Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 14

1

วิธีการหาพจน์ที่ n ของลำดับพหุนาม อธิบายและให้เหตุผล


ประกอบเพื่อหาข้อสรุป
ลำดับพหุนาม (Polynomial Sequence or Polynomial
Progression)
ข้อกำหนด
กำหนดให้
2 , 5 , 10 , 17 , … , an
พหุนาม P(n) =
ǰǰ ǰǰ

เมื่อ และ
k k −1 +¿ ¿
a k n + ak−7 n +…+ a1 n+a 0 k ∈I a k , a k−1 , … a 1 , a0 ∈ R

ลำดับ a n= P(n) = จะถูกเรียกว่า “ลำดับพหุนาม”


นอกจากวิธีเชิงเมตริซ์สามารถนำมาใช้หาพจน์ทั่วไปของลำดับ
ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปฟั งก์ชันพหุนามได้แล้ว ด้วยวิธีการ
เดียวกันนี้ยังสามารถใช้หาอนุกรมของลำดับนั้นได้ด้วยตัวอย่างเช่น
อนุกรม
ตัวอย่างลำดับพหุนาม จงหาพจน์ของลำดับ 2,5,10,17,..., an
วิธีทำ

จากตัวอย่างข้างต้น หากพิจารณาจะได้แผนภาพดังนี้
a1 , a2 , a3 , a4 , … , an

C ǰǰDǰ ǰǰE

Y Y Y
2

จะได้ c – b=x
c=b+ x

d – c=x

d=c+ x

¿ b+ x + x
¿ b+ 2 x

ปรับแผนภาพได้ ดังนี้
a1 , a2 , a3 , a4 , … , an n óÝî Ť
ǰ

b b+x b+2x b+..x b+(n-2)x n- 1 óÝî Ť


ǰ

x x x n- 2 óÝî Ť

จะได้ว่า a1 = a1
a2 = a1 + b
a3 = a1 + b + (b+x)
a4 = a1 + b + (b+x) + (b+2x)
. ข้อสังเกต
a1 , a2 , a3 , a4 , … , an
.
C Cǰǰ Y Cǰǰ Y Cǰǰ ļ Y b+(n-2)x
.
Y Y Y

óÝî ÿč
Ťéì šć÷đðŨ
î ǰn- 2 đîČ
Ă
ęÜÝćÖêĆ
ǰǰ üĒðøöŠ
ĕ ÙÜìĊ
ęđøööêĆÜĒêŠ
ĉę ĊĚ óÝî ŤĊ
ì ęǰ3

an = a1 + b(n-1) + (x+2x+3x+…)
an = a1 + b(n-1) + x(1+2+3+…(n-2))
n
จากสูตรอนุกรมเลขคณิต Sn= 2 ( a1+ an )
จะได้ a n=a1 +b (n−1)+ x [ (n−2)
2
(1+n−2) ]
3

(n−2)
a n=a1 +b (n−1)+ x
2
(n−1) [ ]
a n=a1 +b (n−1)+
2 [
(n−1)(n−2)
x ]
สังเกตพบว่า b คือ ผลต่างครั้งที่ 1 กำหนดให้แทนด้วย d1
และ x คือ ผลต่างครั้งที่ 2 กำหนดให้แทนด้วย d2
∴ a n=a1 +(n−1)d 1+ [ (n−1)(n−2)
2
d2 ]

สูตรที่ 1 an =
สรุปสูตรได้ว่า
a 1+(n−1)d 1 + [ (n−1)(n−2)
2 ]
d2

เมื่อ a1 แทน พจน์ที่ 1


n แทน จำนวนพจน์ที่ลำดับนั้นทั้งหมด
d1 แทน ผลต่างครั้งที่ 1
d2 แทน ผลต่างครั้งที่ 2

