Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 233

แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั

้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา


ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชา หน้าที่พลเมื
การออกแบบการจั อง รหัยนรู
ดการเรี สวิ้ ชกลุา ่มสสาระการเรี
31101 ยนรู้
สัระดั
งคมศึบกชัษา
้น มัศาสนาและวั
ธยมศึกษาปีฒทนาธรรม ี่ 4
รายวิชา หน้าที่พลเมือง รหัสวิชา ส31101
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4
จัดทาโดย
นางณิจัภดาทิ พย์ มูลแก้ว
ทาโดย
ตาแหน่ง พนักงานราชการ
นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว
ตาแหน่ง พนักงานราชการ
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
ตาบลช่างเคิ่ง อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
สตานั
าบลช่ างเคิ่ง กอษาขั
กงานการศึ าเภอแม่
้นพื้นแฐาน
จ่ม จังกระทรวงศึ
หัวดเชียงใหม่
กษาธิการ
สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาอธิบายรายวิชา
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1
คาอธิบายรายวิชา

ศึกษากฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเอง และครอบครัว กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรม สัญญา กฎหมายอาญา


มีความรู้ความเข้าใจในเครื่องมือทางภูมิศาสตร์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ซึ่งทาให้เกิดปัญหาทางกายภาพ หรือภัย
พิบัติ ทางธรรมชาติ ในประเทศไทย และภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกโดยใช้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดหา
เหตุและผล แล้วทาการสารวจตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่ง
ที่เรียนรู้ มาปรับใช้ในชีวิตประจาวันพร้อมทั้งเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิดความ
รักและหวงแหนชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ

มาตรฐาน / ตัวชี้วัด

ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรม


ไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ส 2.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ
และสังคมโลก
ส 2.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม
ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ส 2.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สาคัญในประเทศ จากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข
ส 2.2 ม.4-6/2 เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองที่นาไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์
ร่วมกันระหว่างประเทศ
ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ
ใช้แผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุปและใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
ส 5.1 ม.4-6/1 ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล ภูมิสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ส 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์อิทธิพลของสภาพภูมิศาสตร์ซึ่งทาให้เกิดปัญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติในประเทศ ไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์วัฒนธรรม มีจิตสานึก


และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ส 5.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์สถานการณ์และวิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของประเทศ
ไทยและโลก
ส 5.2 ม.4-6/2 ระบุมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาบทบาทขององค์การและการประสานความร่วมมือทั้งใน
ประเทศและนอกประเทศเกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ผ ังมโนท ัศน์
รายวิชา สังคมศึกษา รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562

ชื่อหน่วย 1 สังคมมนุษย์ ชื่อหน่วย 2 วัฒนธรรมไทย

จานวน 5 ชั่วโมง : 5 คะแนน จานวน 6 ชั่วโมง : 5 คะแนน

รายวิชาหน้าที่พลเมือง
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
จานวน 40 ชั่วโมง ชื่อหน่วย 3 พลเมืองดีของ
ชื่อหน่วย 7 กฏหมายในชีวิตประจาวัน ประเทศชาติและสังคมโลก
จานวน 8 ชั่วโมง : 3 คะแนน จานวน 5 ชั่วโมง : 2 คะแนน

ชื่อหน่วย 6 รัฐธรรมนูญแห่ง
ชื่อหน่วย 4 สิทธิมนุษยชน
ราชอาณาจักรไทย ชื่อหน่วย 5 ระบอบการเมืองการปกครอง
จานวน 5 ชั่วโมง : 5 คะแนน
จานวน 5 ชั่วโมง : 5 คะแนน จานวน 6 ชั่วโมง : 5 คะแนน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ผ ังมโนท ัศน์
รายวิชาหน้าที่พลเมือง รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคมมนุษย์
จานวน 5 ชั่วโมง : 5 คะแนน

ชื่อเรื่อง โครงสร้างทางสังคมและการขัดเกลาทางสังคม

จานวน 3 ชั่วโมง : 3 คะแนน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง สังคมมนุษย์
จานวน 5 ชั่วโมง

ชื่อเรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การแก้ปัญหา


และแนวทางการพัฒนาสังคม

จานวน 2 ชั่วโมง : 2 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคมมนุษย์ แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคมและการขัดเกลาทาง


สังคม รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างปกติสขุ นัน้ จะต้ องมีการจัดระเบียบสังคมและมีสถาบันทางสังคม
ช่วยทาหน้ าที่ขดั เกลาทางสังคม
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียน องค์ประกอบและความสาคัญในการอยู่ร่วมกันเป็นสังคมได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้างและความสาคัญของการจัดระเบียบทางสังคมได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การจัดระเบียบทางสังคม


- ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ระบบคุณค่าของสังคม
- ใบงานที่ 1.2 เรื่อง บรรทัดฐานหรือปทัสถานทางสังคม
- ใบงานที่ 1.3 เรื่อง สถานภาพและบทบาท
ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน
8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1.ให้นักเรียนดูภาพ พ่อแม่ และลูก (วัยแรกเกิด) แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับคาถาม ต่อไปนี้
1) ทารกแรกเกิดในระยะเริ่มต้นของชีวิตจะต้องได้รับการเลี้ยงดูอย่างไรบ้าง และมีใครเป็นผู้ช่วยเหลือ
แนวคาตอบ ต้องกินนม ต้องขับถ่าย ต้องอาบน้า สระผม เช็ดสะดือ ฉีดวัคซีน เปลี่ยนเสื้อผ้าและมี
บิดามารดา ญาติพี่น้อง แพทย์ พยาบาล พี่เลี้ยง เป็นผู้ช่วยเหลือ
2) นักเรียนคิดว่า เป็นไปได้หรือไม่ที่มนุษย์จะดารงชีวิตตามลาพังโดยไม่เกี่ยวข้องกับผู้อื่นเลย
แนวคาตอบ คงเป็นไปได้ยาก เพราะมนุษย์ต้องดารงชีวิตด้วยปัจจัย 4 เพื่อตอบสนอง ความต้องการ
พื้นฐานด้านชีวภาพ กายภาพ และการให้ได้มาซึ่งสิ่งเหล่านี้ ต้องอาศัยพึ่งพาผู้อื่นเป็นส่วนใหญ่
- ขั้นสอน
1. ครูนาภาพบ้านที่สวยงามมาให้นักเรียนดู และสนทนาเชิงวิเคราะห์ในประเด็นเหล่านี้ เช่น
- โครงสร้างบ้าน ประกอบด้วยอะไรบ้าง มีความสัมพันธ์กันอย่างไร และมีประโยชน์ต่อสมาชิกของบ้านอย่างไร
- ในทัศนะของนักเรียนคาว่า บ้านสวยงาม กับบ้านน่าอยู่ ต่างกันอย่างไร
- สมาชิกของบ้านควรมีพฤติกรรมอย่างไรต่อบ้านที่สวยงาม เพื่อให้เป็นบ้านที่น่าอยู่ และนักเรียน กับคนในบ้าน
ได้กระทาหรือไม่
- พฤติกรรมที่ทาให้บ้านไร้ความงามและไม่น่าอยู่เป็นอย่างไร นักเรียนได้กระทาหรือไม่ กระทาอย่างไร เป็น
เพราะเหตุใด
2. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า บ้านเปรียบเหมือนสังคมหรือโลกที่มีสมาชิกอาศัยอยู่ โครงสร้างและ
องค์ประกอบของบ้านมีประโยชน์ งดงามน่าอยู่ ดังนั้น ถ้าสมาชิกในครอบครัว ต่างปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ก็ส่งผลต่อ
บ้าน ชุมชน สังคม และโลกให้น่าอยู่เช่นกัน
3. ครูให้นักเรียนดูแผนภูมิองค์ประกอบโครงสร้างทางสังคม และอธิบายให้นักเรียนเข้าใจลักษณะ การจัด
ระเบียบทางสังคมและสถาบันทางสังคม

