แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การอ่านจับใจความ

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 33

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒
ปี การศึกษา 256 ๕
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 2110 ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อ่านคิดพินิจสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------
---------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้
ตัดสินใจแก้ปั ญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
1.2 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 2 จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน
2. สาระสำคัญ
การอ่านจับใจความสำคัญเป็ นการอ่านระดับพื้นฐาน ซึ่งมีความสำคัญ
อย่างยิ่งในการศึกษาหาความรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ
ข้อความหรือเรื่องราวที่อ่าน สามารถวิเคราะห์คุณค่าจากงานเขียนเพื่อนำไป
ปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ การอ่านจับใจความสำคัญจะช่วยขยายความรู้
และความคิดของผู้อ่านให้กว้างขึ้น ตลอดจนสามารถพัฒนาการอ่านให้มี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
2

3. สาระการเรียนรู้ (เนื้อหาที่เรียน)
- ความหมายของการอ่านจับใจความสำคัญ
- หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
- การพิจารณาตำแหน่งของใจความสำคัญ
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ความรู้(K)
- ความหมายของการอ่านจับใจความสำคัญ
- หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
- การพิจารณาตำแหน่งของใจความสำคัญ
4.2 ทักษะ(P)
1) สามารถอ่านจับใจความสำคัญเรื่องที่อ่านได้
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัยในการทำงานส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
2) มีความใฝ่ เรียนเรียนรู้ในการเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ
ตนเอง
4.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน(C)
ความสามารถในการสื่อสารโดยการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด
ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ
สังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ
การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
3

ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่
มีต่อตนเองและสังคม
ความสามารถในการคิด โดยผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิด
สังเคราะห์ คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดอย่างมี
วิจารณญาณ และคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
ความสามารถในการแก้ปั ญหา โดย เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้
มาใช้ในการป้ องกัน และแก้ไขปั ญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐาน
ของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจที่มี
ประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่ง
แวดล้อม

5. ชิ้นงาน / ภาระงาน
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน
2. ใบงานที่ 2 เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน
๓. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน
๔. แบบทดสอบ

6. การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)


เนื้อหาจำเป็ น เนื้อหาควรรู้ เนื้อหารู้ก็ได้
หลักการอ่านจับใจความ ความหมายการอ่าน
สำคัญ จับใจความ
4

7. ทักษะการคิด (Literacy Thinking Skills)


Thinking to Writing Thinking to Thinking to Oral
Reading
ระบุใจความสำคัญจาก การอ่านจับใจความ อ่านเรื่องแล้ว
เรื่องที่อ่าน สำคัญ สามารถจับใจความ
สำคัญจากนิทานหรือ
วรรณคดีที่ได้

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ( วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการ


ปฏิบัติ )
คาบเรียนที่ 1 (วิธีการสอนแบบบรรยาย)
ขั้นที่ 1 กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
5

1.นักเรียนดูข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์บ้านเมืองในปั จจุบัน
จากนั้นครูสุ่มนักเรียนจำนวน 2 คนให้นักเรียนสรุปเรื่องราวที่ได้ดูจาก
ข่าวให้ครูและเพื่อน ๆ ฟั ง

ขั้นที่ 2 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
1. นักเรียนตอบคำถามว่าใครทราบบ้างว่าใจความสำคัญ
คืออะไร เมื่อนักเรียนตอบ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าใจความสำคัญคืออะไร
2. นักเรียนศึกษา เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญจากใบ
ความรู้ หรือ สื่อ power point แล้วอธิบายเรื่องการอ่านจับใจความ
สำคัญให้นักเรียนฟั ง ระหว่างที่ครูอธิบายหัวข้อ เรื่องย่อหน้าของ
ประโยคใจความสำคัญ ครูให้นักเรียนทั้งห้องอ่านตัวอย่างของประโยค
ใจความสำคัญพร้อมกัน แล้วอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าทำไมประโยค
ดังกล่าวจึงถือเป็ นใจความสำคัญของเรื่องนั้น
3. นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านจับใจความ
สำคัญจากนิทาน โดยกำหนดให้อ่านจับใจความสำคัญจากนิทานโดยใช้
หลักและวิธีการที่ได้เรียนมาข้างต้น ซึ่งครูจะเป็ นผู้ชี้แนะแนวทางตาม
ความเหมาะสม
4. นักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านจับใจ
ความสำคัญจากนิทาน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
1. ครูสุ่มให้นักเรียนสรุปเกี่ยวกับการอ่านจับใจความ
สำคัญ เช่น ลักษณะของ
6