หากลำดับพหุนามเป็ นลำดับที่มีผลต่างสามชั้น ดังแผนภาพ


a1 , a2 , a3 , a4 , ... , an nóÝî Ť

b b+c b+2c +x b+3c +3x n– 1 óÝî Ť

c c +x c +2x c +3x nı ǰǰ óÝî Ť

x x x x n- 3 óÝî Ť

จะได้ว่า a1 = a1
a2 = a1 + b
4

a3 = a1 + b + (b+c)
a4 = a1 + b + (b+c) + (b+2c+x)
a5 = a1 + b + (b+c) + (b+2c+x) + (b+3c+3x)
.
.
.
an = a1 + b(n-1) + (c + 2c + x + 3c + 3x …)
an = a1 + b(n-1) + (c +2c+3c+…+(n-2)c) +
(x+3x+6x+ …)
an = a1 + b(n-1) + c(1+2+3+…+(n-2)) +
x(1+3+6 + …) ……………¿
พิจารณา 1+3+6 + … ซึ่งมี n-3 พจน์
จะได้ว่า a1 = 1
a2 = 3 (1+2)
a3 = 6 (1+2+3)
a4 = 10 (1+2+3+4)
.
.
.
am = 1+2+3+4+…+m
m ( m+1 )
= 2

หาผลบวกของ 1+3+6 + … am ได้ว่า

=
5

จากสูตร จะได้ว่า

ดังนั้น =

=
จาก ¿ จะได้ a n=a1 +b ( n−1 ) +c [
( n−2 )
2 ] [
( 1+ n−2 ) + x
(n−3)(n−2)(n−1)
6 ]
a n=a1 +b ( n−1 ) +c
[
( n−2 )
2 ] [
( n−1 ) + x
(n−1)(n−2)(n−3)
6 ]
a n=a1 +b (n−1)+ [ (n−1)(n−2)
2 ] [ c+
(n−1)(n−2)(n−3)
1× 2× 3 ] x

a n=a1 +b (n−1)+ [ (n−1)(n−2)


2 ] [ c+
(n−1)(n−2)(n−3)
6 ] x

สังเกตพบว่า b คือ ผลต่างครั้งที่ 1 กำหนดให้แทนด้วย d1 ,


c คือ ผลต่างครั้งที่ 2 กำหนดให้แทนด้วย d2 และ x คือ ผลต่าง
ครั้งที่ 3 กำหนดให้แทนด้วย d3
6

∴ a n=a1 + ( n−1 ) d 1+
[ 2 ] [
( n−1 ) ( n−2 )
d2+
(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
6
d3
]

สูตรที่ 2 an =

[
a 1+ ( n−1 ) d 1+
สรุปสูตรได้ว่า
( n−1 ) ( n−2 )
2 ] [
d2+
(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
6
d3
]
เมื่อ a1 แทน พจน์ที่ 1
n แทน จำนวนพจน์ที่ลำดับนั้นทั้งหมด
d1 แทน ผลต่างครั้งที่ 1
d2 แทน ผลต่างครั้งที่ 2
d3 แทน ผลต่างครั้งที่ 3

บทที่ 4
ผลการดำเนินการศึกษา
7

จากการศึกษาค้นคว้าและการดำเนินการ การทำโครงงาน
คณิตศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ถอดรหัสลำดับพหุนาม เพื่อหาพจน์ทั่วไปของลำดับพหุนาม
และอธิบายสูตรด้วยลำดับและอนุกรมเลขคณิต ได้ผลดังนี้

สูตรที่ 1 an = a 1+(n−1)d 1 + [ (n−1)(n−2)


2
d2 ]

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดลำดับ 1 , 3 , 6 , 10 , 15 , ... มาให้ จง


หาพจน์ทั่วไป (an) ของลำดับนี้
วิธีทำ 1 3 6 10 15

d 2 3 4 5

d 1 1 1

จากแผนผลต่างระหว่างลำดับทำให้ทราบว่า a1 = 1 , d1 =
2 , d2 = 1
จากสูตร an = a 1+(n−1)d 1 + [
(n−1)(n−2)
2
d2 ] ถึงแค่ d 2 เท่านั้น
(n−1)∙(n−2)
แสดงว่า an = a1 + ( n−1 ) d 1+ 2
d2

