง ธรรมชาติยังคง
สำแดงอำนาจอันมหึมา โดยปราศจากการรบกวนจากมนุษย์
เช้า วันต่อมา พระอาทิตย์ ทอแสงอันแจ่มใสเมื่อรุ่งอรุณ น้ำฝน
ติดอยู่ตามใบไม้ กอหญ้า ต้องแสงอาทิตย์เป็ นประกาย เมฆฝนที่ทะมึนอยู่เมื่อ
กลางคืน คงเหลือในสภาพเหมือนปุยนุ่นเล็กๆ ที่ถูกลมพัดปลิวไปติดขอบฟ้ า นก
ยางฝูงหนึ่ง บินผ่านท้องน้ำ ตรงคุ้งสำเภาไปอย่างเชื่องช้า มุ่งหน้าไปหากันกลาง
ทุ่ง ธรรมชาติลืมโทสะ ที่บังเกิดเมื่อตอนกลางคืนนั้นแล้วสิ้น และเริ่มวันใหม่ด้วย
อาการอันแจ่มใส เหมือนกับเด็ก ที่ยิ้มเบิกบานทั้งน้ำตา
(หลายชีวิต โดย ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ฉบับพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๑๓ หน้า ๓)

ขั้นที่ ๓ สรุป

4. ครูแจก ใบงานเรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ให้นักเรียนทำ


เป็ นการบ้าน
คาบเรียนที่ 2

กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นที่ ๑ การสร้างความสนใจ

1. นักเรียนดูคลิปวีดีโอการอ่านทำนองเสนาะบทอาขยานจาก
วรรณคดีเรื่องนิราศภูเขาทอง
2. นักเรียนช่วยกันตอบคำถามว่า บทอาขยานข้างต้น ปรากฏ
ในวรรณคดีเรื่องใด ใครเป็ นผู้แต่ง

ขั้นที่ ๒ ขั้นสอน

1. นักเรียนศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภท
กลอนนิราศ จากสื่อ Power point
2. ครูอ่านออกเสียงบทร้อยกรองจากวรรณคดีเรื่อง นิราศ
ภูเขาทอง เป็ นทำนองเสนาะให้นักเรียนฟั งเป็ นตัวอย่าง
และอธิบายการเอื้อนเสียง การอ่านแบบเอื้อสัมผัสให้
นักเรียนฟั ง
3. นักเรียนจับคู่กับเพื่อนที่นั่งใกล้ ๆ กัน จากนั้น นักเรียน
แต่ละคู่ฝึ กอ่านออกเสียงบทร้อยกรองจากวรรณคดีเรื่อง
นิราศภูเขาทอง ของสุนทรภู่
4. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละคู่ออกมาอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
เป็ นทำนองเสนาะหน้าชั้นเรียน
5. นักเรียนฝึ กซ้อมอ่านออกเสียงบทร้อยกรองบทอาขยานบท
หลัก จากวรรณคดีเรื่อง นิราศภูเขาทอง

ขั้นที่ ๓ ขั้นสรุป
1. นักเรียนสรุปความรู้เรื่องการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
2. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคู่กลับไปฝึ กซ้อมอ่านออก
เสียงบทอาขยานบทหลักจากวรรณคดีในบทเรียน เรื่อง
นิราศภูเขาทอง และถ่ายเป็ นคลิปวีดีโอส่งครูเพื่อเก็บ
คะแนน 10 คะแนน

9. การวัดและประเมินผล
ประเด็ มาตรฐาน
รายการที่ วิธีการ
น การเรียน เครื่องมือ เกณฑ์การวัด
ประเมิน วัด
รู้/ตัวชี้วัด
K หลักการ ใบงาน ตรวจใบ ใบงาน ระดับคุณภาพ
ความรู้ อ่านออก งาน 2 ผ่านเกณฑ์
เสียงบท
ร้อยกรอง
P อ่าน การอ่าน สอบ แบบประเมิน ดีเยี่ยม 18
ทักษะ ทำนอง ทำนองเสนาะ ปฎิบัติ การอ่านร้อย – 20
เสนาะ กรอง ดี 14
– 17
พอใช้ 12
– 13
ปรับปรุง ตำ
กว่า 12
A คุณ มีวินัย รับ พฤติกรรม สังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
ลักษณ ผิดชอบ ของนักเรียน พฤติกรรม 2 ผ่านเกณฑ์
ะฯ ใฝ่ เรียนรู้
C ความ พฤติกรรม สังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ
สมรรถ สามารถ ของนักเรียน พฤติกรรม 2 ผ่านเกณฑ์
นะของ ในการ
นักเรีย สื่อสาร

10. สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย
2. สื่อการสอน Power point เรื่อง หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
3. ใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
4. ใบงานที่ 2 เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
5. ใบงานที่ 3 เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว
แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เน็ต
3. เอกสารประกอบการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะฝ่ ายวิชาการ
ได้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ..1...ของ นางสาวเจนจิรา จิรกำแหงกุล
มีความคิดเห็นดังนี้
1. กระบวนการเรียนรู้
□ มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ เหมาะสมกับความสนใจและความ
ถนัดของผู้เรียน
□ ไม่สอดคล้องและยังไม่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
□ คำนึงถึงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยจัดให้นักเรียนได้ฝึ กทักษะ เรียนรู้
จากประสบการณ์จริงส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึ กคิดอย่างหลากหลาย สรุปองค์
ความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสาร การแก้ปั ญหาและมีการฝึ กให้นักเรียนมีวินัย ตรง
ต่อเวลา ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มุ่งมั่นในการทำงาน
□ ลำดับขั้นตอนการเรียนรู้ไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุง
3. การวัดผลประเมินผล
□ ระบุวิธีการวัดผลและเครื่องมือวัดสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
ใช้วิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
□ ไม่ระบุวิธีวัดและเครื่องมือวัด ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
4. ความเหมาะสมในการนำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
□ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ได้จริงเนื่องจากมีองค์ประกอบครบ
ถ้วนสมบูรณ์
□ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
5. ข้อเสนอแนะ
อื่นๆ...............................................................................................................
........................................................................................................................
.......................

ลงชื่อ....................................................
( นางรวิวรรณ ยอดสร้อย )
หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
...............................................................................................

ลงชื่อ...................................
...............
( นายอาคม โพช
บันทึกผลหลังการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1
ปี การศึกษา 2566
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 21101 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การอ่านออกสียงบทร้อยแก้วและบท
ร้อยกรอง เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
----------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------
1. ผลการเรียนรู้
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
……………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………….
…………………………………………………………………..………….
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………..
ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้
……………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………….
…………………………………………………………………..………….
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………
ขั้นสรุปผล
……………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………..……………………………….
…………………………………………………………………..………….
……………………………………
นักเรียนผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดีมาก จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดี จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ พอใช้ จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ปรับปรุง จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
นักเรียนไม่ผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
๒.ปั ญหาอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………
……………......……………...
………………………………………………………………………………………………………………
………..……………………………….
๓. แนวทางแก้ปั ญหา/ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………
………………………….…...…………
………………………………………………………………………………………………………………
………..……………………………….

ลงชื่อ.....................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ..............................................
( นางสาวเจนจิรา จิรกำแหงกุล ) (
นายอาคม โพชสาลี )
ตำแหน่งครู คศ.1 ผู้อำนวยการ
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์

ใบความรู้ เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว


…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ร้อยแก้ว หมายถึง บทประพันธ์ที่เรียบเรียงด้วยภาษาที่ใช้เขียนหรือ
พุดกันทั่วไป ภาษาที่ใช้สำหรับร้อยแก้วไม่มีการบังคับสัมผัส หรือกำหนด
จำนวนคำ เป็ นภาษาที่ใช้สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็ นสำคัญ
รูปแบบของงานเขียนประเภทร้อยแก้ว แบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ
วิธีการอ่านบทร้อยแก้ว
ในการฝึ กอ่านออกเสียงข้อความที่เป็ นร้อยแก้ว จะใช้เครื่องหมาย
แบ่งวรรคตอนในการอ่านเพื่อเป็ นการเว้นช่วงจังหวะการอ่าน ดังนี้
เครื่องหมาย / หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะสั้นๆ
เครื่องหมาย // หมายถึง การหยุดเว้นช่วงจังหวะที่ยาวกว่า
เครื่องหมาย /
เครื่องหมาย ____ หมายถึง การเน้น การเพิ่มน้ำหนักของ
เสียง
การอ่านออกเสียงข้อความที่เป็ นร้อยแก้วมีวิธีการอ่าน 2 วิธี ดังนี้
1. วิธีการอ่านแบบบรรยาย การอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดถ้อยชัด
คำ เว้นวรรคตอน
ในการอ่านให้เหมาะสม เน้นเสียงและถ้อยคำตามน้ำหนักความสำคัญของ
ใจความ เพื่อจะช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงจุดมุ่งหมายของเรื่องได้ดี
2. วิธีการอ่านแบบพรรณนาให้เห็นภาพ ทำให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์
คล้อยตาม การอ่าน
ควรอ่านออกเสียงให้เป็ นเสียงพูดอย่างเป็ นธรรมชาติที่สุด ใช้น้ำเสียงและ
อารมณ์ในการอ่านให้เหมาะสมกับเนื้อความ บทสนทนา และบทบรรยาย ควร
ใช้น้ำเสียงแตกต่างกัน เน้นเสียง ใช้เสียงและจังหวะให้เป็ นไปตามเนื้อเรื่อง