ใจความสำคัญการปรากฏของใจความสำคัญอาจจะอยู่ตอนต้น ตอน
กลาง หรือตอนท้ายของประโยคนั้น ๆ
2. ครูแจกใบงานที่ 2 เรื่อง การอ่านจับใจความจากนิทาน
เพื่อเสริมความเข้าใจ ให้
นักเรียนเพื่อวัดความรู้ ความเข้าใจ ให้นักเรียนทำให้เสร็จภายในคาบ
เรียน

คาบเรียนที่ 2
ขั้นที่ ๑ กิจกรรมนำเข้าสู่บทเรียน
1. นักเรียนดูสารคดีให้ความรู้เกี่ยวกับวิวัฒนาการของภาษาไทย
2. ครูสุ่มนักเรียน ๑ คนและให้นักเรียนสรุปความรู้ที่ได้จากการดู
สารคดีวิวัฒนาการของภาษาไทย
3. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสารคดีที่
นักเรียนได้รับชมเพื่อเป็ นการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างกัน
ขั้นที่ ๒ ขั้นสอน
๔. นักเรียนทำใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน
เพื่อเสริมความเข้าใจ
๕. นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ และเฉลยคำตอบของใบงานที่ ๓ เพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับคำตอบที่ได้และเพิ่มความเข้าใจมาก
ขึ้นในการเรียนการสอนร่วมกับครูผู้สอน
ขั้นที่ ๓ ขั้นสรุป
๖. นักเรียนทำแบบทดสอบ เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ เพื่อเก็บ
คะแนน ๑๐ คะแนน
7

9. การวัดและประเมินผล
ประเด็น มาตรฐาน
รายการที่ วิธีการ
การเรียน เครื่องมือ เกณฑ์การวัด
ประเมิน วัด
รู้/ตัวชี้วัด
K ความรู้ หลักการ ใบงาน ตรวจใบ ใบงาน ระดับคุณภาพ
อ่านจับใจ งาน 2 ผ่านเกณฑ์
ความ
P ทักษะ อ่านจับใจ แบบทดสอบ สอบ แบบ 9-10 ระดับ ดี
ความ ประเมิน มาก
การสอบ 7- 8 ระดับ ดี
5-6 ระดับ
พอใช้
0-4 ระดับ
ปรับปรุง
A คุณ มีวินัย รับ พฤติกรรม สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ
ลักษณะฯ ผิดชอบ ของนักเรียน สังเกต 2 ผ่านเกณฑ์
ใฝ่ เรียนรู้ พฤติกรรม
C ความ พฤติกรรม สังเกต แบบ ระดับคุณภาพ
สมรรถนะ สามารถ ของนักเรียน สังเกต 2 ผ่านเกณฑ์
ของ ในการ พฤติกรรม
นักเรียน สื่อสาร

10. สื่อและแหล่งเรียนรู้
8

สื่อการเรียนรู้
1. สื่อการสอน Power point เรื่อง หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
2. ใบงานที่ 1 เรื่อง การอ่านจับความสำคัญ
3. ใบงานที่ 2 เรื่อง การอ่านจับความสำคัญ
4. ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ
5. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ
แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เน็ต
3. ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
4. เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะฝ่ ายวิชาการ
ได้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ..๓...ของ นางสาวเจนจิรา จิรกำแหง
กุล มีความคิดเห็นดังนี้
1. กระบวนการเรียนรู้
9

□ มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ เหมาะสมกับความสนใจและ
ความถนัดของผู้เรียน
□ ไม่สอดคล้องและยังไม่เน้นนักเรียนเป็ นสำคัญ ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
□ คำนึงถึงขั้นตอนของการเรียนรู้โดยจัดให้นักเรียนได้ฝึ กทักษะ
เรียนรู้จากประสบการณ์จริงส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึ กคิดอย่างหลากหลาย
สรุปองค์ความรู้ด้วยตนเอง การสื่อสาร การแก้ปั ญหาและมีการฝึ กให้
นักเรียนมีวินัย ตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
□ ลำดับขั้นตอนการเรียนรู้ไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุง
3. การวัดผลประเมินผล
□ ระบุวิธีการวัดผลและเครื่องมือวัดสอดคล้องกับกิจกรรมการเรียน
รู้ ใช้วิธีการที่หลากหลาย สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
□ ไม่ระบุวิธีวัดและเครื่องมือวัด ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
เรียนรู้
4. ความเหมาะสมในการนำเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการ
จัดการเรียนรู้
□ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนรู้ได้จริงเนื่องจากมีองค์ประกอบครบ
ถ้วนสมบูรณ์
□ ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
5. ข้อเสนอแนะ
อื่นๆ...............................................................................................................
10

...............................................................................................................
................................

