มาตรฐานการระบายสารมลพิษ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

มาตรฐานการระบายสารมลพิษจากแหลงกําเนิดมลพิษทางอุตสาหกรรม

(1) คามาตรฐานและวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน
กระทรวงอุตสาหกรรมไดมีการกําหนดคามาตรฐาน และวิธีการตรวจสอบกลิ่นในอากาศจากโรงงาน โดยไดออกเปน
กฎกระทรวง พ.ศ. 2548 ลงวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2548 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 8 (5) แหง
พระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535 ไดมีการกําหนดเปนคาความเขมกลิ่น (Odour Concentration) ซึ่งหมายถึงคาแสดง
สภาพกลิ่น ซึ่งเปนอัตราสวนการเจือจางตัวอยางอากาศที่มกี ลิ่นดวยอากาศบริสุทธิ์จนเกือบจะไมสามารถรับกลิ่นได
กลิ่นที่แรงกวาจะมีคาความเขมกลิ่นมากกวา ทําการวิเคราะหกลิ่นดวยการดม (Sensory Test) โดยใชวิธีตามที่ American
Society for Testing and Materials (ASTM) หรือ Japanese Industrial Standard (JIS) กําหนดไว หรือวิธีการอื่นที่
ประกาศโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ในกฎกระทรวงฉบับนี้ไดมกี ารใหความหมายของกลิ่น ตัวอยางกลิ่น คาความเขมกลิ่นรวมทั้งคามาตรฐานและ
วิธีการตรวจวัด ไวดังนี้
ขอ 1 ในกฎกระทรวงนี้
“กลิ่น” หมายความวาสิ่งเจือปนในอากาศที่รูไดดวยจมูกของคนหรือเครื่องมือวิเคราะห
“ตัวอยางกลิ่น” หมายความวา ตัวอยางอากาศที่มกี ลิน่ บริเวณแหลงกําเนิดกลิ่น ซึ่งไดจากการเก็บตัวอยางอากาศ
ขณะที่ไดรับกลิ่นตามวิธีการทีก่ ําหนดในขอ 4 หรือขอ 7 แลวแตกรณี
“คาความเขมกลิ่น” Odour Concentration หมายความวา คาแสดงสภาพกลิ่นซึ่งเปนอัตราสวนการเจือจางตัวอยาง
อากาศที่มีกลิ่นดวยอากาศบริสุทธิ์จนเกือบจะไมสามารถรับกลิ่นได กลิ่นที่แรงกวาจะมีคาความเขมกลิ่นมากกวา เพราะ
ตองเจือจางดวยอากาศบริสุทธิ์ปริมาตรมากกวา โดยทําการวิเคราะหกลิ่นดวยการดม (Sensory Test) ตามวิธกี ารที่
กําหนดในขอ 7
“เขตอุตสาหกรรม” หมายความวา เขตพื้นที่ที่มกี ารกําหนดการใชประโยชนที่ดินใหเปนที่ดนิ ประเภท
อุตสาหกรรมตามกฎหมายวาดวยการผังเมือง หรือนิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหง
ประเทศไทย หรือเขตประกอบการอุตสาหกรรมตามกฎหมายวาดวยโรงงาน
“นอกเขตอุตสาหกรรม” หมายความวา พื้นที่อนื่ นอกเหนือจากพืน้ ที่เขตอุตสาหกรรม
ขอ 2 กฎกระทรวงนีใ้ หใชบังคับกับโรงงานตามที่ระบุไวในบัญชีทายกฎกระทรวงนี้
ขอ 3 หามโรงงานระบายอากาศที่มกี ลิ่นออกจากโรงงาน เวนแตไดทําการอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางจน
อากาศที่ระบายออกนัน้ มีคาความเขมกลิ่นไมเกินคาทีก่ ําหนดในขอ 4 แตทั้งนีต้ องไมใชวิธีทําใหเจือจาง
ขอ 4 ตัวอยางกลิ่นจากโรงงานตองมีคาความเขมกลิน่ ไมเกินคาที่กําหนดไว ดังแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1 มาตรฐานคาความเขมกลิน่ จากโรงงาน
ที่ตั้งโรงงาน คาความเขมกลิ่นทีบ่ ริเวณรั้ว คาความเขมกลิ่นทีป่ ลองระบาย
หรือขอบเขตภายในโรงงาน อากาศของโรงงาน
เขตอุตสาหกรรม 30 1,000
นอกเขตอุตสาหกรรม 15 300
การตรวจวัดคาความเขมกลิ่นที่บริเวณรั้วหรือขอบเขตภายในโรงงาน ใหเก็บตัวอยางกลิ่นที่จุดหางจากรั้ว
โรงงานหรือขอบเขตโรงงาน 1 เมตร ในตําแหนงใตทิศทางลมซึ่งพัดผานจุดที่เปนแหลงกําเนิดกลิ่น สําหรับการ
ตรวจวัดคาความเขมกลิ่นที่ปลองระบายอากาศของโรงงานใหเก็บตัวอยางกลิ่นตามวิธีที่กําหนดไวในขอ 7
ขอ 5 ใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมจัดใหมีการตรวจวัดคาความเขมกลิ่นจากโรงงานเมื่อไดรับเรื่องรองเรียนจากผู
ที่ไดรับผลกระทบจากกลิ่นในอากาศจากโรงงานนั้น หรือกรมโรงงานอุตสาหกรรมสงสัยวาเปนโรงงานที่ระบาย
อากาศที่มีกลิ่นเกินมาตรฐานทีก่ ําหนดในขอ 4 เวนแตในกรณีที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นวาการดําเนินการดังกลาว
สําหรับโรงงานใดอาจจะเปนอันตรายตอสุขภาพของผูทดสอบหรือในกรณีที่ไมมีผูทดสอบ
ขอ 6 ใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมมีอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการทดสอบกลิ่นขึน้ คณะหนึ่ง หรือหลายคณะเพือ่
ดําเนินการตรวจวัดคาความเขมกลิ่นในอากาศจากโรงงานตามวิธีการทีก่ ําหนดไวในกฎกระทรวงนี้
ใหผูประกอบกิจการโรงงานหรือผูที่เกี่ยวของอํานวยความสะดวกแกคณะกรรมการทดสอบกลิ่นในการปฏิบัติ
หนาที่ตามวรรคหนึ่ง
ขอ 7 การตรวจวัดคาความเขมกลิ่นตามขอ 4 ใหใชวธิ ีการตามที่ American Society for Testing and Materials
(ASTM) หรือ Japanese Industrial Standard (JIS) ไดกําหนดไวหรือวิธีการอื่นที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราช
กิจจานุเบกษา
กฎกระทรวงนี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดหนึ่งปนับแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยไดประกาศในราช
กิจจานุเบกษา เลมที่ 122 ตอน 44 ก วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ดังนั้นจะมีผลในการบังคับหลังวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.
2549 สําหรับโรงงานที่อยูในบัญชีแนบทายประกาศกฎกระทรวง