โครงสร้างทางสังคม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การจัดระเบียบทางสังคม สถาบันทางสังคม
¬ ระบบคุณค่าของสังคม ¬ สถาบันครอบครัว
¬ บรรทัดฐานหรือปทัสถานทางสังคม ¬ สถาบันเศรษฐกิจ
¬ สถานภาพและบทบาท ¬ สถาบันการเมืองการปกครอง
¬ สถาบันการศึกษา
¬ สถาบันศาสนา
¬ สถาบันนันทนาการ
¬ สถาบันสื่อสารมวลชน

4. ให้นักเรียนรวมกันเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน และให้จับคู่กันเป็น 3 คู่ แต่ละคู่ศึกษาความรู้เรื่อง การจัด


ระเบียบทางสังคม จากหนังสือเรียน คู่ละ 1 เรื่อง ดังนี้
คู่ที่ 1 ศึกษาเรื่อง ระบบคุณค่าทางสังคม
คู่ที่ 2 ศึกษาเรื่อง บรรทัดฐานหรือปทัสถานทางสังคม
คู่ที่ 3 ศึกษาเรื่อง สถานภาพและบทบาท
5. ให้แต่ละคู่ผลัดกันศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อที่กาหนดไว้ และผลัดกันเล่าเรื่องรอบวงในประเด็นที่สาคัญ
ของหัวข้อที่ตนได้รับมอบหมายให้เพื่อนในกลุ่มฟังจนครบทุกเรื่อง
6. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2 - 3 คู่ สนทนาซักถามเกี่ยวกับองค์ประกอบของการจัดระเบียบทางสังคม
โดยครูคอยอธิบายเพิ่มเติม
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การจัดระเบียบทางสังคม

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความจาเป็นที่ต้องมีสถาบันทางสังคม แล้วให้นักเรียนช่วยกันเขียน
ความรู้เดิมเกี่ยวกับสถาบันทางสังคม ลงในกระดาษ และนามาติดที่กระดานหน้าชั้นเรียนให้ถูกต้อง ครูอธิบายเพิ่มเติม

- ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 6 คน และให้ทุกคนมีหมายเลขประจาตัว 1-6 ตามลาดับ แล้วให้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

นักเรีย นแต่ล ะคนที่มีหมายเลขเดียวกัน ไปรวมกันเป็นกลุ่มใหม่ และศึกษาความรู้จากหนังสือเรียน และทาใบงานที่


กาหนดให้ ดังนี้

กลุ่มหมายเลข 1ทาใบงานที่ 1.1 เรื่อง สถาบันครอบครัว


กลุ่มหมายเลข 2ทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง สถาบันเศรษฐกิจ
กลุ่มหมายเลข 3ทาใบงานที่ 1.3 เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
กลุ่มหมายเลข 4ทาใบงานที่ 1.4 เรื่อง สถาบันการศึกษา
กลุ่มหมายเลข 5ทาใบงานที่ 1.5 เรื่อง สถาบันศาสนา
กลุ่มหมายเลข 6ทาใบงานที่ 1.6 เรื่อง สถาบันนันทนาการ
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้จากหนังสือเรียน และร่วมกันสรุปความรู้ จากการศึกษาค้นคว้า
และช่วยกันตอบคาถามในใบงานที่แต่ละกลุ่มได้รับ ทาความเข้าใจเนื้อหาให้ชัดเจนในประเด็นที่สาคัญที่เป็นความรู้ใหม่
3. ให้นักเรียนกลุ่มใหม่กลับเข้าสู่กลุ่มเดิม และนาข้อมูลความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาและทาใบงาน
กลับไปขยายผลให้เพื่อนกลุ่มเดิมของตนฟัง
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันจนครบทุกเรื่อง และย้าเตือนให้ทุกคนตั้งใจฟัง
ข้อมูล
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดรูปแบบการนาเสนอผลงานให้น่าสนใจ ซึ่งสามารถนาเสนอได้
หลากหลายรูปแบบ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน
6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 1.7 เรื่อง การปฏิบัติตนเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสถาบันทาง
สังคม แล้วออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน แล้วบันทึกข้อสรุปลงในสมุด

ชั่วโมงที่ 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1. ครูให้นักเรียนดูภาพการกระทาที่ไม่เหมาะสมของเยาวชน เช่น เล่นการพนัน เที่ยวสถานบันเทิง
เสพสารเสพติด ฯลฯ แล้วร่วมกันอภิปรายถึงสาเหตุ-ผลของการกระทา รวมทั้งการมีส่วนร่วมของ
องค์กรทางสังคมต่างๆ ในการขัดเกลา เพื่อให้เยาวชนได้ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้เหมาะสม
- ขั้นสอน
1. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่าจะมีกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคหมวกหกใบ และอธิบายถึง
ลักษณะพื้นฐานของหมวกหกใบ ครูชี้แจงบทบาท หน้าที่ ขั้นตอน กติกาการอภิปรายให้นักเรียนเข้าใจ
2. ครูอธิบายรายละเอียดของประเด็นที่จะอภิปรายเกี่ยวกับการขัดเกลาทางสังคม
3. ครูอธิบายขั้นการสาธิตการใช้หมวกหกใบ ดังนี้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1) ครูขออาสาสมัครนักเรียน 6 คน สาธิตวิธีการใช้หมวกหกใบตามสีของหมวก พร้อมอธิบาย


