เตรียมสอบพระพุทธ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

เตรียมสอบกลางภาค 1/2567

รายวิชา พระพุทธศาสนา 1
ส21102

ครูผู้สอน ครูสมเจตน์ สังข์ศรีวิลัย


สังคายนา (สัง-คา-ยะ-นา)
หมายถึง การสวดพร้อมกันเพื่อทบทวนหลักธรรมคาสอน
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกทั้งหมายถึงการรวบรวมและ
จัดหมวดหมู่

ในระยะแรก พระไตรปิฎกถ่ายต่อกันมาโดยการท่องจาปากเปล่า
จนกระทั่งราว พ.ศ. 460 จึงมีการจารึกลงเป็นลายลักษณ์อักษร
การทาสังคายนา ครั้งที่ 1

สาเหตุ
พระภิกษุชื่อ สุภัททะ กล่าววาจาดูหมิ่นพระพุทธองค์
พระมหากัสสะปะ เกรงว่าจะทาให้พระธรรมวินัยเสื่อมสูญ
การทาสังคายนา ครั้งที่ 3

สาเหตุ
มีพวกนอกศาสนาปลอมเข้ามาบวช ทาให้พระพุทธศาสนา
มัวหมอง

พระเจ้าอโศกมหาราชเป็นผู้อุปถัมภ์ ซึ่งพระองค์ได้
ส่งสมณทูตให้เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ
( เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังจากการทา
สังคายนาครั้งที่ 3 )
พระดารัสหรือคาพูดของพระพุทธเจ้า การทาสังคายนา ครั้งที่ 5

สาเหตุ
พระสงฆ์ในลังกา เห็นว่าพระพุทธวจนะที่ถ่ายทอดอาจจะ
ขาดตกบกพร่อง
ผู้ที่สามารถจดจาได้มีน้อยลง และเหตุการณ์ทางการเมืองที่
ไม่สงบ
จึงมีการบันทึกเป็นพระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อักษร
การทาสังคายนา ครั้งที่ 8

สาเหตุ
พระไตรปิฎกยังขาดตกบกพร่อง ผิดเพี้ยนและไม่ครบ

สถานที่และผู้อุปถัมภ์
วัดโพธาราม จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย (ล้านนา) ครั้งแรกในไทย
พระเจ้าติโลกราช เป็นองค์อุปถัมภ์
ยุคเถรวาทสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช

รัฐโบราณแรกในดินแดนไทยที่รับอิทธิพลพระพุทธศาสนา คือ ทวารวดี ( นครปฐม )

ธรรมจักรกวางหมอบ
ศิลปะสมัยทวารวดี
ยุคมหายาน
เริ่มจากช่วงอาณาจักรศรีวิชัยรุ่งเรืองอานาจมาก
กษัตริย์ศรีวิชัยนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน
จึงทาให้ภาคใต้ของไทยนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน

พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรศิลปะศรีวิชัย
พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจาชาติไทย
พระพุทธศาสนาเข้ามาในประเทศไทยหลายร้อยปี ทาให้พระพุทธศาสนาเข้ามามีบทบาทในสังคมไทย

คนไทยส่วนใหญ่ยอมรับนับถือ เป็นสังคมชาวพุทธ
พระพุทธศาสนาเป็นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทย
วิถีชีวิตของคนไทยเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาอย่างมาก สิ่งต่าง ๆ ทั้งสิ่งก่อสร้าง ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรมมักได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา

มีวัดที่กว้างขว้างและครอบคลุมสังคมไทย ซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
(วัดแห่งแรกของศาสนาพุทธ คือ วัดเวฬุวันมหาวิหาร)

ลักษณะนิสัย ที่อ่อนโยนและมารยาทของคนไทยโดยส่วนใหญ่มากจากพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนากับการพัฒนาตน
เบญจศี
เบญจศีล ล

คือ หลักธรรมที่ว่าด้วยรักษากายวาจา ให้เรียบร้อย • หลักธรรมที่ควรศึกษาเพื่อนาไปใช้พัฒนาตน