(2) มาตรฐานการระบายสารมลพิษอากาศจากโรงงานอุตสาหกรรม
(2.1) มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
โรงงานอุตสาหกรรมตองทําการควบคุมการระบายสารมลพิษออกสูบรรยากาศใหอยูภายใตมาตรฐานการ
ระบายสารพิษจากแหลงกําเนิด ซึ่งเปนระดับจํากัดของปริมาณหรือความเขมขนของสารมลพิษชนิดตางๆ ที่ยินยอมให
ระบายออกจากโรงงานประเภทใดๆที่เปนแหลงกําเนิดสารเจือปนในอากาศที่ไมไดกําหนดคาการระบายปริมาณ
สารเจือปนไวเปนการเฉพาะ ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ออกตามความในพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
เรื่องกําหนดคาปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2549 ซึ่งไดกําหนดคามาตรฐานสําหรับ
สารมลพิษจํานวน 15 ชนิด สําหรับคาปริมาณของกาซซัลเฟอรไดออกไซด ในประกาศฉบับนี้ไดสอดคลองกับประกาศ
คาปริมาณของกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่เจือปนในอากาศที่ระบายออกจากโรงงาน ซึ่งใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงในการ
เผาไหม พ.ศ. 2547 ดังรายละเอียดในตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2.1 มาตรฐานการระบายสารเจือปนจากโรงงานอุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2549
ชนิดของสารเจือปน คาปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
แหลงที่มาของสารเจือปน
(หนวยวัด) ไมมีการเผาไหมเชื้อเพลิง มีการเผาไหมเชื้อเพลิง
1.ฝุนละออง ก. แหลงกําเนิดความรอน
(Total Suspended ที่ใช
Particulate) -น้ํามันหรือน้ํามันเตา - 240
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร) -ถานหิน - 320
-เชือ้ เพลิงชีวมวล - 320
-เชือ้ เพลิงอืน่ ๆ - 320
ข. การถลุง หลอหลอม รีด
ดึง และ/หรือผลิต 300 240
อะลูมเิ นียม
ค. การผลิตทั่วไป 400 320
2.พลวง (Antimony) การผลิตทั่วไป 20 16
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
3.สารหนู (Arsenic) การผลิตทั่วไป 20 16
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
4.ทองแดง (Copper) การผลิตทั่วไป 30 24
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
5.ตะกั่ว (Lead) การผลิตทั่วไป 30 24
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
6.ปรอท (Mercury) การผลิตทั่วไป 3 2.4
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
7.คลอรีน (Chlorine) การผลิตทั่วไป 30 24
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
ตารางที่ 2.1 มาตรฐานการระบายสารเจือปนจากโรงงานอุตสาหกรรมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
พ.ศ. 2549 (ตอ)
คาปริมาณของสารเจือปนในอากาศที่
ชนิดของสารเจือปน
แหลงที่มาของสารเจือปน ไมมีการเผาไหม มีการเผาไหมเชื้อเพลิง
(หนวยวัด)
เชื้อเพลิง
8.ไฮโดรเจนคลอไรด การผลิตทั่วไป 200 160
(Hydrogen Chloride)
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
9.กรดกํามะถัน การผลิตทั่วไป 25 -
(Sulfuric acid)
(สวนในลานสวน)
10.ไฮโดรเจนซัลไฟด การผลิตทั่วไป 100 80
(Hydrogen Sulfide)
(สวนในลานสวน)
11.คารบอนมอนอกไซด การผลิตทั่วไป 870 690
(Carbon monoxide)
(สวนในลานสวน)
12.ซัลเฟอรไดออกไซด ก. แหลงกําเนิดความรอนที่ใช
(Sulfur dioxide) -น้ํามันหรือน้ํามันเตา - 950
(สวนในลานสวน) -ถานหิน - 700
-ชีวมวล - 60
-เชือ้ เพลิงอืน่ ๆ - 60
ข. การผลิตทั่วไป 500 -