1. การอ่านพยัญชนะที่ไม่มีรูป
สระกำกับ
อ่านออกเสียงสระ อะ ในพยัญชนะตัวเดียว เช่น ณ

1.อ่านออกเสียงสระ อะ
(นะ)
อ่านออกเสียงสระ อะ ที่พยัญชนะตัวแรก เช่น จริยา
(จะ-ริ-ยา)
อ่านออกเสียงสระ อะ ที่พยัญชนะตัวแรก และออก
เสียงแบบอักษรนำในพยางค์ที่ตามมา เช่น ขนุน (ขะ-
หนุน)
อ่านออกเสียงสระ อะ ที่พยัญชนะตัวแรก โดยมี
พยัญชนะตัวที่ 2 เป็ นตัวสะกดและอ่านออกเสียงสระ
- อะ ด้วย เช่น คณนา (คัน-นะ-นา)
2. อ่านออกเสียงสระ ออ

อ่านออกเสียงสระ ออ ที่พยัญชนะ บ เช่น บรม (บอ-


รม) , บริบูรณ์ (บอ-ริ-บูน)
อ่านออกเสียงสระ ออ ที่พยัญชนะที่ไม่มีรูปสระกำกับ
และตามด้วยพยัญชนะ ร และ อ่านออกเสียง
พยัญชนะ ร ที่ตามมาเป็ นตัวสะกดแม่ กน เช่น กร (ก
อ่านออกเสียงสระ ออ ที่พยัญชนะไม่มีรูปสระกำกับ
อน)
และตามด้วยพยัญชนะ ร และ ออกเสียงพยัญชนะ ร
ประสมกับสระ อะ เช่น ทรมาน ( ทอ-ระ-มาน)
อ่านออกเสียงสระ โอะ ในคำที่มีพยัญชนะ 2-3 ตัวเรียง

3. อ่านออกเสียงสระ โอะ
กัน (ไม่มีรูปสระกำกับ) พยัญชนะตัวสุดท้ายทำ หน้าที่
เป็ นตัวสะกด เรียกลักษณะนี้ว่า "สระ โอะ ลดรูป" เช่น
อ่านออกเสียงสระ โอะ ในคำที่มีพยัญชนะ 3 ตัวเรียง
ฉก (ฉ + โอะ+ก)
กัน (ไม่มีรูปสระกำกับ) พยัญชนะตัวแรกประสมเสียง
สระ อะ พยัญชนะตัวที่ 2 ประสมเสียงสระ โอะ และ
พยัญชนะตัวที่ 3 ทำ หน้าที่เป็ นตัวสะกด (อาจมีตัว
การันต์ต่อท้ายหน้าพยัญชนะตัวที่ 3 ) เช่น กมล (กะ-
อนึ่ง ถ้าพยัญชนะตัวแรกเป็ นอักษรสูงหรือกลาง และ
มน) , ณรงค์ (นะ-รง)
พยัญชนะตัวที่ 2 เป็ นอักษรต่ำเดี่ยว (ง ญ น ม ย ร ล
ว) จะออกเสียงแบบอักษรนำด้วย เช่น ตลก (ตะ-หลก)

2. การอ่านคำที่ไม่ออกเสียง

8.
พยัญชนะหรือสระบางตัว
คำที่ไม่ออกเสียง ญ เช่น สรรเพชญ (สัน-เพ็ด)

7. คำที่ไม่ออกเสียง ธ เช่น พุทธ ( พุด )

6. คำที่ไม่ออกเสียง ร เช่น ภัทร (พัด) , จริง (จิง)

5. คำที่ไม่ออกเสียง ห เช่น พรหม (พรม) , พราหมณ์ (พราม)

4. คำที่ไม่ออกเสียง อ คือ คำที่ อ นำ ย ในลักษณะของอักษร


นำ ได้แก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก
3. คำที่ไม่ออกเสียงสระ อิ เช่น ชาติ (ชาด) , ญาติ (ยาด) ,

2.
ประวัติ (ประ-หวัด) อุ เช่น เกตุ (เกด) , เมรุ (เมน)
คำที่ไม่ออกเสียงสระ

1. คำที่ไม่ออกเสียงพยัญชนะ กลุ่มพยัญชนะ หรือพยัญชนะ


กับสระ ที่มีเครื่องหมายทัณฑฆาต กำกับ เช่น ชอล์ก ,
ปาล์ม , ฟิ ล์ม , เสิร์ฟ
ใบงานที่ 1
เรื่อง การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

คำชี้แจง จำทำเครื่องหมาย √ หน้าข้อความที่เป็ นหลักเกณฑ์การอ่าน


ออกเสียงบทร้อยแก้ว และทำเครื่องหมาย X หน้าข้อความที่ไม่ใช่หลัก
เกณฑ์การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ( 10 คะแนน )