ลงชื่อ....................................................
( นางรวิวรรณ ยอดสร้อย
)
หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
........................................................................................................................
........................................................................................................................
.........................................................................................................

ลงชื่อ...................................
...............
(นายอาคม

บันทึกผลหลังการสอนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑
ปี การศึกษา 256 ๕
11

รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท 2110 ๑


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง การอ่านจับความสำคัญ
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
------------------------------------------------------------------------------------------
----------------------------------------
1. ผลการเรียนรู้
ผู้เรียนได้รับความรู้(K) ใน
เรื่อง……………………………………………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ(P) ใน
เรื่อง…………………………………………………………………..………….
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม(A) ใน
เรื่อง……………………………………….…………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….….…………
12

………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ(C) ใน
เรื่อง…………………………………………………………………..……………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………….…….
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….
2. สรุปผลการเรียนรู้
นักเรียนผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดีมาก จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ดี จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ พอใช้ จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
ระดับ ปรับปรุง จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
นักเรียนไม่ผ่านตัวชี้วัด จำนวน............คน คิดเป็ นร้อย
ละ.......................................
สาเหตุที่ไม่
ผ่าน……………………………………………………………………………..
13

3.ปั ญหาอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………
…………………......……………...
…………………………………………………………………………………………………………
……………..……………………………….
4. แนวทางแก้ปั ญหา/ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….…...…………
………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………….

ลงชื่อ.......................................ผู้สอน
( นางสาวเจนจิรา จิรกำแหงกุล )

ใบความรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ


…………………………………………………………………………
………………………
การอ่านจับใจความสำคัญ คือ การอ่านที่ผู้อ่านต้องเข้าใจเรื่อง
ราวที่อ่านโดยสามารถ
สรุปใจความสำคัญของเรื่องที่อ่านได้ว่าเป็ นเรื่องอะไร ของใคร ที่ไหน
เมื่อไร ทำไม และอย่างไร

การอ่านจับใจความสำคัญลักษณะนี้มีหลักในการอ่านดังนี้
14

1. อ่านอย่างคร่าวๆ พอเข้าใจก่อน
2. อ่านอย่างละเอียด
3. อ่านแล้วตั้งคำถามว่าเรื่องที่อ่านมีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร
อย่างไร ทำไม หรือเรื่องอะไร เป็ นอย่างไร การตั้งคำถามไม่จำเป็ น
ต้องตั้งเหมือนกันทุกเรื่องที่อ่าน อาจจะต้องเปลี่ยนไปตามเงื่อนไข
ของงานเขียน เช่น บางเรื่องอาจตั้งว่า เรื่องอะไร ใครเป็ นผู้เขียน
4. รวบรวมคำตอบในข้อ ๓ มาเรียบเรียงใหม่ตามลำดับข้อความ คำ
ตอบที่ได้ก็จะเป็ นส่วน
ของใจความสำคัญ

ตัวอย่าง
“นักกีฏวิทยาจากพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติที่เมือง
นิวยอร์ก กล่าวว่า แมลงมีกล้ามเนื้อที่ทรงพลังสามารถยกน้ำ
หนักได้ถึง 20 เท่าของน้ำหนักตัว ในขณะที่นักยกน้ำหนัก

1. ตั้งคำถาม
1.1 ใคร นักกีฏวิทยา
1.2 ทำอะไร กล่าว
1.3 อย่างไร แมลงมีกล้ามเนื้อที่ทรงพลังสามารถยกน้ำหนักได้ถึง
20 เท่าของน้ำหนักตัว
2. นำคำตอบมาเรียบเรียงใหม่ ก็จะได้ใจความสำคัญ คือ
นักกีฏวิทยากล่าวว่า แมลงมีกล้ามเนื้อที่ทรงพลังสามารถยกน้ำ
หนักได้ถึง 20 เท่า
15