1 + ( n−1 ) 2+
( n−1 ) ∙ ( n−2 )
an = 2
(1)
8

an =
2+ 4 n−4+n −3 n+2
2
2

an =
n +n
2
2

ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับนี้ คือ


n +n
2

ตัวอย่างที่ 2 กำหนดลำดับ 1 , 5 , 10 , 16 , ... มาให้ จงหา


พจน์ทั่วไป (an) ของลำดับนี้
วิธีทำ
1 , 5 , 10 , 16 , … , an

E ǰǰ

จากแผนผลต่างระหว่างลำดับทำให้ทราบว่า a1 =
1 , d1 = 4 , d2 = 1
จากสูตร an =
(n−1)(n−2)
a 1+(n−1)d 1 +
2 [ d2 ] ถึงแค่ d 2 เท่านั้น
(n−1)∙(n−2)
แสดงว่า an = a1 + ( n−1 ) d 1 +
2
d2

an = 1 + ( n−1 ) 4+
( n−1 ) ∙ ( n−2 )
(1)
2
2

an =
2+ 8 n−8+n −3 n+ 2
2
2

an =
n +5 n−4
2
2

ดังนั้น พจน์ทั่วไปของลำดับนี้ คือ 2 + 2 −2


n 5n

สูตรที่ 2 an =
a 1+ ( n−1 ) d 1+ [ 2 ] [
( n−1 ) ( n−2 )
d2 +
(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
6
d3 ]
ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับ 5,19,42,76,123,...
9

5 19 42 76 123

d1 14 23 34 47

d2 9 11 13

d3 2 2

จากแผนผลต่างระหว่างลำดับทำให้ทราบว่า a1 = 5 , d1 = 14 , d2
ถึงแค่ d 3 เท่านั้น
= 9 และ d3 = 2
จากสูตร an = a 1+ ( n−1 ) d 1+
[
( n−1 ) ( n−2 )
2
d2+
] [
(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
6
d3
]
(n−1)∙(n−2) (n−1)∙(n−2)∙( n−3)
แสดงว่า an = a1 + ( n−1 ) d 1+ 2
d 2+
6
d3
( n−1 ) ∙ ( n−2 ) (n−1)∙(n−2)∙( n−3)
an = 5 + ( n−1 ) (14)+ 2
(9) +
6 (2)
5(6) ( n−1 ) (14 )(6) ( n−1 ) ∙ ( n−2 ) (9)(3)
an = 6 + 6
+
2(3) +
(n−1)∙(n−2)∙( n−3)(2)
6
30+84 ( n−1 ) +27 ( n−1 ) ∙ ( n−2 )+ 2(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
an = 6
2 3 2
30+84 n−84+ 27 n −81 n+54 +2 n −12 n +22 n−12
an = 6
3 2
2n + 15 n + 25 n−12
an = 6
3 2
2n 15 n 25 n 12
an = 6 + 6 + 6 − 6

a =
3 2
n 5 n 25 n
ดังนั้น n 3
+
2
+
6
−2

ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ทั่วไปของลำดับ
3,17,47,99,179,...
10

วิธีทำ
3 17 47 99 179

d1 14 30 52 80

d2 16 22 28

d3 6 6

จากแผนผลต่างระหว่างลำดับทำให้ทราบว่า a1 = 3 , d1 = 14 , d2
ถึงแค่ d 3 เท่านั้น
= 16 และ d3 = 6
จากสูตร an = a 1+ ( n−1 ) d 1+
[
( n−1 ) ( n−2 )
2
d2+
] [
(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
6
d3
]
(n−1)∙(n−2) (n−1)∙(n−2)∙( n−3)
แสดงว่า an = a1 + ( n−1 ) d 1+ 2
d 2+
6
d3
( n−1 ) ∙ ( n−2 ) (n−1)∙(n−2)∙( n−3)
an = 3 + ( n−1 ) (14)+ 2
(16) +
6
(6)
an = 3 + ( n−1 ) (14)+ [ ( n−1 ) ∙ ( n−2 ) (8) ] + [ ( n−1)∙( n−2)∙ (n−3) ]

an = 3 + 14n – 14 + ¿ + ¿
an = 3 + 14n – 14 + ¿ + [ n −6 n +11n−6 ]
3 2

an = 3 + 14n – 14 + [ 8 n −24 n+16 ] + [ n −6 n +11n−6 ]