เว้นจากความชั่ว 5 ประการ ได้แก่ ให้เป็นคนดี สิ่งแรก คือ การไม่คบคนพาล
1. ไม่ฆ่าหรือรังแกสัตว์โลก
2. ไม่ลักทรัพย์ • พุทธศาสนิกชนต้องรักษาศีล เพื่อเป็นรากฐาน
ของการอยู่ร่วมกัน
3. ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่ละเมิดสิ่งที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของ
4. ไม่โกหก • ประโยชน์ของศาสนา คือ ยึดเหนี่ยวจิตใจ
5. ไม่ดื่มสุรา มนุษย์
เรื่องราวของเจ้าชายสิทธัตถะ
ตรัสรู ้
ก่อนพุทธศักราช เมื่อพระชนมายุ พระชนมายุ 35 พรรษา เป็นระยะเวลา 45 พรรษา
80 ปี 16 พรรษา ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า

พระชนมายุ 8 พรรษา พระชนมายุ


ศึกษาศิลปวิทยา 18 สาขา 29 พรรษา เป็นระยะเวลา 6 พรรษา
ทรงแสดงธรรม เมื่อพระชนมายุ
“ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” 80 พรรษา
ลาดับเหตุการณ์ ตรัสรู ้

ประสูติ ตรัสรู้ ปฐมเทศนา ปรินิพพาน


ประสูติเมื่อวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ใต้ต้นสาละ ณ ลุมพินีวัน

มีนามว่า “สิทธัตถะ” (แปลว่าผู้สาเร็จในสิ่งที่ประสงค์)

พระองค์ได้พบเทวทูตทั้ง 4 ( การเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย


สมณะ แล้วนามาคิดจนเห็น ( ความจริงว่าชีวิตนั้นเป็นทุกข์
จึงตัดสินพระทัยออกผนวช) เมื่อพระชนมายุ 29 พรรษา
เนื่องจาก เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงความทุกข์ จึงอยาก
พ้นทุกข์
แสวงหาทางพ้นทุกข์ ด้วยการบาเพ็ญทุกกรกิริยา

กัดฟัน กลั้นลมหายใจ
กัดฟันเข้าหากัน กลั้นให้นานที่สุด จนหูอื้อ
ทาจนเกิดความร้อนในร่างกาย ปวดศีรษะ ร้อนไปทั่วร่างกาย

อดอาหาร
ค่อย ๆ ลดอาหารจนไม่ฉัน
อะไรเลย ให้ร่างกายผอมแห้ง
วิธีการบาเพ็ญตบะไม่สามารถ
ดับทุกข์ได้
ทางที่นาไปสู่การหลุดพ้น คือ ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา)
หลังจากทรงออกผนวชได้ 6 ปี พระชนมายุ 35 พรรษา
พระองค์กลายเป็น “พระสัมมาสัมพุทธะ” ในวันขึ้น
15 ค่า เดือน 6 (วันเพ็ญเดือนหก)

สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้เรียกว่า “อริยสัจ 4”

การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ
สิ่งที่พระองค์ตรัสรูเ้ รียกว่า “อริยสัจ 4” หรือ ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
โกณฑัญญะได้เกิด “ดวงตาเห็นธรรม” จึงบวชเป็นพระสงฆ์
รูปแรกในพระพุทธศาสนา
พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน ณ สาลวโนทยาน
เมืองกุสนิ ารา เมื่อวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ขณะมีพระชนมายุ
80 พรรษา

ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพานพระองค์ได้ตรัสพระโอวาทครั้ง
สุดท้าย (ปัจฉิมโอวาท) เรื่อง ความไม่ประมาท
มัคนายก (ผู้ชาย) คือ ผู้จัดการงานบุญกุศล
ภายในวัด จัดเป็นอุบาสก
• เป็นประธานในการทา • เป็นเอตทัคคะ ในด้านมีความ • บรรลุโสดาบัน และสร้างวัดเชตวัน • เป็นผู้ริเริ่มการขออนุญาต
“สังคายนา” ครั้งที่ 1 เชี่ยวชาญในพระวินัย • เป็นเอตทัคคะในฝ่ายผู้เป็นทายก พระพุทธเจ้าถวายผ้าอาบน้าฝน
• เป็นเอตทัคคะในด้าน ( ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ) (ด้านการถวายทาน) • เป็นเอตทัคคะในฝ่ายผู้เป็น
ผู้ทรงธุดงค์ • เป็นผู้วิสัชนาพระวินัย ในการ ทายิกา (ด้านการถวายทาน)
ทาการสังคายนา ครั้งที่ 1
• ความกตัญญูกตเวที

• การเคารพผู้อาวุโส

You might also like