………………..1. อ่านออกเสียงถูกต้องคล่องแคล่วตามอักขรวิธี

………………..2. เว้นวรรคตอนถูกต้อง ไม่อ่านคาบวรรค

………………..3. เอียงคอหรือส่ายหน้าตามบรรทัดที่อ่าน

……………….4. อ่านเสียงดังชัด น้ำเสียงเป็ นธรรมชาติ

……………….5. จับหนังสือให้ถูกวิธี

……………….6. เอานิ้ว ชี้ตามตัวอักษรในหนังสือเพื่อไม่ให้อ่านผิดวรรค


……………….7. แสดงท่าทางประกอบการอ่าน

ใบงานที่ 2
เรื่อง อ่านเป็ น เว้นวรรคตอน

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านบทร้อยแก้วในใจแล้วทำเครื่องหมาย
แบ่งวรรคตอนในการอ่านให้ถูกต้อง

สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็ นนักอ่าน
ในปั จจุบันกล่าวกันว่าเรากำลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์หรือ
เรียกอีกอย่างว่าโลกไร้พรมแดนแต่จะเรียกอย่างไรก็ตามเถิด
การอ่านก็เป็ นกระบวนการสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนใน
ทศวรรษนี้เพราะโลกของการศึกษามิได้จำกัดอยู่ภายใน
ห้องเรียนที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมเเคบ ๆ เท่านั้นเเต่ข้อมูล
ข้าวสารสารสนเทศต่างๆได้ย่อโลกให้เล็กลงเท่าที่เราอยากรู้ได้
รวดเร็วในชั่วลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คนโบราณกล่าวไว้จะมีสื่อ
ให้อ่านอย่างหลากหลายให้เลือกทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ที่เราคุ้นเคยไป
จนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" เพราะการต่อสู้
ใบงานที่ 3
เรื่อง อ่านออกเสียงเรียบเรียงภาษา

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วต่อไปนี้ให้ถูก
ต้องตามหลักการอ่านออกเสียงโดยไม่ต้องทำเครื่องหมายแบ่ง
วรรคตอน ( 10 คะแนน )

สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็ นนักอ่าน
ในปั จจุบันกล่าวกันว่าเรากำลังอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์หรือ
เรียกอีกอย่างว่าโลกไร้พรมแดนแต่จะเรียกอย่างไรก็ตามเถิด
การอ่านก็เป็ นกระบวนการสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนใน
ทศวรรษนี้เพราะโลกของการศึกษามิได้จำกัดอยู่ภายใน
ห้องเรียนที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมเเคบ ๆ เท่านั้นเเต่ข้อมูล
ข้าวสารสารสนเทศต่างๆได้ย่อโลกให้เล็กลงเท่าที่เราอยากรู้ได้
รวดเร็วในชั่วลัดนิ้วมือเดียวอย่างที่คนโบราณกล่าวไว้จะมีสื่อ
ให้อ่านอย่างหลากหลายให้เลือกทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ที่เราคุ้นเคยไป
จนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เรียกว่า "อินเทอร์เน็ต" เพราะการต่อสู้
รุกรานกันของมนุษย์ยุคใหม่จะใช้ข้อมูลสติปั ญญาและคุณภาพ
ของคนในชาติมากกว่าการใช้กำลังอาวุธเข้าประหัตประหาร
กันหากคนในชาติด้อยคุณภาพขาดการเรียนรู้จะถูกครอบงำ
ทางปั ญญาได้ง่าย ๆ จากสื่อต่าง ๆ จากชาติที่พัฒนาเเล้วหาก
คนไม่อ่านหนังสือก็ยากที่จะพัฒนาสติปั ญญาและความรู้ได้
เกณฑ์การประเมินการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมการอ่าน


ของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
อ่านถูกต้อง
ลำดั ชื่อ – สกุล การแบ่งวรรค น้ำเสียง ออกเสียง ตาม รว
บ ตอน ชัดเจน อักขรวิธี/คำ ม
ควบกล้ำ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๒










๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
21

๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๐
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวเจนจิรา จิร
กำแหงกุล )

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของ
นักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน


อันพึงประสงค์ ๔ ๒ ๑
22


ด้าน
๑.มีวินัย รับผิด ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ
ชอบ ของครอบครัว และ
โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรม
ต่าง ๆ
ในชีวิตประจำวัน
๒. ใฝ่ เรียนรู้ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็ นระบบ
สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
๓. มุ่งมั่นใน มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับ
การ มอบหมาย
ทำงาน มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งาน
สำเร็จ

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
พฤติกรรมที่ไม่ปฏิบัติ ให้ 0 คะแนน

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวเจนจิรา จิร
กำแหงกุล )
23

You might also like