2 3 2

an = 3 + 14n – 14 +8 n −24 n+16 +n −6 n +11n−6


2 3 2

ดังนั้น an =
3 2
n +2 n +n−1
11

บทที่ 5

สรุป อภิปราย และข้อเสนอแนะ

การศึกษาค้นคว้าและการดำเนินการ การทำโครงงาน
คณิตศาสตร์ ประเภทสร้างงทฤษฎีหรือคำอธิบายทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ถอดรหัสลำดับพหุนาม ซึ่งได้ทำการสร้างสูตรและอธิบานสูตร
การหาพจน์ทั่วไปของลำดับพหุนาม โดยใช้ความรู้เรื่องอนุกรม
เลขคณิต จะสรุปผลดังต่อไปนี้

วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อหาสูตรทั่วไปอย่างง่ายของลำดับพหุนาม
2. เพื่อนำสูตรทั่วไปอย่างง่ายของลำดับพหุนามที่ได้ ไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปั ญหา

สรุปผลการทำโครงงาน
1. จากการศึกษาเรื่อง อนุกรมเลขคณิตและการใช้สัญลักษณ์
แทนผลรวม ( ) สามารถสร้างสูตรวิธีการหาพจน์ทั่วไปของลำดับ
พหุนามผลต่างสองชั้นได้ดังนี้
12

สูตรที่ 1 an = a 1+(n−1)d 1 + [ (n−1)(n−2)


2 ]d2

เมื่อ a1 แทน พจน์ที่ 1


n แทน จำนวนพจน์ที่ลำดับนั้นทั้งหมด
d1 แทน ผลต่างครั้งที่ 1
d2 แทน ผลต่างครั้งที่ 2
2. จากการศึกษาเรื่อง อนุกรมเลขคณิตและการใช้สัญลักษณ์
แทนผลรวม ( ) สามารถอธิบายวิธีการหาพจน์ทั่วไปของลำดับ
พหุนามผลต่างสามชั้นได้ดังนี้
สูตรที่ 2 an = a 1+ ( n−1 ) d 1+
[ 2 ] [
( n−1 ) ( n−2 )
d2+
(n−1)∙(n−2)∙(n−3)
6
d3
]
เมื่อ a1 แทน พจน์ที่ 1
n แทน จำนวนพจน์ที่ลำดับนั้นทั้งหมด
d1 แทน ผลต่างครั้งที่ 1
d2 แทน ผลต่างครั้งที่ 2
d3 แทน ผลต่างครั้งที่ 3
สรุปได้ว่า การทำโครงงานนี้ สามารถนำความรู้เรื่อง ลำดับพหุ
นาม ไปใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจำวัน นอกจากนี้ยังเป็ นการ
ส่งเสริม ความเข้าใจในเรื่อง ลำดับพหุนาม และได้ทบทวนความรู้
ทางคณิตศาสตร์ เป็ นการเรียนคณิตศาสตร์ที่ไม่น่าเบื่อหน่าย อันจะ
ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์สูงขึ้นอีกด้วย
13

อภิปรายผล
1. การใช้สูตรการหาพจน์ทั่วไปของลำดับพหุนาม ช่วยในการ
หาผลลัพธ์ทำให้แก้ปั ญหาหาผลลัพธ์ได้ง่ายขึ้น รวดเร็ว ประหยัด
เวลา
2. ทำให้มีความเข้าใจเนื้อหา คณิตศาสตร์ในเรื่องดังกล่าวได้
มากขึ้น

ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการเผยแพร่สูตรการหาพจน์ทั่วไปของลำดับพหุนาม
2. ควรจัดทำโครงงานในเนื้อหาหรือวิชาอื่นๆ ที่เน้นทักษะ
กระบวนการในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของนักเรียน
14

You might also like