ของน้ำหนักตัว

ใบงานที่ 1
เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ

คำชี้แจง จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม
1. “ม้าตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในคอกเล็ก ๆ อย่างสบาย อยู่มาวันหนึ่งเกิดฝน
ตกหนัก ม้าตัวนั้นแลเห็นวัวตัวหนึ่งยืนตากฝนไม่มีที่บังฝนบังลม ตัวสั่น
ด้วยความหนาว ม้าผู้มีน้ำใจก็เขยิบตัวให้ที่พักอาศัยหลบฝนแก่วัวตัวนั้น
ให้เข้ามาอยู่ในคอกเล็ก ๆ นั้นด้วย แต่วัวใจดำมีความเห็นแก่ตัวมากจึง
ค่อย ๆ เบียดตัวเข้ามาในคอกที่ละ
น้อย ๆ จนในที่สุดก้ผลักดันเจ้าของคอก คือ ม้า ผู้มีน้ำใจให้พลัดหลุด
ออกมาจากคอกของตนเอง”
ตั้งคำถาม

ใคร………………………………………………………………………………………………………
……………………………………..
ทำ
อะไร……………………………………………………………………………………………………
………………………………….

ที่ไหน……………………………………………………………………………………………………
…………………………………….
ผลเป็ น
อย่างไร…………………………………………………………………………………………………
16

ใบงานที่ 2
เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากนิทาน

คำชี้แจง จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม
เหล่าอีกาไม่พอใจที่ขนของมันมีสีดำ แต่หลงใหลในขนสีขาวของหงส์ กา
ตัวหนึ่งพูดว่า “ข้าว่าเป็ นเพราะหงส์ชอบลงอาบน้ำบ่อย ๆ จึงทำให้ขนเป็ นสี
ขาว” อีกาอีกตัวจึงตอบว่า “เออ คิด ๆ ดู อาจจะจริงอย่างที่นายว่าก็ได้ ถ้า
อย่างนั้นพวกเราควรจะว่ายน้ำกันบ่อย ๆ และพักอยู่ใกล้สระน้ำสะเลย เราจะ
ได้มีขนสีขาวเหมือนหงส์ไง โอ้โห แค่คิดก็เท่แล้ว” พวกอีกาทั้งหมดได้พากัน
อพยพกันไปอยู่ใกล้ ๆ กับริมลำธาร และพากันเล่นน้ำตลอดทั้งวันทั้งคืน
เพราะคิดว่ายิ่งแช่น้ำนานเท่าไหร่ยิ่งขาวได้เร็วเท่านั้น แต่ขนก็ยังคงเป็ นสีดำ
เหมือนเดิม เมื่ออีกาทั้งหลายเหน็ดเหนื่อยพากันขึ้นจากสระน้ำไม่ทันข้ามวันก็
รู้สึก ร้อน ๆ หนาว ๆ จากนั้นไม่นานเหล่าอีกาก็พากันเจ็บป่ วยล้มตายทีละตัว
สองตัว ในที่สุดก็เหลือแต่ซากความทรงจำสุดท้ายของอีกาที่อยากจะเป็ นหงส์

1. ใครทำอะไร
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
….
2. เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
….
17