13.ออกไซดของไนโตรเจน แหลงกําเนิดความรอนที่ใช
(Oxides of Nitrogen) -น้ํามันหรือน้ํามันเตา - 200
(สวนในลานสวน) -ถานหิน - 400
-เชือ้ เพลิงชีวมวล - 200
-เชือ้ เพลิงอืน่ ๆ - 200

14.ไซลีน (Xylene) การผลิตทั่วไป 200 -


(สวนในลานสวน)
15.ครีซอล (Cresol) การผลิตทั่วไป 5 -
(สวนในลานสวน)
หมายเหตุ :
1. “ระบบปด” หมายความวา ระบบการเผาไหมเชื้อเพลิงและหรือวัตถุดิบที่มีการออกแบบใหมีการควบคุม ปริมาตร
อากาศและสภาวะแวดลอมในการเผาไหม เชน หมอเผาปูนซีเมนต หมอน้ํา เปนตน
“ระบบเปด” หมายความวา ระบบการเผาไหมเชื้อเพลิงและหรือวัตถุดิบที่ไมมีการออกแบบเพื่อควบคุมปริมาตร
อากาศและสภาวะแวดลอมในการเผาไหม เชน เตาเผาปูนขาว เตาหลอมโลหะแบบคิวโปลา (Cupola) เปนตน
2. กรณีโรงงานใชเชื้อเพลิงรวมกันตั้งแต ๒ ประเภทขึ้นไป อากาศที่ระบายออกจากโรงงาน ตองมีคาปริมาณสารเจือปน
ในอากาศไมเกินคาที่กําหนด สําหรับเชื้อเพลิงประเภทที่มีสัดสวนการใชมากที่สุด
3. การตรวจวัดใหใชวิธีของ US.EPA หรือใชวิธีตามมาตรฐานอื่นที่เทียบเทา
4. การรายงานผลการตรวจวัดคาปริมาณของสารเจือปนในอากาศ ใหรายงานผลดังตอไปนี้
(1) ในกรณีที่ไมมกี ารเผาไหมเชื้อเพลิง ใหคํานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอท
อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ที่สภาวะแหง(Dry Basis) โดยมีปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสียสภาวะจริง
ในขณะตรวจวัด
(2) ในกรณีที่มีการเผาไหมเชื้อเพลิง
(ก) ระบบปดใหคํานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอทอุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียสที่สภาวะแหง (Dry Basis) โดยมีปริมาตรอากาศสวนเกินในการเผาไหม (Excess Air)
รอยละ 50 หรือมีปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย รอยละ7
(ข) ระบบเปดใหคํานวณผลที่ความดัน 1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอทอุณหภูมิ 25 องศา
เซลเซียสที่สภาวะแหง (Dry Basis) โดยมีปริมาตรออกซิเจนในอากาศเสีย ณ สภาวะจริงขณะ
ตรวจวัด

ที่มา :
1. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดคาปริมาณของสารเจือปนในอากาศทีร่ ะบายออกจากโรงงาน พ.ศ.
2549 ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 123 ตอนพิเศษ 125 ง เมื่อวันที่ 4
ธันวาคม พ.ศ. 2549
2. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องกําหนดคาปริมาณของกาซซัลเฟอรไดออกไซดที่เจือปนในอากาศที่ระบาย
ออกจากโรงงานซึ่งใชน้ํามันเตาเปนเชื้อเพลิงในการเผาไหม พ.ศ. 2547 ลงวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 ประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ 121 ตอนพิเศษ 59ง เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2547
(2.2) มาตรฐานตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดจัดทําประกาศเรื่องกําหนดใหโรงงานอุตสาหกรรมเปน
แหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศโดยกําหนดใหโรงงานอุตสาหกรรม
จํานวน 20 ประเภท เปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูกควบคุม และไดกําหนดคามาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศ
เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ในพ.ศ. 2549 ดังแสดงในตารางดานลางนี้

ตาราง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิง้ อากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมตามประกาศ


กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
คาปริมาณของอากาศเสียที่ปลอยทิ้งจาก
ชนิดของอากาศเสีย แหลงที่มาของอากาศเสีย กระบวนการผลิตที่ไมมีการ กระบวนการผลิตที่มีการเผา
เผาไหมเชื้อเพลิง ไหมเชื้อเพลิง
1.ฝุนละออง ( Total 1.1 หมอไอน้ําหรือ
Suspended Particulate ) แหลงกําเนิดความรอน
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร) ที่ใชเชื้อเพลิง ดังนี้
(1) น้ํามันเตา - ไมเกิน 240
(2) ถานหิน - ไมเกิน 320
(3) ชีวมวล - ไมเกิน 320
(4) เชื้อเพลิงอื่นๆ - ไมเกิน 320
1.2 การถลุง หลอหลอม รีด ไมเกิน 300 ไมเกิน 240
ดึง และ/หรือผลิต
อะลูมิเนียม
1.3 การผลิตทั่วไป ไมเกิน 400 ไมเกิน 320

2. กาซซัลเฟอรไดออกไซด 2.1 หมอไอน้ําหรือ


( Sulfur dioxide ) แหลงกําเนิดความรอนที่ใช
(สวนในลานสวน) เชื้อเพลิง ดังนี้
(1) น้ํามันเตา - ไมเกิน 950
(2) ถานหิน - ไมเกิน 700
(3) ชีวมวล - ไมเกิน 60
(4) เชื้อเพลิงอื่นๆ - ไมเกิน 60
2.2 กระบวนการผลิต ไมเกิน 500 -
ตาราง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมตามประกาศ
กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ)
คาปริมาณของอากาศเสียที่ปลอยทิ้งจาก
ชนิดของอากาศเสีย แหลงที่มาของอากาศเสีย กระบวนการผลิตที่ไมมีการ กระบวนการผลิตที่มีการเผา
เผาไหมเชื้อเพลิง ไหมเชื้อเพลิง
3.กาซออกไซดของ หมอไอน้ําหรือแหลงกําเนิด
ไนโตรเจนซึ่งคํานวณในรูป ความรอนที่ใชเชื้อเพลิง ดังนี้
ของกาซไนโตรเจนได (1) น้ํามันเตา - ไมเกิน 200
ออกไซด (2) ถานหิน - ไมเกิน 400
( Oxides of nitrogen as (3) ชีวมวล - ไมเกิน 200
Nitrogen dioxide ) (4) เชื้อเพลิงอื่นๆ - ไมเกิน 200
(สวนในลานสวน)
4. กาซคารบอนมอนอกไซด กระบวนการผลิต ไมเกิน 870 ไมเกิน 690
( Carbon monoxide )
(สวนในลานสวน)
5.กาซไฮโดรเจนซัลไฟด กระบวนการผลิต ไมเกิน 100 ไมเกิน 80
( Hydrogen Sulfide )
(สวนในลานสวน)
6.กาซไฮโดรเจนคลอไรด กระบวนการผลิต ไมเกิน 200 ไมเกิน 160
( Hydrogen Chloride )
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
7.กรดกํามะถัน กระบวนการผลิต ไมเกิน 25 -
( Sulfuric acid )
(สวนในลานสวน)
8.ไซลีน ( Xylene ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 200 -
(สวนในลานสวน)
9.ครีซอล ( Cresol ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 5 -
(สวนในลานสวน)
10.พลวง ( Antimony ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 20 ไมเกิน 16
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
ตาราง กําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมตามประกาศ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ตอ)
คาปริมาณของอากาศเสียที่ปลอยทิ้งจาก
ชนิดของอากาศเสีย แหลงที่มาของอากาศเสีย กระบวนการผลิตที่ไมมีการ กระบวนการผลิตที่มีการ
เผาไหมเชื้อเพลิง เผาไหมเชื้อเพลิง
11.สารหนู ( Arsenic ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 20 ไมเกิน 16
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
12.ทองแดง ( Copper ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 30 ไมเกิน 24
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
13. .ตะกั่ว ( Lead ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 30 ไมเกิน 24
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
14.คลอรีน ( Chlorine ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 30 ไมเกิน 24
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร)
15.ปรอท ( Mercury ) กระบวนการผลิต ไมเกิน 3 ไมเกิน 2.4
(มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร
หมายเหตุ :
1. การตรวจวัด ใหใชวิธีของ US.EPA หรือใชวิธีอื่น ที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นชอบ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
2. การรายงานผลการตรวจวัดอากาศเสีย ใหรายงานผล ดังตอไปนี้
(1) กระบวนการผลิตที่ไมมีการเผาไหมเชื้อเพลิง ใหคํานวณผลที่ความดัน1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอทอุณหภูมิ 25
องศา เซลเซียสที่สภาวะแหง (Dry Basis) โดยมีปริมาตรอากาศเสียที่ออกซิเจน (% O2) ณ สภาวะจริงในขณะตรวจวัด
(2) กระบวนการผลิตที่มีการเผาไหมเชื้อเพลิง ใหคํานวณผลที่ความดัน1 บรรยากาศ หรือที่ 760 มิลลิเมตรปรอทอุณหภูมิ 25
องศา เซลเซียส ที่สภาวะแหง (Dry Basis) โดยมีปริมาตรอากาศเสียที่ออกซิเจน (% O2) รอยละ 7
ที่มา :
1.ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียจาก โรงงาน
อุตสาหกรรม วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 123 ตอน 50 ง ลงวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549
หนา9-14
2. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่อง กําหนดใหโรงงานอุตสาหกรรมเปนแหลงกําเนิดมลพิษที่จะตองถูก
ควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสียออกสูบรรยากาศ วันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2549 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 123 ตอน 50 ง
ลงวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 หนา 18-19
มาตรฐานอัตราการปลอยสารมลพิษอากาศจากปลองของโรงงานภายในนิคม อุตสาหกรรม
สําหรับประกาศที่เกี่ยวของกับการควบคุมมลพิษในอากาศของการนิคมอุตสาหกรรม มีจํานวน 2
ฉบับ ดังนี้
1. ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541 เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศ
จากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2541
ในการกําหนดคามาตรฐานการปลอยสารมลพิษอากาศจากปลองของโรงงานภายในนิคมอุตสาหกรรมโดย
กําหนดคาเปนปริมาณตอพื้นที่มีหนวยเปนกิโลกรัม/ไร/วัน ในประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ที่ 46/2541 เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541 ดังแสดงในตารางที่ 1และกําหนดใหมีแบบรายงานผลการตรวจวัด ดังแสดงใน
ตารางที่ 2ไดมกี ารกําหนดเงื่อนไขในประกาศ สรุปไดดังนี้
(1) อัตราการปลอยมลสารจากอากาศจากปลองของโรงงาน หมายถึง ปริมาณมลสารทางอากาศตามชนิดที่
กําหนดไวที่ยอมใหปลอยออกจากปลองของโรงงานตอขนาดพื้นที่ดินทีไ่ ดรับอนุญาตจากการนิคม
อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
(2) กรณีทคี่ วามสูงของปลองโรงงาน อยูใ นชวงระหวางความสูงที่กําหนด ใหใชคาอัตราการปลอยมลสารทาง
อากาศที่ระยะความสูงต่ํากวาเปนเกณฑ
(3) กรณีทคี่ วามสูงของปลองโรงงานสูงกวาความสูงของปลองที่กําหนดไวใหใชคาอัตราการปลอยมลสารทาง
อากาศที่ความสูงของปลองสูงสุดที่กําหนดไวเปนเกณฑ
(4) ผูประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมที่ดําเนินกิจการทีก่ อใหเกิดมลสารทางอากาศจะตองดําเนินการตรวจวัด
คุณภาพอากาศจากปลองในขณะประกอบกิจการโรงงานตามเงื่อนไขที่ระบุไวในรายงานการวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอม สําหรับกรณีโรงงานที่ไมไดจัดทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมใหเปนดุลยพินิจ
ของผูวาการหรือผูที่ผูวาการมอบหมายเปนผูก ําหนดแนวทางการตรวจวัดคุณภาพอากาศ
(5) ผูประกอบการจะตองจัดสงผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศแกผูจัดการนิคมอุตสาหกรรม ทุก 6 เดือน
( พฤษภาคม และพฤศจิกายน )

2. ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 79/2549 เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศ


จากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม (แกไขเพิ่มเติม) วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2549

ในประกาศฉบับนี้ไดมกี ารปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขอความในประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่


46/2541 ดังนี้

(1) ใหยกเลิกบทนิยามคําวา “อัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองโรงงาน” ในขอ 1 ของประกาศการ


นิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541 และใหใชขอ ความตอไปนี้แทน
“อัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองโรงงาน.” หมายความวา ปริมาณมลสารทางอากาศที่มี
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการโรงงานตามชนิดที่กําหนดขึน้ ตามกฎหมาย ที่อาจ
อนุญาตใหระบายออกจากโรงงานได
(2) ใหยกเลิกขอความในขอ 2 ของประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541 และใหใช
ขอความตอไปนี้แทน
“ขอ 2 อัตราการระบายมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงานที่อนุญาตใหระบายออกจากปลองของ
โรงงานอุตสาหกรรมในแตละนิคมอุตสาหกรรม ใหเปนไปตามคามาตรฐานซึ่งกําหนดตามกฎหมายวาดวย
โรงงานหรือตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบสิ่งแวดลอมในรายงานการวิเคราะหผลกระทบ
สิ่งแวดลอมของแตละนิคมอุตสาหกรรมที่ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการผูชํานาญการพิจารณา
รายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม หรือสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้
ในการพิจารณาอนุญาต กนอ. จะคํานึงถึงการบริการจัดการ การกํากับดูแล และการปองกันผลกระทบที่จะ
มีตอประชาชนหรือสิ่งแวดลอมตามลักษณะของนิคมอุตสาหกรรม กลุมอุตสาหกรรม หรือกลุมกิจกรรมใน
แตละนิคมอุตสาหกรรมประกอบดวย”
ตารางที่ 1 ตารางแนบทาย ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541
เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
อัตราการปลอยมลสารทางอากาศ(กิโลกรัม/ไร/วัน) ที่ยอมใหปลอยออกจากปลองของโรงงาน
ภายในนิคมอุตสาหกรรม (ตารางแนบทาย 1)
นิคม SO2 NO2
อุตสาหกรรม ความสูงของปลอง (เมตร) ความสูงของปลอง (เมตร)
* 15 18 20 22 25 30 40 50 60 * 15 18 20 22 25 30 40 50 60
1.นิคม
แหลมฉบังฯ
- เขตอุตฯ
ทั่วไป 3.52 3.36
-เขตอุตฯ
5.44 5.12
สงออก