แนะนาตัวอย่างเพื่อสร้างความเข้าใจ
2) ครูสาธิตวิธีการใช้หมวก ดังนี้
(1) หมวกฟ้า เริ่มต้นด้วยการนาอภิปรายและเป็นผู้สรุปภาพรวมขั้นตอนสุดท้ายด้วย
(2) หมวกขาว เสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง (เช่น เรื่องนี้ได้ข้อมูลมาด้วยวิธีใด)
(3) หมวกแดง แสดงความรู้สึก อารมณ์ (เช่น รู้สึกอย่างไรกับเรื่องนี้)
(4) หมวกดา บอกข้อบกพร่อง จุดอ่อน โทษหรือผลเสีย (เช่น เรื่องนี้จะเกิดผลเสีย
อะไรบ้าง)
(5)หมวกเหลือง เสนอข้อคิดที่เป็นประโยชน์ (เช่น เรื่องนี้มีข้อดีอย่างไร
ทาอย่างไรจึงจะเกิดประโยชน์)
(6) หมวกเขียว เสนอแนวทางพัฒนา หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงต่อไป
(เช่น มีวิธีการใดที่จะทาให้มันดีขึ้น)
4. ขั้นการฝึกปฏิบัติ ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 6 คน ศึกษาความรู้เรื่อง การขัดเกลาทาง
สังคมจากหนังสือเรียน และทาใบงานที่ 1.8 เรื่อง ข่าวปัญหาเด็กและเยาวชนสมัยใหม่
5. ให้นักเรียนเลือกใช้หมวกคนละ 1 ใบ และเริ่มต้นฝึกปฏิบัติแสดงข้อคิด เสนอข้อดีข้อเสีย และแนวทาง
การแก้ไขพัฒนา ตามประเด็นในใบงาน
- ขั้นสรุป
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาของเด็กและเยาวชนสมัยใหม่
และการขัดเกลาทางสังคม และเสนอผลการอภิปรายต่อชั้นเรียน จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันเสนอแนะเพิ่มเติม
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. แบบทดสอบก่อนเรียน 1 ชุด ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม
2. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
3. กิจกรรมที่ 1 การจัดระเบียบทางสังคม 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขั้นขยายความรู้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
เขียน องค์ประกอบ ใบงานที่ 1.1-1.8 ตรวจใบงานที่ ใบงานที่ 1.1-1.8 -เขียนองค์ประกอบ
และความสาคัญใน 1.1-1.8 และความสาคัญในการ
การอยู่ร่วมกันเป็น อยู่ร่วมกันเป็นสังคมได้
สังคมได้ ครบถ้วนได้ 4 : ดีมาก
- เขียนองค์ประกอบ
และความสาคัญในการ
อยู่ร่วมกันเป็นสังคมได้
ส่วนมาก 3 : ดี
-เขียนองค์ประกอบ
และความสาคัญในการ
อยู่ร่วมกันเป็นสังคมได้
บางส่วน 2 : พอใช้
-เขียนองค์ประกอบ
และความสาคัญในการ
อยู่ร่วมกันเป็นสังคม
ไม่ได้เลย 1 : ปรับปรุง

สามารถอธิบาย การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต - อธิบายโครงสร้างและ


โครงสร้างและ ความสาคัญของการจัด
ความสาคัญของการ ระเบียบทางสังคมได้
จัดระเบียบทางสังคม ครบถ้วนได้ 4 : ดีมาก
ได้ - อธิบายโครงสร้างและ
ความสาคัญของการจัด
ระเบียบทางสังคมได้
ส่วนมาก 3 : ดี
- อธิบายโครงสร้างและ
ความสาคัญของการจัด
ระเบียบทางสังคมได้
ครบถ้วนได้บางส่วน 2 :
พอใช้
- อธิบายโครงสร้างและ
ความสาคัญของการจัด
ระเบียบทางสังคมไม่ได้
เลย 1 : ปรับปรุง
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต - มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี
ความรับผิดชอบต่อ ความรับผิดชอบต่องาน
งานที่ได้รับ ที่ได้รับมอบหมายตาม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

มอบหมายตามเวลา เวลาที่กาหนด 4: ดีมาก


ที่กาหนด
- มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี
ความรับผิดชอบต่องาน
ที่ได้รับมอบหมาย
ส่วนมากส่งงานตาม
เวลาที่กาหนด 3: ดี
- มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี
ความรับผิดชอบต่องาน
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนดน้อย 2:
พอใช้
-ไม่มีความสนใจใฝ่รู้ไม่
มีความรับผิดชอบต่อ
งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
ตามเวลาที่กาหนด 1:
ปรับปรุง

11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน


1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
2. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

3. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง สังคมมนุษย์ ความรอบรู้ เรื่อง สังคมมนุษย์ กรณีที่


ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา เกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง สามารถนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
5. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง สถาบันครอบครัว


คาชี้แจง ให้สมาชิกหมายเลข 1 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันครอบครัว จากหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปราย
ตามหัวข้อที่กาหนดให้
1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันครอบครัว

2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง สถาบันเศรษฐกิจ


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้สมาชิกหมายเลข 2 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันเศรษฐกิจ จากหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปราย


ตามหัวข้อที่กาหนดให้
1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันเศรษฐกิจ

2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

ใบงานที่ 1.3 เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้สมาชิกหมายเลข 3 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง จากหนังสือเรียน


และร่วมกันอภิปรายตามหัวข้อที่กาหนดให้
1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันการเมืองการปกครอง

2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

ใบงานที่ 1.4 เรื่อง สถาบันการศึกษา


คาชี้แจง ให้สมาชิกหมายเลข 4 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันการศึกษา จากหนังสือเรียน และร่วมกัน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

อภิปรายตามหัวข้อที่กาหนดให้
1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันการศึกษา

2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

ใบงานที่ 1.5 เรื่อง สถาบันศาสนา


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้สมาชิกหมายเลข 5 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันศาสนา จากหนังสือเรียน และร่วมกัน


อภิปรายตามหัวข้อที่กาหนดให้
1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันศาสนา

2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

ใบงานที่ 1.6 เรื่อง สถาบันนันทนาการ


คาชี้แจง ให้สมาชิกหมายเลข 6 ศึกษาความรู้ เรื่อง สถาบันนันทนาการ จากหนังสือเรียน และร่วมกัน
อภิปรายตามหัวข้อที่กาหนดให้
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1. จงอธิบายความสาคัญของสถาบันนันทนาการ

2. สมาชิกของสถาบันมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างไร

ใบงานที่ 1.7 เรื่อง การปฏิบัติตนเพื่อเป็นสมาชิกที่ดีของสถาบันทางสังคม

คาชี้แจง สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดแนวทางการปฏิบัติตนที่แสดงถึงการเป็นสมาชิกที่ดีของสถาบันทางสังคม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สมาชิกแต่ละคนปฏิบัติตนตามข้อกาหนดของกลุ่ม เป็นเวลา 2-3 สัปดาห์ หรือตามความเหมาะสม

ตัวอย่างพฤติกรรมที่กลุม่ ร่วมกันกาหนด เช่น

1.

2.

3.

4.
ประเมินผลกำรปฏิบัติ
ลำดับที่ 5. กรรมที่กำหนด
พฤติ พฤติกรรมที่ปฏิบัติ ลงชื่อผู้รับรอง พอ ปรับ
ดี
ดี ปรุ ง
มำก ใช้

ลงชื่อ ผู้รายงาน

(หมายเหตุ พิ จารณาตามการปฏิ บตั ิ ของนักเรี ยน ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

ใบงานที่ 1.8 เรื่อง ข่าวปัญหาเด็กและเยาวชนสมัยใหม่


คาชี ้แจง ให้ นกั เรี ยนอ่านข่าวดังต่อไปนี ้ แล้ ววิเคราะห์ตามประเด็นคาถามที่กาหนดให้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

นายอุดมเดช รัตนเสถี ยร รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพัฒ นาสังคมและความมั่นคงของมนุษ ย์ เปิ ดเผยว่า