ใบงานที่ 3
เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญจากสารคดี
คำชี้แจง นักเรียนอ่านสารคดี เรื่อง สายใยของธรรมชาติ คือ สายใยของชีวิต
แล้วตอบคำถามจากแบบฝึ กแบบฝึ กพัฒนาทักษะข้อ 1 – 10
นานมาแล้วที่ธรรมชาติสร้างความอุดมสมบูรณ์ขึ้นไว้ให้กับผืนแผ่นดินนี้ ดินทุก
ๆ ตารางนิ้วต่างประกอบขึ้นด้วยธาตุอาหารที่ได้จากความชุ่มชื้น ภายใต้ร่มเงาของ
ป่ าไม้ ใบไม้แต่ละใบที่ร่วงหล่นจากลำต้น คือ ระบบเล็กๆ ของธาตุอาหารที่เกิดขึ้น
บนผิวดินนั่นคือ เมื่อใดที่ใบไม้ร่วงหล่นถึงพื้นดินมันก็จะผุพังและเน่าเปื่ อยด้วย
ความชุ่มชื้นและจุลินทรีย์เล็กๆ ที่ช่วยกันย่อยสลายให้ใบไม้นั้นกลายเป็ นธาตุอาหาร
สะสมอยู่ในดิน และดินก็จะสะสมธาตุอาหารให้ตัวเองตลอดเวลาตราบเท่าที่มีป่ าไม้
มีน้ำเป็ นสายใยธรรมชาติเกื้อหนุนกันและกัน
ในระบบของธรรมชาตินั้น น้ำจะเกิดได้เพราะมีความชุ่มชื้นของป่ าไม้แห่งเทือก
ขุนเขา ให้กำเนิดต้นน้ำลำธาร และป่ าไม้สามารถสร้างระบบความสัมพันธ์อันซับ
ซ้อน ตั้งแต่ไม้เล็กจนถึงไม้ใหญ่ก็ด้วยมีผืนดินสร้างธาตุอาหารไว้ให้ ทั้งป่ าไม้ ดิน
และน้ำ จึงมีความผูกพันที่ต่างให้ซึ่งกัน และกัน และต่างไม่อาจอยู่ได้เพียงลำพังใน
ระบบของธรรมชาติ
เมื่อธรรมชาติต่างผูกพันกันไว้ด้วยสายใยแห่งชีวิตอันละเอียดอ่อน ความอุดม
สมบูรณ์จึงเกิดขึ้นบนพื้นพิภพ ทุกชีวิตที่เกิดขึ้นบนพื้นพิภพ จึงได้รับการโอบอุ้มไว้ให้
อยู่อย่างร่มเย็นเป็ นสุข ภายใต้ระบบความสัมพันธ์อันซับซ้อนของธรรมชาติมานาน
แสนนาน ยิ่งความสัมพันธ์มีมากเพียงใด ชีวิตยิ่งได้รับความร่มเย็นเป็ นสุขมากขึ้น
เพียงนั้น ซึ่งความสัมพันธ์อันละเอียดอ่อนของธรรมชาตินี้มิอาจทำให้แตกสลายได้
เพราะการแตกสลายนั้นคือ หนทางที่จะนำไปสู่ความเสื่อมสูญแห่งระบบความ
สัมพันธ์ของธรรมชาติที่ต้องใช้เวลานับล้านปี กว่าจะสร้างเป็ นระบบสายใยระหว่าง
กันขึ้นมาได้และเมื่อใดก็ตามที่ธรรมชาติแตกสลาย ชีวิตทุกชีวิตก็มิอาจอยู่ได้ เพราะ
ทุกสิ่งทุกอย่างที่รวมกันขึ้นเป็ นระบบของธรรมชาตินั้นคือ ปั จจัยเดียวที่ทำให้สิ่งมี
ชีวิตอาศัยอยู่บนโลกนี้ได้การแตกสลายของธรรมชาตินั้น จะเกิดขึ้นหากธรรมชาติถูก
18

ในขณะที่ระบบความสัมพันธ์ของป่ าไม้ ดิน และน้ำถูกรบกวนอย่างรุนแรงนั้น


ระบบแห่งจักรวาลก็ถูกรบกวนจากมนุษย์เช่นเดียวกัน ตัวการซึ่งรุกล้ำขึ้นไปทำลาย
ระบบความสัมพันธ์ในจักรวาลนั้น คือ ระบบความเจริญแห่งการพัฒนาทาง
อุตสาหกรรมที่เผ่าพันธุ์มนุษย์ได้คิดค้นคว้า เพื่อสร้างความยิ่งใหญ่ให้แก่โลกนั่นเอง
อากาศบริสุทธิ์ที่ถูกเจือปนด้วยก๊าซพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมและจากยวดยาน
พาหนะนี้นำไปสู่สภาวะการเกิดฝนกรดการทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ และการ
อบความร้อนในพิภพไม่ให้กระจายขึ้นไปสู่ห้วงบรรยากาศได้โลกเป็ นดาวดวงเดียวที่มี
สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่พลังงานต่าง ๆ ซึ่งกระจายอยู่ในสิ่งแวดล้อมไม่ว่าจะเป็ นพลังงาน
ความร้อนจากดวงอาทิตย์ การแปรเปลี่ยนรูปของน้ำในระบบนิเวศ และการพึ่งพา
อาศัยซึ่งกันและกันของทรัพยากรธรรมชาติ คือ ปั จจัยที่ทำให้มนุษย์มีชีวิตอยู่ใน
โลกนี้ได้ และจะเกื้อหนุนความร่มเย็นเป็ นสุขให้แก่ชีวิตได้ตราบนานเท่านานที่ระบบ
นี้ได้ถูกรบกวนทำลายหากวันนี้โลกกำลังถูกเปลี่ยนแปลง ธรรมชาติกำลังเสื่อมสลาย
ความร่มเย็นเป็ นสุขของชีวิตกำลังเสื่อมสูญ ชีวิตมิอาจอยู่ได้ท่ามกลางการแตกสลาย
ของพิภพในวันนี้จึงมีเพียงมนุษย์เท่านั้นที่จะสามารถฟื้ นฟูความสมดุลของธรรมชาติ
ให้แก่พื้นพิภพขอได้โปรดพิทักษ์ธรรมชาติไว้เพื่อชีวิตอันยั่งยืนนานบนพื้นพิภพนี้