2.นิคมฯ 2.16 2.08 5.60


มาบตาพุด
3.นิคม 5.44 3.66 5.68 7.81 10.24 13.28
ลาดกระบัง1
4.นิคมฯ 9.86 17.18 27.74 39.46 51.34 1.33 3.20 5.13 7.07 8.67
แกงคอย1
5.นิคมฯ 2.84 7.11 11.73 16.71 21.33 6.88
แปลงยาว1
6.นิคมฯบาน 6.88
หวา1
7.นิคมฯบางปะ
อิน1
- ระยะแรก 1.38 1.38 2.76 0.69 1.04 2.07
- ระยะที่ 2 2.40 2.00
8.นิคมฯ 2.00 2.53 3.05 0.80 0.9 1.15
เวลโกรว1 5
9.นิคมฯ 3.36
ตะวันออก1
10.นิคมฯบอ 3.20
วิน1
11.นิคมฯ 11.06 11.06
หนองแค1
12.นิคมฯ 7.89 11.66 16.26 21.63 27.95 3.76 4.86 6.19 7.84 9.84
สมุทรสาคร2
ตารางที่ 1 (ตอ) ตารางแนบทาย ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541
เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
อัตราการปลอยมลสารทางอากาศ(กิโลกรัม/ไร/วัน) ที่ยอมใหปลอยออกจากปลองของโรงงาน
ภายในนิคมอุตสาหกรรม (ตารางแนบทาย 1)

นิคม SO2 NO2


อุตสาหกรรม
ความสูงของปลอง (เมตร) ความสูงของปลอง (เมตร)
* 15 18 20 22 25 30 40 50 60 * 15 18 20 22 25 30 40 50 60
13.นิคมฯ 2.70 3.64 4.63
สหรัตนนคร1
14.นิคมฯ
อีสเทอรน1
ซีบอรด
(ระยอง)
-สวนแรก 2.78 4.40 6.29 8.47 10.24 0.99 0.33 1.84 2.23 3.03
-สวนขยาย 1.21 1.88 2.57 3.03 4.09 0.36 0.91 1.13 1.42 1.78

15.นิคมฯ 6.91 12.67 24.77 47.23 56.45 1.03 1.73 2.25 2.71 3.23
ภาคใต1
16.นิคมฯ 1.50 2.62 3.78 5.49 7.40 0.96 1.44 2.13 3.14 4.32
บางปู1
17.นิคมฯ 5.66 13.12 31.23 49.01 70.03 2.22 3.92 6.24 9.18 13.66
พิจิตร
18.นิคมฯ
อมตะนคร2
-ระยะ 3 0.79 0.93 1.15 0.39 0.44 0.53
-ระยะ 4 1.32 1.47 1.73 0.36 0.46 0.61
-ระยะ 5 1.28 1.47 1.73 0.36 0.46 0.61
และ 6
19.นิคมฯปน 6.41 10.96 21.01 29.86 58.61 6.32 10.78 20.46 29.45 57.92
ทอง1
20.นิคมฯ 3.73 4.78 6.03 6.03 10.47 1.10 1.70 2.05 2.38 2.83
อมตะซิต1ี้
ตารางที่ 1 (ตอ) ตารางแนบทาย ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541
เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
อัตราการปลอยมลสารทางอากาศ(กิโลกรัม/ไร/วัน) ที่ยอมใหปลอยออกจากปลองของโรงงาน
ภายในนิคมอุตสาหกรรม (ตารางแนบทาย 1)
นิคม NOx TSP CO
อุตสาหกรรม ความสูงของปลอง ความสูงของปลอง (เมตร) ความสูงของปลอง (เมตร)
(เมตร)

นิคมอุตสาหกรรม * 20 25 30 * 15 18 20 22 25 30 40 50 60 * 15 18 20 22 25
1.นิคม
แหลมฉบังฯ
- เขตอุตฯทั่วไป 2.72 505.60
-เขตอุตฯสงออก 4.00 768.00
2.นิคมฯ 1.20 412.64
มาบตาพุด
3.นิคม 3.68 867.01
ลาดกระบัง1
4.นิคมฯ 7.17 12.48 0.21 28.67 37.31
แกงคอย1
5.นิคมฯ 2.56 7.04 1.20 16.00 20.80
แปลงยาว1
6.นิคมฯ 6.88 491.20
บานหวา1
7.นิคมฯบางปะอิน1
- ระยะแรก 1.38 1.38 2.76
- ระยะที่ 2 2.50
8.นิคมฯ 1.20 1.35 1.78
เวลโกรว1
9.นิคมฯตะวันออก1 2.56