ปัจจุบนั สภาพปัญหาเกิดขึ ้นในเด็กและเยาวชนมีแนวโน้ มสูงขึ ้นอย่างมาก ปัญหาที่พบมากได้ แก่
1. ปั ญหายาเสพติด พบว่าเด็ก เยาวชนมีแนวโน้ มติดสารเสพติดเพิ่มขึ ้น ผู้ทาผิดกฎหมายมีอายุน้อยลง มี
พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ตังแต่
้ อายุ 15 ปี ส่วนความผิดเกี่ ยวกับสารเสพติด 3 ลาดับแรกได้ แก่ แอมแฟตามีน สาร
ระเหยและกัญชา
2. ปั ญ หาการติดเกม ในเด็ก และเยาวชนมี แนวโน้ ม สูงขึน้ เด็ก ใช้ อินเทอร์ เน็ ตเพื่ อการบัน เทิ งมากกว่า
การศึกษา โดยเฉพาะเด็กเล็กอายุ 10-14 ปี ชอบเล่นเกมออนไลน์มากที่สุด และเล่นตลอดวันจนเสียสุขภาพ เกิด
ปั ญหาการเก็บกด อารมณ์ฉุนเฉี ยว พฤติกรรมก้ าวร้ าวหรื อใช้ ความรุนแรงในการตัดสินแก้ ไขปั ญหา บางรายนัดพบ
เพื่อซื ้อขายอาวุธที่ใช้ ต่อสู้กันในเกมหรื อแลกของรางวัลกัน จนเป็ นเหตุนาไปสู่การทาร้ ายร่างกายทะเลาะวิวาทกัน
และเกิดคดีอาชญากรรมต่างๆ ที่ปรากฏเป็ นข่าว
3. ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร พบว่า วัยรุ่นไทยมีคา่ นิยมการมีเพศสัมพันธ์ตงแต่
ั ้ อายุ
ยังน้ อย มีแนวโน้ มตังครรภ์
้ ก่อนวัยอันสมควร คือ อายุต่ากว่า 20 ปี โดยไม่ได้ คดิ วางแผนและนาไปสูป่ ัญหาการทา
แท้ ง ปัญหาการติดเชื ้อเอดส์ในกลุม่ วัยรุ่นเพิ่มมากขึ ้น
4. ปั ญหาการมัว่ สุมของเยาวชนในหอพัก เป็ นปั ญหาที่เพิ่มขึ ้นทุกวัน เพราะวัยรุ่นส่วนใหญ่ที่มาเช่าหอพัก
อยู่รวมกัน มีความเป็ นอิสระ ไม่มีผ้ ปู กครองดูแล ทาให้ หลายคนประพฤติตนไม่เหมาะสม มีการมัว่ สุมกันเล่นการ
พนัน เสพยาเสพติด และจับคูอ่ ยูร่ ่วมกันระหว่างหญิง-ชาย
ปัญหาต่าง ๆ จาเป็ นต้ องได้ รับความร่วมมือในการป้องกันแก้ ไขจากทุกภาคส่วน
ที่มา : http://www.m-society.go.th/news_detail.php?newsid=2663
ประเด็นคำถำม

1. ปัญหาที่เด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม มีปัญหาใดบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. ผลของการกระทาเป็ นอย่างไร

3. ปัญหาเหล่านี ้ ส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างไร

4. แนวทางในการแก้ ไขปัญหา ควรปฏิบตั ิอย่างไร

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การร่วม
ชื่อ – สกุล การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ รวม
ลาดับ ความร่วมมือ ปรับปรุง
ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน
ที่ ของผู้รับการ ผลงานกลุ่ม 20
ประเมิน คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2
ปรับปรุง = 1
หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ตามความเหมาะสมก็ได้
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
5–8 ปรับปรุง
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคมมนุษย์ แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การแก้ปัญหา


และแนวทางการพัฒนาสังคม รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์ ซึ่งมีผลทั้งทางบวกและทางลบซึ่งผลกระทบทางลบ
อาจก่อให้เกิดปัญหาสังคมตามมา ดังนั้นประชาชนทุกคนต้องร่วมกันแก้ไขและช่วยกันสร้างแนวทางในการพัฒนาสังคม
เพื่อสร้างรากฐานทางสังคมที่เข้มแข็ง
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายสาเหตุปัญหาสังคมไทย และแนวทางการพัฒนาสังคมได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
- ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในสังคม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ใบงานที่ 2.1 เรื่อง สังคมยุคโลกาภิวัตน์

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1.ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ภาพการเดินทางของคนไทยในอดีตและสนทนาซักถามในประเด็นดังต่อไปนี้
1) ในอดีตคนไทยเดินทางโดยเรือแจว เกวียน สัตว์พาหนะ ปัจจุบันคนไทยเดินทางโดยพาหนะใดบ้าง
ผลของการเปลี่ยนแปลงวิธีเดินทางมีข้อดี ข้อเสียอย่างไร
2) สาเหตุที่ทาให้สังคมไทยเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมีอะไรบ้าง และส่งผลต่อการพัฒนาอย่างไร
2. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความหมายและลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
- ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจหรือคละกันตามความสามารถ เพื่อศึกษาความรู้
เรื่อง การเปลี่ยนแปลงในสังคม จากหนังสือเรียน และทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง สังคมยุคโลกาภิวัตน์ โดยให้แต่ละกลุ่ม
กาหนดภาระหน้าที่ของสมาชิกในกลุ่ม ดังนี้
- หัวหน้ากลุ่ม มีหน้าที่นาทางความคิด เสนอความคิด ประสานความคิด กระตุ้นให้สมาชิกคิด และแบ่งหน้าที่
ในการทาใบงาน
- สมาชิกกลุ่มรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 2 คน ต่อ 1 หัวข้อ
- เลขานุการกลุ่ม มีหน้าที่ประสานงานการดาเนินงาน และรวบรวมผลงาน
2. ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มระดมพลังสมอง วางแผนการทางานและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามหัวข้อในใบงาน
กาหนดเวลาการทากิจกรรมให้เสร็จตามความเหมาะสม
3. หัวหน้ากลุ่มและสมาชิกในกลุ่มช่วยกันตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงาน และนามาวิเคราะห์ร่วมกัน
ตามหัวข้อที่กาหนดให้ในใบงาน เมื่อประเมินผลงานเสร็จแล้ว ถ้าหากมีข้อมูล ไม่เพียงพอ ให้แบ่งหน้าที่กันไปค้นคว้า
ข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้งานเสร็จตามเวลาที่กาหนด
4. สมาชิกกลุ่มนาผลงานที่เสร็จแล้วมาพิจารณาประเมินผลในภาพรวม ปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ตามความ
เหมาะสม แล้วส่งตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานต่อชั้นเรียน
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปบทเรียน และเพิ่มเติมในประเด็นสาคัญ ครูชื่นชมผลงานนักเรียน

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับผลเสียที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในสังคม ทาให้เกิดปัญหาสังคมตามมา
และให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายปัญหาของสังคมไทยที่กาลังประสบอยู่ โดยเขียนชื่อปัญหาบนกระดาน
- ขั้นสอน
1. ให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ให้แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าเรื่อง ปัญหาสังคมไทยและแนว
ทางการแก้ไขปัญหา จากหนังสือเรียน และทาใบงานที่ 2.2 เรื่อง ปัญหาสังคมไทย โดยให้นักเรียนร่วมกันคิดว่า เรื่อง
ใดบ้างที่เป็นปัญหาสังคมอยู่ในขณะนั้น จากนั้นให้แต่ละกลุ่มร่วมกันตัดสินใจ เลือกปัญหาสาคัญ 1 ปัญหา ที่สมาชิกใน
กลุ่มคิดว่าสามารถมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหาได้ แล้วช่วยกันวิเคราะห์และตอบคาถามตามหัวข้อในใบงาน
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน แล้วช่วยกันสรุปประเด็นปัญหาสาคัญที่ต้อง
ร่วมมือกันแก้ไขอย่างเร่งด่วน
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาแผนผังความคิด เรื่อง สังคมมนุษย์ โดยวิเคราะห์ลักษณะสังคม
มนุษย์ให้ครอบคลุมหัวข้อ ต่อไปนี้
1) ความสาคัญของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม
2) โครงสร้างทางสังคม
3) การขัดเกลาทางสังคม
4) การเปลี่ยนแปลงในสังคม
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน แล้วบันทึกข้อสรุปลงในสมุด
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่ 2 การเปลี่ยนแปลงสังคม 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สามารถเขียนสาเหตุ ใบงานที่ 2.1 ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์


ของการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม
สามารถอธิบายสาเหตุ แบบประเมินแผนผัง ตรวจแบบประเมิน แบบประเมินแผนผัง ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ปัญหาสังคมไทย และ ความคิด แผนผังความคิด ความคิด
แนวทางการพัฒนา
สังคมได้
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ความรับผิดชอบต่องาน
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน


ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน
1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
2. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

3. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ความรอบรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทาง


ทางสังคม ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความ สังคม กรณีที่เกิดงาน ปริมาณที่เกีย่ วข้อง
รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา สามารถนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้
ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน เชื่อมโยงกัน สามารถประยุกต์ใช้ใน
การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับ ชีวิตประจาวัน
ผู้เรียน
5. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์


- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์ หน่วยสังคมมนุษย์
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

แบบประเมินแผนผังความคิด เรื่อง สังคมมนุษย์


กลุ่มที่..................................................
สมาชิกของกลุ่ม 1............................................ 2. ..............................................................................

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

3............................................. 4. ..............................................................................
5............................................. 6. ..............................................................................

ลาดับ คุณภาพผลงาน
รายการประเมิน
ที่ 4 3 2 1
1 ความสาคัญของการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม
2 โครงสร้างทางสังคม
3 การขัดเกลาทางสังคม
4 การเปลี่ยนแปลงในสังคม
รวม

ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
ดีมาก =4
ดี =3
พอใช้ = 2
ปรับปรุ ง = 1

เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
13-16 ดีมาก
9-12 ดี
5-8 พอใช้
1-4 ปรับปรุ ง

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง สังคมยุคโลกาภิวัตน์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาสั่ง ให้นักเรียนอ่าน เรื่อง สังคมยุคโลกาภิวัตน์ แล้ววิเคราะห์ตามหัวข้อต่อไปนี้


1. สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย มีเรื่องใดบ้างประมาณ 5-6 เรื่อง และนาข้อความ
มาเขียนลงในตารางวิเคราะห์ ข้อ 1
2. วิเคราะห์ประเภทของการเปลี่ยนแปลงในสังคมโดยขีดเครื่องหมาย  ลงในตารางวิเคราะห์ ข้อ 2
3. บอกผลดีและผลเสีย ของการเปลี่ยนแปลงในสังคมโดยเขียนตอบในตารางวิเคราะห์ ข้อ 3, 4
4. บอกปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมโดยขีดเครื่องหมาย  ลงในตารางวิเคราะห์ ข้อ 5

ปัจจุบันสังคมไทยอยู่ท่ามกลางกระบวนการโลกาภิวัตน์ (Globalization) หรือ โลกไร้พรมแดน


ซึ่งเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ของโลกเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสาร
และสารสนเทศ
ทรัพยากรของประเทศดูเหมือนจะเหมาะกับการเกษตรกรรมมากกว่าอุตสาหกรรมส่งออก การผลิตสินค้าเน้น
ความจาเป็นมากกว่าสินค้าฟุ่มเฟือย ส่วนนโยบายการพัฒนาประเทศของรัฐบาลทุกชุดก็จะเน้นการเติบโต เน้นผลกาไร
สูงสุดตามระบบการผลิตเหมือนประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ NICS (Newly Industrialized Countries) ซึ่งเท่ากับ
ผลักดันให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบ เกิดช่องว่างระหว่างคนรวยคนจนสภาพแวดล้อม ค่านิยมที่เน้นความมั่งคั่งและเสพ
สุขทางวัตถุ ทาให้คนฉ้อฉลในทุกวงการ พร้อมที่จะทาทุกอย่างเพื่อเงิน อานาจ ไม่มีจรรยาบรรณ ไม่มีมโนธรรม
อิทธิพลของโทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ และสื่อมวลชนเข้ามามีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตประจาวัน พวกเด็กจะถูก
สภาพแวดล้อมเหล่านี้กล่อมเวลาให้เขาต้องแก่งแย่ง แข่งขัน ชิงดีชิงเด่น มีของดียี่ห้อดัง แต่งกายแฟชั่นแปลกๆ ทาสีผม
บริโภคอาหารจานเดียว (Fast Food) ใช้เวลาว่างเดินตามห้างสรรพสินค้า ฯลฯ สภาพเหล่านี้จะนาพาเด็กรุ่นใหม่ไปสู่
การเอาแต่ใจ มุ่งหาความเฉพาะตัว เห็นแก่ตัวไม่แคร์ผู้คนรอบข้าง ใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นไม่เป็น และเป็นคนแข็งกระด้าง
ในด้านสิทธิสตรีไทย มีโอกาสทัดเทียมชายมากขึ้น องค์การสหประชาชาติ กาหนดให้วันที่ 8 มีนาคม เป็นวันระลึกสตรี
สากล ประเทศไทยได้วางแผนในการพัฒนาสตรีตั้งแต่ปี 2524 สนับสนุนให้สตรีเข้ามามีบทบาทพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรมของสังคมและนานาชาติ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจขณะนี้ได้แก่ความเป็นสากลของภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาหลัก
(Mother Language) ใช้กันทั่วโลก ในประเทศไทยผ่านธุรกิจ ป้ายชื่อร้าน อาคาร ส่วนใหญ่ก็เขียนเป็น
ภาษาอังกฤษ แม้แต่ดารา นักแสดง ก็ได้นาเสนอดาราลูกครึ่งเป็นตัวหลัก
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเราจะมองเห็นว่าก้าวหน้าเด่นชัด การขยายตัวของประชากรของเมือง และการ
สื่อสารและเทคโนโลยีก็เหมือนกัน แต่ผลร้ายที่ตามมา คือ สภาพแวดล้อมที่ดีงามถูกทาลาย มีการตัดไม้ทาลายป่า สัตว์
พืช แหล่งน้า แร่ธาตุถูกทาลายมากขึ้น การใช้รถยนต์ใช้พลังงาน ใช้ตู้เย็น แอร์ สเปรย์ จะมีการปล่อยสารพิษไปทาลาย
โอโซนมากขึ้น คุณภาพชีวิตลดลงมากกว่าจะทาให้ชีวิตมีความสุขขึ้น ยิ่งการส่งเสริมการท่องเที่ยวมากก็ยิ่งมีโสเภณี มี
โรคเอดส์มากตามมา
พฤติกรรมทางวัฒนธรรม สังคม ประเพณี ศีลธรรม จริยธรรม แม้แต่ภาษาซึ่งล้วนเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เรา
ต้องดูแลไม่ให้สูญสลายไป การดารงชีวิตของคนเป็นสิ่งที่ดีงาม อุปถัมภ์เกื้อกูลกัน มีจิตใจดีมีความอ่อนโยนอ่อนน้อม
และมีชีวิตที่เรียบง่าย ซึ่งหาได้ยากในสังคมขึ้น
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเราไม่อาจต้านกระแสโลกได้ และการเปลี่ยนแปลงก็ไม่ใช่สื่อเลวร้ายเสมอไป เราคง
ขวางกระแสใหญ่ของโลกาภิวัตน์ทั้งหมดไม่ได้ ในแง่ดีผลกระทบจากโลกาภิวัตน์ให้ประโยชน์ต่อคนไทยเป็นความทันสมัย
ไม่โง่เขลา ล้าหลัง เมืองไทยนับจาก ค.ศ.2000 เราจะก้าวสู่สหัสวรรษใหม่ที่มีการแข่งขันกันสูง เกิดปัญหาหลายประการ
ตามมา ขณะเดียวกันเราก็ต้องช่วยกันประคับประคองให้แก้ปัญหาต่างๆ ตลอดจนกาหนดแนวทางบารุงรักษาดุลยภาพ
แห่งชีวิตของคนไทยให้ดารงความเป็นไทยในสังคมยุคโลกาภิวัตน์ให้ได้