คำชี้แจง ให้นักเรียนตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน
1.สิ่งที่ช่วยย่อยสลายให้ใบไม้กลายเป็ นธาตุอาหาร คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………
2.ธาตุอาหารในดินเกิดขึ้นได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………….
3.สิ่งที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่บนโลกได้คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………….
19

แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน
เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ

คำชี้แจง จงวิเคราะห์ ข้อความต่อไปนี้ว่ามีประโยคใจความสำคัญอยู่ตอน


ต้น ตอนกลาง ตอนท้ายหรือมีทั้งตอนต้นและตอนท้ายแล้วข้อที่ถูกต้อง
ที่สุดเพียงข้อเดียว
ข้าพเจ้าเห็นว่าคนไทยไม่เริ่มตื่นตัวเสียแต่บัดนี้ในระยะ 5-10 ปี ข้าง
หน้าแล้ว การค้าทุกระดับของคนไทยก็ต้องตกอยู่ในมือของญี่ปุ่น
แทบทั้งสิ้น ในขณะนี้น้อยคนที่จะทราบว่าเงินบาทที่ประชาชนไทย
ทุกคนนำมาได้ ได้จ่ายให้ญี่ปุ่นเป็ นจำนวน 5% ของรายได้
1. ข้อความข้างต้นกล่าวถึงเรื่องใด
ก. การค้าระหว่างไทยกับญี่ปุ่น
ข. การจ่ายเงินของคนไทย
ค. เศรษฐกิจของไทยในภายหน้า
ง. รายจ่ายกับรายได้ของคนไทย
เมื่อเราสอบตกเราย่อมเสียใจ บางคนเกิดความรู้สึกว่า ชีวิตนี้ไร้ค่า
การสอบตกเป็ นความอับอายที่จะติดตัวไปจนตลอดชีวิต มองหน้า
ใครไม่ได้อีกแล้ว ฉันเป็ นคนโง่คนไร้ความสามารถ ความรู้สึกเช่นนี้
ไม่มีประโยชน์อะไร นอกจากจะทำให้เราจมอยู่ในความทุกข์และ
ไม่มีวันแก้ตัวได้ตลอดชีวิต บางคนอาจคิดว่าเลิกรู้สึกเช่นนี้ไม่ได้แต่
นั่นเป็ นเพราะไม่พยายามเลิกความเป็ นคนจิตใจไม่เข้มแข็งของ
ตนเองต่างหากที่ทำลายตนเองหาใช่การสอบตกไม่ การสอบตกเป็ น
เพียงเหตุเล็กน้อยแต่เรากลับทำลายตนเองเสียราวกับเป็ นมหันต
ทุกข์
2. สาระสำคัญของบทความนี้คือข้อใด
ก. เราจะไม่สามารถทำอะไรให้ดีขึ้นได้ ถ้าเราจมอยู่ในความทุกข์
ข. เขาสอบตกไม่ใช่สาเหตุที่ทำลายชีวิตของเรา
20

ภพนี้มิใช่หล้า หงส์
ทองเดียวเลย
กาก็เจ้าของครอง ร่วม
ด้วย
5. สาระสำคัญของคำประพันธ์นี้ตรงกับข้อใด
ก. การแบ่งชั้นวรรณะ
ข. อิสรภาพของชนชั้นต่ำ
ค. ความภาคภูมิใจของชนชั้นสูง
ง. ความเท่าเทียมกันของคนในสังคม
สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติแล้ว ซัดดัมสร้างเซอร์ไพรส์สั่งถอนทหาร
ทั้งหมดออกจากคูเวตอย่างไม่มีเงื่อนไขแต่ยังปากแข็งอ้างว่าประสบ
ชัยชนะตามเป้ าหมาย พันธมิตรสุดดื้อด้านได้คืบจะเอาศอก ยันจะ
ทิ้งระเบิดต่อไปหากข้าศึกไม่ยอมทิ้งอาวุธทั้งหมด
6. ใจความสำคัญของขอความข้างต้นคือ
ก. สงครามอ่าวเปอร์เซียยุติแล้ว
ข. แต่ยังปากแข็งอ้างว่าประสบชัยชนะตามเป้ าหมาย
ค. ซัดดัมสร้างเซอร์ไพรส์สั่งถอนทหารทั้งหมดออกจากคูเวตอย่าง
ไม่มีเงื่อนไข
ง. พันธมิตรสุดดื้อด้านได้คืบจะเอาศอก ยันจะทิ้งระเบิดต่อไปหาก
ข้าศึกไม่ยอมทิ้งอาวุธทั้งหมด
7. ใจความสำคัญของข้อความนี้ปรากฏอยู่ส่วนใด
ก. อยู่ต้นย่อหน้า
ข. อยู่กลางย่อหน้า
ความไม่พอใจจนเป็ นคนเข็ญ พอแล้วเป็ น
21