10.นิคมฯ 2.40
บอวิน1
11.นิคมฯหนองแค1

12.นิคมฯ 7.63 11.28 5.70 20.93 26.94


สมุทรสาคร2
ตารางที่ 1 (ตอ) ตารางแนบทาย ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541
เรื่อง การกําหนดอัตราการปลอยมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม
อัตราการปลอยมลสารทางอากาศ(กิโลกรัม/ไร/วัน) ที่ยอมใหปลอยออกจากปลองของโรงงาน
ภายในนิคมอุตสาหกรรม (ตารางแนบทาย 1)
นิคม NOx TSP CO
อุตสาหกรรม ความสูงของปลอง (เมตร) ความสูงของปลอง (เมตร) ความสูงของปลอง (เมตร)
นิคม * 20 25 30 * 15 18 20 22 25 30 40 50 60 * 15 18 20 22 25
อุตสาหกรรม
13.นิคมฯ 0.41 0.55 0.71 2.06 2.78 3.51
สหรัตนนคร1
14.นิคมฯ
อีสเทอรน1
ซีบอรด(ระยอง)
-สวนแรก 3.18 4.70 6.93 9.33 11.27
-สวนขยาย 0.97 1.51 2.12 2.57 3.48
15.นิคมฯ 8.06 13.82 25.34 46.08 61.06
ภาคใต1
16.นิคมฯ 1.31 2.30 3.31 4.82 6.50
บางปู1
17.นิคมฯ 5.25 12.14 28.91 45.38 64.83
พิจิตร
18.นิคมฯ
อมตะนคร2
-ระยะ 3 0.41 0.49 0.63
-ระยะ 4 0.40 0.44 0.51
-ระยะ 5 0.40 0.41 0.44
และ 6
19.นิคมฯ 5.11 8.74 16.59 23.78 31.24
ปนทอง1

20.นิคมฯ 1.90 1.99 3.15 7.38 9.86


อมตะซิต1ี้

หมายเหตุ : * หมายถึง ที่ความสูงของปลองทุกระยะ


1. หมายถึง กรณีที่โรงงานใดมีความสูงของปลองต่ํากวา 20 เมตร กําหนดใหอัตราการปลอยมลสารทางอากาศออกจากปลองไดไมเกินรอยละ
50 ของอัตราการปลอยจากปลองที่ความสูง 20 เมตร
2. หมายถึง กรณีที่โรงงานใดมีความสูงของปลองต่ํากวา 15 เมตร กําหนดใหอัตราการปลอยมลสารทางอากาศออกจากปลองไดไมเกินรอยละ
50 ของอัตราการปลอยจากปลองที่ความสูง 15 เมตร
ที่มา : ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ฉบับที่ 46/2541 ประกาศวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2541
ตารางที่ 2 ตารางแนบทายประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ที่ 46/2541 เรื่องการกําหนดอัตราการปลอยมลสารทาง
อากาศจากปลองของโรงงานในนิคมอุตสาหกรรม (ตารางแนบทาย 2)

แบบรายงานผลการตรวจวัดมลสารทางอากาศจากปลองของโรงงาน
ชื่อโรงงาน.................................. ขนาดพื้นที่แปลงที่ดินที่ไดรับอนุญาต.............ไร นิคมอุตสากรรรม ............................
แปลงที่................................ เบอรโทรศัพท....................................

แหลงกําเนิด มลสารทางอากาศที่ปลอยออก ปลองระบายมลสาร เครื่องบําบัดมลสารอากาศ


มลสารทางอากาศ ทางอากาศ (3)

ชนิดของ จํานวน ชนิด ความ อัตราการ อุณห ปริมาณ ขนาด ความ จํา กําลัง ชนิด จํา ประ
แหลงกําเนิด (2) เขมขน ไหล ภูมิ /วัน เสน สูง นวน แรงมา (4) นว สิทธิ
(1) ของมล (m3/Sec) C (kg/d) ผา (m) ของ น ภาพ
สารทาง ศูนยกลาง เครื่องดูด ในการ
อากาศ (m) (ถามี) บําบัด
(mg/m3) (ปาก (%)
ปลอง)
1.หมอไอน้ํา 1.SO2 1.Cyclone
2. 2.NO2 2.Bag Filter
3. 3.TSP 3.Absorption
Tower
4. 4.CO 4.Electrostatic
precipitator
5. 5.HC 5.Wet
scrubber
6. 6. 6.
7. 7. 7.
8. 8. 8.
9. 9. 9.
10. 10. 10

ลงชื่อ .......................................................
ผูใ หขอมูล
ตําแหนง ผูจัดการโรงงาน
วัน.....เดือน..............ปที่รายงาน..........
หมายเหตุ :
(1) ไดแก เครื่องจักรหรืออุปกรณที่ใชในการผลิตแตละขั้นตอนที่กอ ใหเกิดมลสารทางอากาศ เชน หมอไอน้ํา หมอบด หมออบ เตาหลอม เตาอบ
(2) ชนิดของมลสารอากาศที่เกิดขึ้น เชน กาซ SO2, NO2, CO, Benzene, Stylene, Xylene, Toluene
(3) หมายถึงปลองที่ตอมาจากแหลงกําเนิดมลสารทางอากาศเพื่อนํามลสารทางอากาศออกนอกโรงงาน
(4) หมายถึงชนิดของเครื่องควบคุม เชน Cyclone, Bag Filter, Absorption Tower ฯลฯ
คําศัพทการจัดการดานสิง่ แวดลอม