1. สาเหตุของการ 2. ประเภทของการ 3. ผลดีของการ 4. ผลเสียของ 5. ปัจจัยที่ทาให้เกิดการ


เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง เปลีย่ นแปลง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สังคม วัฒนธรรม ภายใน ภายนอก

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง ปัญหาสังคมไทย


คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดว่า เรื่องใดบ้างที่เป็นปัญหาสังคมอยู่ในขณะนั้น แล้วเลือกปัญหาสาคัญ 1
ปัญหา มาวิเคราะห์และตอบคาถามตามหัวข้อที่กาหนด

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ลาดับที่ ปัญหาสังคม ผลเสียต่อสังคม วิธีการแก้ไข

1. ปัญหาที่ส่งผลกระทบทาให้เกิดความเสียหายต่อสังคมมากที่สุด คือ

2. กลุ่มนักเรียนมีความสนใจในการมีส่วนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาได้โดยการจัดทาโครงงานเรื่อง

3. แนวทางการพัฒนาสังคมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่กลุ่มนักเรียนนามาปรับใช้
ในการทาโครงงานได้แก่เรื่องใด

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

กำรร่ วม รวม
ลำดับ ชื่อ – สกุล กำรแสดง กำรรับฟั ง กำรตัง้ ใจ
ควำมร่ วมมือ ปรับปรุ ง 20
ที่ ควำมคิดเห็น ควำมคิดเห็น ทำงำน
ของผู้รับกำร ผลงำนกลุ่ม คะแนน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ประเมิน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน
ดีมาก =4
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดี =3
พอใช้ =2
ปรับปรุง = 1 ............../.................../................
เกณฑ์การตัดสิ นคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
9 – 12 พอใช้ หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
5–8 ปรับปรุ ง ตามความเหมาะสมก็ได้
แบบประเมินข้อสอบ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชา หน้าที่พลเมือง วัฒนะรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม รหัสวิชา ส 31101 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินทาเครื่องหมาย ลงช่องว่างตามหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ ตามความคิดเห็นที่ตรงความจริงมากที่สุด


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม

ข้อที่ 1 คาถาม การกระทาใดถือว่าเป็นการขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม (การวิเคราะห์)


ก. ดวงจิตรนาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา
ข. คุณยายสอนให้สวยรู้จักทาความเคารพผู้ใหญ่
ค. คุณครูให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกความเป็นประชาธิปไตย
ง. ดวงใจและเพื่อนสามารถร้องเพลงตามจังหวะที่ฟังจากวิทยุได้ถูกต้อง
จ. ในขณะรับประทานอาหารร่วมกัน คุณแม่จะบอกให้เคี้ยวอาหารหมดปากก่อนที่จะพูด

ข้อที่ 2 คาถาม ข้อใดอธิบายลักษณะของสังคมไทยได้ถูกต้องที่สุด (การนาไปใช้)


ก. โทรศัพท์มือถือทาให้ภาษาไทยวิบัติมากขึ้น
ข. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยคือสถาบันพระมหากษัตริย์
ค. เป็นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป
ง. ภาพยนตร์เกาหลีมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของคนปัจจุบันมากขึ้น
จ. กฎระเบียบและกติกาของกลุ่มคนที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

รายการประเมิน ใช่ ไม่ใช่ ควรแก้ไข


1. เนื้อหาในแบบทดสอบ มีความสอดคล้องตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 
2. ความชัดเจนของคาถาม (โจทย์) ใช้ภาษาในการตั้งคาถาม เหมาะสม ชัดเจนไม่คลุมเครือ 
3. ข้อสอบมีการวัด ตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (ระบุท้ายข้อสอบ) 
4. ข้อสอบมีการวัดระดับพฤติกรรม ตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (ระบุพฤติกรรมที่ท้ายข้อสอบ ) 
5. รูปภาพ/สถานการณ์ตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

6. รูปภาพ/สถานการณ์ตรง ตรงกับคาถาม(โจทย์)และคาตอบ 
7. ความชัดเจนของคาตอบ (ตัวเลือก) มีคาตอบแน่นอนเป็นคาตอบเดียว 
8. ตัวเลือกที่เป็นคาตอบ(ถูก) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
9. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
10. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
11. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
12. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
13. ข้อความตัวเลือกในข้อทดสอบมีอานาจจาแนกได้ 
14. เนื้อหาในข้อสอบมีความยากง่ายที่เหมาะสม 
15. ความเหมาะสมของข้อสอบกับคะแนน หลักเกณฑ์การคิดคะแนน

มีสัดส่วนชัดเจน เหมาะสม
16. ความเหมาะสมของข้อสอบกับเวลา เนื้อหาการทดสอบมีความ

เหมาะสมกับระยะเวลาที่กาหนด

ลงชื่อ..................... ................................. ผู้แทนประเมิน


(นางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพิชิต)
วันที่ 2 / เมษายน / 2562

แบบประเมินข้อสอบ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชา หน้าที่พลเมือง วัฒนะรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม รหัสวิชา ส 31101 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4

คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินทาเครื่องหมาย ลงช่องว่างตามหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ ตามความคิดเห็นที่ตรงความจริงมากที่สุด


มาตรฐาน/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา


ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม

ข้อที่ 2 คาถาม ข้อใดอธิบายลักษณะของสังคมไทยได้ถูกต้องที่สุด (การนาไปใช้)


ฉ. โทรศัพท์มือถือทาให้ภาษาไทยวิบัติมากขึ้น
ช. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยคือสถาบันพระมหากษัตริย์
ซ. เป็นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป
ฌ. ภาพยนตร์เกาหลีมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของคนปัจจุบันมากขึ้น
ญ. กฎระเบียบและกติกาของกลุ่มคนที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