แม้จะมีคำกล่าวว่าสิ่งที่แน่นอนคือความไม่แน่นอนก็ยังมีส่วนหนึ่งที่
แน่นอนนั่นคือ ความตาย
ความตายเป็ นสิ่งที่ทุกคนไม่ปรารถนาแต่ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้
ถึงกระนั้นเวลาของความตายก็สามารถยืดออกไปได้ เลือดของท่านทุก
คนไม่ว่าบุรุษ สตรี
ยาก ดี มี จน มีค่าเท่าเทียมกัน เหล่าทหารหาญ ยังสละเลือดทุกหยาด
เป็ นชาติพลีแล้วท่านล่ะความเจ็บปวดแค่ปลายเข็มแทง ท่านจะแลกกับ
ชีวิตเพื่อนมนุษย์ไม่ได้เชียวหรือ
9. ใจความสำคัญของข้อความนี้คือข้อใด
ก. เหล่าทหารหาญ ยังสละเลือดทุกหยาดเป็ นชาติพลีแล้วท่านล่ะความ
เจ็บปวดแค่ปลายเข็มแทง ท่านจะแลกกับชีวิตเพื่อนมนุษย์ไม่ได้เชียวหรือ
ข.แม้จะมีคำกล่าวว่าสิ่งที่แน่นอนคือความไม่แน่นอนก็ยังมีส่วนหนึ่งที่
แน่นอนนั่นคือ ความตาย
จะทำได้กี่
ค. ความตายเป็ นสิ่งที่ทุกคนไม่ปรารถนาแต่ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้
คะแนน
ถึงกระนั้นเวลาของความตายก็สามารถยืดออกไปได้ นะเรา
ง.เลือดของท่านทุกคนไม่ว่าบุรุษ สตรี ยาก ดี มี จน มีค่าเท่าเทียมกัน
ตื่นเต้นจังเลย

สาวเสิร์ฟกาแฟในสำนักงานเงินเดือน 1,800 บาท เดินเข้าซูเปอร์


มาร์เก็ต หยิบผ้าอนามัยยี่ห้อฟรีเดย์ สินค้าระดับเอ ราคาชิ้นละ 3
บาท ในขณะที่นักบริหารสาวเลือกซื้อผ้าอนามัยระดับ บี ราคาสม
เหตุสมผล สาวเสิร์ฟกาแฟรู้สึกว่าตนมีฐานะดี เมื่อมีโอกาสใช้สินค้า
เกณฑ์การประเมินใบงาน
ชั้นสูงแบบนี้ จะซื้อชุดสวยของใหญ่บูติคก็ไม่ไหวขอใช้ผ้าอนามัย
22

ผู้ประเมิน
 ครูผู้สอน นักเรียน เพื่อน  ผู้ปกครอง
สิ่งที่ต้อง วิธีการ ประเด็นที่ เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน วัดผล ประเมิน
- คิดวิเคราะห์และ ตอบคำถาม
ใบงาน ตรวจใบ เนื้อหา ได้ ถูกต้องชัดเจน สมบูรณ์ทุก
งาน ข้อ ทำงานเป็ น ระเบียบ
เรียบร้อย สวยงามงานเสร็จ
ทันเวลาที่กำหนด
= 5 คะแนน
- คิดวิเคราะห์ตอบ คำถามได้
ชัดเจน เป็ นส่วนใหญ่ ทำงาน
เป็ น ระเบียบ เรียบร้อยส่งงาน
ทันเวลาที่กำหนด
= 4 คะแนน
- คิดวิเคราะห์ตอบ คำถามไม่
ชัดเจน ต้องปรับปรุงบ้าง ข้อ
การทำงานเป็ น ระเบียบเรียน
ร้อย ส่งงานทันตามกำหนด
= 3 คะแนน
- คิดวิเคราะห์ ไม่ได้เป็ นส่วน
ใหญ่ ต้อง ปรับปรุงแก้ไข การ
ทำงานไม่ เรียบร้อยส่งงาน
23