คําศัพทหรือหัวขอ ยอมาจาก ความหมาย


BOD Biological Oxygen Demand ปริมาณออกซิเจน ทีจ่ ุลินทรียใชในการยอยสลาย
สารอินทรียในน้ํา
COD Chemical Oxygen Demand ปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใชในการทําปฏิกิริยา หรือ
ออกซิไดสกับสารอินทรียใหกลายเปน
คารบอนไดออกไซดและน้ํา
DO Dissolved Oxygen ปริมาณออกซิเจนละลาย
CAR Corrective Action Request ใบคําขอใหแกไข เปนเครื่องมือสําคัญในการบริหาร
ตามระบบคุณภาพ
Ph Potential of Hydrogen คาความเปนกรด-ดาง
TOC Total Organic Carbon ปริมาณคารบอนในน้ํา
TKN Total Kjeldahl Nitrogen ผลบวกระหวางสารอินทรีย สารไนโตรเจนและ
แอมโมเนีย ไนโตรเจนที่อยูในโปรตีนของพืชและสัตว
SS Solids สารแขวนลอย
Turbidity - ความขุน
FCB Fecal Coliform Bacterial ปริมาณแบคทีเรียในรูปพีคลอโคฟอรมทั้งหมด
TP Total phosphorus ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมด
TS Total solid ปริมาณของแข็งทั้งหมด
N Nitrogen เปนธาตุสําคัญสําหรับพืช ยิ่งถาในน้ํามี
ปริมาณไนโตรเจนสูง จําทําใหพืชน้ําเจริญเติบโตอยาง
รวดเร็ว
P Phosphorus ในน้ําจะอยูในรูปของสารประกอบพวกออรโธ
ฟอสเฟต
S Sulfur หรือ Sulphur มีอยูในธรรมชาติและเปนองคประกอบภายในของ
สิ่งมีชีวิต
โลหะหนัก - มีทั้งที่เปนพิษและไมเปนพิษ แตทั้งนี้ขึ้นอยูกบั ปริมาณ
ที่ไดรับถามากเกินไปจะเปนพิษ
แบคทีเรีย - จุลินทรียเซลลเดียว มีขนาดเล็ก ไมสามรถมองเห็นได
ดวยตาเปลา เปนผูยอยสลายในแหลงน้ํา
Self purification - การกําจัดน้ําเสียโดยวิธีธรรมชาติ
Dilution - การทําใหเจือจาง
Recycle - การทําใหกลับสูสภาพดี แลวนํากลับมาใชใหม
Detention - การกักเก็บของเสีย ไวระยะหนึ่งกอนปลอยออกจาก
แหลงผลิต
Chemical process - กระบวนการทางเคมี
Precipitation - การทําใหเกิดตะกอน
Biological Process - กระบวนการทางชีวภาพ
Physical process - กระบวนการทางกายภาพ
Physical chemical process - กระบวนการทางกายภาพ-เคมี
Preliminary treatment - การบําบัดขั้นเตรียมการ
คําศัพทการจัดการดานสิง่ แวดลอม

คําศัพทหรือหัวขอ ยอมาจาก ความหมาย


Primary treatment - การบําบัดขั้นตน
Secondary treatment - การบําบัดขั้นที่สอง
Tertiary Treatment - การบําบัดขั้นที่สาม
Collection - การรวบรวมน้ําเสีย
Treatment - การบําบัดน้ําเสีย
Reuse and reclamation - การนํากลับมาใชประโยชน
Aerobic pond - บอที่มีออกซิเจน
Activited Sludge AS - ระบบเอเอส
Oxidation Ditch OD - ระบบคลองวนเวียน
Rotating Biological - ระบบจานหมุนชีวภาพ
Contactors-RBC
Oxidation Pond - ระบบบอฝง
Aerated Lagoon - ระบบสระเติมอากาศ
CFC Chorofluorocarbon สารประกอบที่เกิดจาดคลอรีน(Cl) ฟลูออรีน
(F) และคารบอน เปนสารที่ไปทําลาย
บรรยากาศชั้นโอโซน ทําใหรังสีอัลตราไวลโอ
เลตเขามายังโลกเดิมที่ซึ่งจะทําใหโลกรอน
DAR Document Action Request ใบดําเนินการเรื่องเอกสาร ไมวา จะเปนการขอ
แกไข ยกเลิก ขอทําเอกสารใหม ขอ copy เปน
ตน
QMR Quality Management ตัวแทนของฝายบริหาร หนาที่หลักคือ ให
Responsibility คําปรึกษาและควบคุมดูแลระบบใหอยูใน
ขอกําหนด เชน ขอกําหนด ISO หรือ Qs
EMR/QMR/MR - ผูแทนของผูบริหาร(ระดับสูง)
Temperature Environmental Management อุณหภูมิของน้ํามีผลในดานการเรงปฏิกิริยาทาง
System เคมี ซึ่งจะสงผลตอการลดปริมาณออกซิเจนที่
ละลายน้ํา
EMS - ระบบการจัดการสิ่งแวดลอม

You might also like