ไม่ทันตามกำหนด
= 2 คะแนน
ตกแต่งชิ้นงานได้ สวยงามดี
มากให้
การ = 5 คะแนน
สร้างสรรค์ ตกแต่งชิ้นงานได้ สวยงาม
ผลงาน เรียบร้อยดีให้
= 4 คะแนน
ตกแต่งชิ้นงานได้ เรียบร้อย
พอใช้ให้
= 3 คะแนน
ตกแต่งชิ้นงานไม่ เรียบร้อยให้
= 2 คะแนน
การประเมินผล คะแนน 9 – 10 = ดีมาก คะแนน 6 – 8 = ดี
คะแนน 3 – 5 = พอใช้
คะแนน ต่ำกว่า 2 = ปรับปรุง

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน
24

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 4 4 2 10
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
25

20
21
22
23
24

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 4 4 2 10
25
26
27
28
29
30
31
26

32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน
27

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 8 8 4 20
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
28

67
68
69
70
71
72

แบบบันทึกการประเมินการอ่าน

การจับใจ
ประเด็น/คะแนน ความ การรู้ความ รวม
ความ
เล เข้าใจ หมาย คะแนน
สำคัญ
ขที่
ชื่อ - สกุล 4 4 2 10
73
74
75

ลงชื่อ.........................................................ผู้ประเมิน
29

( นางสาวเจนจิรา
จิรกำแหงกุล )
วัน
ที่..........เดือน.................................พ.ศ. .................
30

เกณฑ์การให้คะแนนการอ่าน

ระดับ
คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน น้ำ
คะแ
หนัก/
นน
ประเด็น ความ
รวม
การ 4 3 2 1 สำคัญ
ประเมิน
ความเข้าใจ ตอบ ตอบ ตอบ ตอบ
คำถาม คำถาม คำถาม คำถาม
หลังจาก หลังจาก หลังจาก หลังจาก
2 8
ที่อ่านได้ ที่อ่านได้ ที่อ่านได้ ที่อ่านได้
ทั้งหมด เกือบ เล็กน้อย น้อยมาก
ทั้งหมด
การจับใจ จับใจ จับใจ จับใจ จับใจ
ความ ความ ความ ความ ความ
สำคัญ สำคัญ สำคัญ สำคัญ สำคัญ
ของ ของ ของ ของ 2 8
เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา
ได้ ได้เกือบ ได้ ได้
ทั้งหมด ทั้งหมด เล็กน้อย น้อยมาก
31

การรู้ความ เมื่ออ่าน เมื่ออ่าน เมื่ออ่าน เมื่ออ่าน


หมาย พบ พบ พบ พบ
คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์
ใหม่ ใหม่ ใหม่ ใหม่
สามารถ สามารถ สามารถ สามารถ
เดา เดา เดา เดา
ความ ความ ความ ความ 1 4
หมาย หมาย หมาย หมาย
คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์ คำศัพท์
จาก จาก จาก จาก
บริบทได้ บริบทได้ บริบทได้ บริบทได้
ทั้งหมด เกือบ เล็กน้อย น้อยมาก
ทั้งหมด
รวม 5 20
32

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของ


นักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ ระดับ
อันพึง รายการประเมิน คะแนน
ประสงค์ด้าน ๔ ๓ ๒ ๑
๑.มีวินัย รับ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์
ผิดชอบ ระเบียบ ข้อบังคับในการเรียนการสอน
มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรมต่าง ๆ
ในห้องเรียน
๒. ใฝ่ เรียนรู้ แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้
ต่าง ๆ
มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็ นระบบ
สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล
๓. มุ่งมั่นใน มีความตั้งใจและพยายามในการ
การ ทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ทำงาน มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรค
เพื่อให้งานสำเร็จ
๔. รักความ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม
33

เป็ นไทย และภูมิปั ญญาไทย


เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตาม
วัฒนธรรมไทย

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
( นางสาวเจนจิรา จิร
กำแหงกุล )

You might also like