รายการประเมิน ใช่ ไม่ใช่ ควรแก้ไข


1. เนื้อหาในแบบทดสอบ มีความสอดคล้องตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 
2. ความชัดเจนของคาถาม (โจทย์) ใช้ภาษาในการตั้งคาถาม เหมาะสม ชัดเจนไม่คลุมเครือ 
3. ข้อสอบมีการวัด ตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (ระบุท้ายข้อสอบ) 
4. ข้อสอบมีการวัดระดับพฤติกรรม ตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (ระบุพฤติกรรมที่ท้ายข้อสอบ ) 
5. รูปภาพ/สถานการณ์ตรงตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 
6. รูปภาพ/สถานการณ์ตรง ตรงกับคาถาม(โจทย์)และคาตอบ 
7. ความชัดเจนของคาตอบ (ตัวเลือก) มีคาตอบแน่นอนเป็นคาตอบเดียว 
8. ตัวเลือกที่เป็นคาตอบ(ถูก) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
9. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
10. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
11. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
12. ตัวเลือกที่เป็นตัวลวง คาตอบ(ผิด) ตัวเลือกที่………. มีความเหมาะสม 
13. ข้อความตัวเลือกในข้อทดสอบมีอานาจจาแนกได้ 

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

14. เนื้อหาในข้อสอบมีความยากง่ายที่เหมาะสม 
15. ความเหมาะสมของข้อสอบกับคะแนน หลักเกณฑ์การคิดคะแนน

มีสัดส่วนชัดเจน เหมาะสม
16. ความเหมาะสมของข้อสอบกับเวลา เนื้อหาการทดสอบมีความ

เหมาะสมกับระยะเวลาที่กาหนด

ลงชื่อ..................... ................................. ผู้แทนประเมิน


(นางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพิชิต)
วันที่ 2 / เมษายน / 2562

วิชาหน้าที่พลเมือง ข้อสอบ
รหัสวิชา ส 31101 เรื่อง เวลา 30 นาที
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สังคมมนุษย์

คาชี้แจง ให้ผู้เรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว โดยวงกลมล้อมรอบตัวเลือกนั้น (ข้อละ 1 คะแนน)

1. เพราะเหตุใด มนุษย์จึงต้องอยู่รวมกันเป็นสังคม (ความเข้าใจ)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ก. เพื่อถ่ายทอดวัฒนธรรม ข. เพื่อสร้างความเจริญให้กับสังคม
ค. เพื่อความพอใจของตนเอง ง. เพื่อสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคม
จ. เพื่อสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
2. ข้อใดจัดเป็นสังคม (ความเข้าใจ)
ก. สุพจน์นั่งอ่านหนังสือการ์ตูนริมน้า ข. สุชาติยืนรอรถเมล์สาย 113 ที่ป้ายรถเมล์
ค. นารีหัวเราะเสียงดังเมื่อดูรายการชิงร้อยชิงล้าน ง. สุรีพรเปิดดูโทรทัศน์ที่ห้องรับแขก
จ. วิชัยชวนแม่ไปเที่ยวที่สนามหลวงในงานสัปดาห์วิสาขบูชา
3. ข้อใดสอดคล้องกับคากล่าวที่ว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม” (การวิเคราะห์)
ก. มนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเพื่อพึ่งพาอาศัยกัน
ข. มนุษย์สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี
ค. มนุษย์ต้องดิ้นรนเพื่อต่อสู้กับความอยู่รอดของชีวิต
ง. มนุษย์ไม่จาเป็นต้องดิ้นรนเพื่อต่อสู้กับความอยู่รอด
จ. มนุษย์สามารถใช้สมองและร่วมมือกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. สถาบันศาสนาควรมีบทบาทร่วมกับรัฐบาล ในเรื่องใด (ความจา)
ก. ควบคุมและระงับข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น ข. ท้วงติง วิจารณ์นโยบายที่ไม่เหมาะสมของรัฐ
ค. ปลูกฝังค่านิยม จริยธรรม ความเป็นพลเมืองดีแก่ประชาชน ง.สนับสนุนศาสนาใดศาสนาหนึ่ง
จ. ให้ความร่วมมือกับรัฐอบรมสมาชิกให้มีเจตคติที่ดีต่อการปกครองของรัฐ
5. สถาบันพื้นฐานแรกสุดของสังคมที่ทาหน้าที่อบรมและขัดเกลาให้สมาชิก คือ สถาบันใด (ความจา)
ก. สถาบันครอบครัว ข. สถาบันเศรษฐกิจ ค. สถาบันการศึกษา
ง. สถาบันศาสนา จ. สถาบันครอบครัวและสถาบันการศึกษา
6. “โครงสร้างของสังคม” คือข้อใด (ความเข้าใจ)
ก. สิ่งที่เป็นองค์ประกอบค้าจุนสังคม
ข. อุดมการณ์ของสังคมเพื่อความมั่นคงถาวร
ค. วัตถุประสงค์ที่วางไว้เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมาย
ง. ความจงรักภักดี ต่ออุดมการณ์ของตนเองและสังคม
จ. ความสัมพันธ์อย่างมีแบบแผนที่เกื้อหนุนและโยงใยต่อกันและกัน
7. นายนพพรปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด เขาปฏิบัติตามข้อใด (การนาไปใช้)
ก. ค่านิยมทางสังคม ข. บรรทัดฐานทางสังคม
ค. สถานภาพทางสังคม ง. ศีลธรรมจรรยา
จ. ค่านิยมทางสังคมและศิลธรรมจรรยา
8. ข้อใดไม่ใช่วิถีประชา (การวิเคราะห์)
ก. วัยรุ่นชอบใส่เสื้อยืด กางเกงยีนส์ ข. นักเรียนพูดจาไม่สุภาพจะถูกติเตียนเสมอ
ค. นักเรียนชอบหลับในขณะเรียนหนังสือ ง. ห้ามสูบบุหรี่บนรถประจาทาง ปรับ 2,000 บาท

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

จ. ชาวพุทธสวดมนต์ไหว้พระเพื่อทาจิตใจให้สงบ
9. ข้อใดถือเป็นสถานภาพที่ได้มาด้วยความสามารถ (ประเมินค่า)
ก. นายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นคนจังหวัดสุพรรณบุรี
ข. สัญญาเป็นลูกคนโตพ่อจึงมอบกิจการให้เขาดูแล
ค. หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล สร้างภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์
ง. พรทิพย์ นาคหิรัญกนก ได้รับคัดเลือกเป็นนางงามจักรวาล
จ. บรรจุ เป็นที่ยอมรับจากเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้ที่ทางานยอดเยี่ยมแห่งปี
10. ข้อใดถือว่า เป็นการทาผิดจารีตหรือกฎศีลธรรม (การวิเคราะห์)
ก. ลูกอกตัญญู ข. การเขียนหนังสือด้วยมือซ้าย
ค. การหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ง. การไม่ทาพิธีเจิมร้านค้าที่เปิดใหม่
จ. ไม่เข้าร่วมงานแต่งงาน
11. องค์กรใดที่มีบทบาทสาคัญที่สุด ในกระบวนการขัดเกลาทางสังคม (ความจา)
ก. วัด ข. โรงเรียน ค. ครอบครัว ง. สื่อมวลชน จ. มูลนิธิเด็ก
12.การกระทาใดถือว่าเป็นการขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม (การวิเคราะห์)
ก. ดวงจิตรนาวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามา
ข. คุณยายสอนให้สวยรู้จักทาความเคารพผู้ใหญ่
ค. คุณครูให้นักเรียนทางานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกความเป็นประชาธิปไตย
ง. ดวงใจและเพื่อนสามารถร้องเพลงตามจังหวะที่ฟังจากวิทยุได้ถูกต้อง
จ. ในขณะรับประทานอาหารร่วมกัน คุณแม่จะบอกให้เคี้ยวอาหารหมดปากก่อนที่จะพูด
13. ข้อใดกล่าวถึง “การจัดระเบียบทางสังคม” ได้อย่างชัดเจนที่สุด (สร้างสรรค์)
ก. กฎระเบียบและกติกาของกลุ่มคนที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ข. ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่ตกลงเฉพาะบุคคลหรือกลุ่มคนบางกลุ่มเท่านั้น
ค. ความสัมพันธ์ของสมาชิกในแต่ละสังคมซึ่งมีความผูกพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น
ง. การอยู่ร่วมกันของกลุ่มคนในแต่ละสังคมซึ่งมีการดาเนินชีวิตไม่แตกต่างกัน
จ. วิธีการที่คนในสังคมกาหนดขึ้นเพื่อให้เป็นระเบียบกฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน

14. ข้อใดอธิบายลักษณะของสังคมไทยได้ถูกต้องที่สุด (ความเข้าใจ)


ก. โทรศัพท์มือถือทาให้ภาษาไทยวิบัติมากขึ้น
ข. ศูนย์รวมจิตใจของคนไทยคือสถาบันพระมหากษัตริย์
ค. เป็นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป
ง. ภาพยนตร์เกาหลีมีอิทธิพลต่อการดาเนินชีวิตของคนปัจจุบันมากขึ้น
จ. กฎระเบียบและกติกาของกลุ่มคนที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
15. สถาบันใดในสังคมไทยมีบทบาทสาคัญที่สุด ที่จะทาให้สมาชิกในสังคมเป็นพลเมืองดีตามที่สังคมคาดหวัง(ความจา)
ก. สถาบันครอบครัว ข. สถาบันการศึกษา ค. สถาบันการเมือง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ง. สถาบันศาสนา จ. สถาบันพระมหากษัตริย์
16. ปัญหาสังคมต่างๆ ที่เกิดขึ้นมากมายในปัจจุบัน มีสาเหตุพื้นฐานมาจากข้อใด (ความเข้าใจ)
ก. วัฒนธรรมตะวันตกหลั่งไหลเข้ามา
ข. ความบกพร่องของผู้บริหารประเทศ
ค. จานวนการเพิ่มของจานวนประชากร
ง. การบริหาร การดูแล จากครอบครัว
จ. ความเสื่อมโทรมทางศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี
17. ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาต่อสังคมหลายๆ ด้าน ข้อใดไม่ใช่ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับปัญหายาเสพติด (การวิเคราะห์)
ก. ปัญหาอาชญากรรม ข ปัญหาทาร้ายร่างกาย ค. ปัญหาความยากจน
ง. ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ จ. ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
18. การกระทาในข้อใด ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและกลายเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สาคัญในสังคมไทย (การวิเคราะห์)
ก. การจราจรติดขัด ข. การตัดไม้ทาลายป่า ค. การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมมาก
ง. การใช้วัสดุอุปโภคบริโภคไม่เหมาะสม จ. เกิดจากการทิ้งขยะไม่ถูกที่ถูกทาง
19. ปัญหาการทุจริตซึ่งถือเป็นปัญหาที่สาคัญระดับชาติ ข้อใดเป็นแนวทางการแก้ไขที่สาคัญ (สร้างสรรค์)
ก. สอนให้ภูมิใจในศักดิ์ศรีของตนเอง
ข. รณรงค์ให้คนในสังคมรังเกียจการทุจริต
ค. รณรงค์ให้ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ง. แจ้งความผู้ที่กระทาผิด หรือฟ้องร้องต่อผู้ที่ทุจริต
ง. ปลูกฝังค่านิยมให้เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน
20. “หลังจากเกิดเหตุการณ์สึนามิ ทาให้หมู่บ้านบางหมู่บ้านกลายเป็นหมู่บ้านร้าง” ข้อความนี้แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมที่เกิดขึ้นจากปัจจัยใด (ความเข้าใจ)
ก. ปัจจัยครอบครัว ข. ปัจจัยทางสังคม ค. ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
ง. ปัจจัยทางธรรมชาติ จ. ปัจจัยทางวัฒนธรรม

แบบประเมินข้อสอบ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
รายวิชาหน้าที่พลเมือง รหัสวิชา ส 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคมมนุษย์
ชื่อ – สกุล ครูผู้สอน นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว
********************************************************************
คาชี้แจง ให้ผู้ประเมินทาเครื่องหมาย ⁄ ลงในช่องว่างหัวข้อต่างๆ ต่อไปนี้ ตามความคิดเห็นที่ตรงความจริงที่สุด
ข้อสอบที่ รายการประเมิน
ข้อสอบมีการวัดตรงตาม ข้อสอบมีการวัดระดับ สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง ข้อควรแก้ไข
ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(ระบุทา้ ย พฤติกรรมตรงตามตัวชี้วัด/ผล (1) (0) (-1)
ข้อ) การเรียนรู้(ระบุท้ายข้อ)
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใช่ ไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ 1


1 ⁄ ⁄ 1
2 ⁄ ⁄ 1
3 ⁄ ⁄ 1
4 ⁄ ⁄ 1
5 ⁄ ⁄ 1
6 ⁄ ⁄ 1
7 ⁄ ⁄ 1
8 ⁄ ⁄ 1
9 ⁄ ⁄ 1
10 ⁄ ⁄ 1
11 ⁄ ⁄ 1
12 ⁄ ⁄ 1
13 ⁄ ⁄ 1
14 ⁄ ⁄ 1
15 ⁄ ⁄ 1
16 ⁄ ⁄ 1
17 ⁄ ⁄ 1
18 ⁄ ⁄ 1
19 ⁄ ⁄ 1
20 ⁄ ⁄ 1

ลงชื่อ..................... ................................. ผู้ประเมิน


(นางสาวศิริมา เมฆปัจฉาพิชิต)
เกณฑ์การประเมิน วันที่ 2 / เมษายน / 2562

ความเหมาะสมของเครื่องมือวัดและประเมินผล ความสอดคล้องของเครื่องมือวัด
และประเมินผล
คะแนนระหว่าง 1-7 ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุง ค่าความสอดคล้องต้อง
คะแนนระหว่าง 8-14 ระดับคุณภาพ พอใช้ มีค่า
คะแนนระหว่าง 15-20 ระดับคุณภาพ ดี ตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง รักวัฒนธรรม
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
ประเทศไทย มีวัฒนธรรมซึ่งใช้เป็นแนวทางและวิถีปฏิบัติต่อกันในสังคมไทย ส่งผลต่อบุคลิกลักษณะของคนไทย
และความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/5 วิเคราะห์ความจาเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และเลือก
รับวัฒนธรรมสากล
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียน ลักษณะและความสาคัญของวัฒนธรรมไทยได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายความหมายความสาคัญของวัฒนธรรมได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสาคัญของวัฒนธรรม
- ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน
8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
- ครูให้นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทยที่นักเรียนชอบ พร้อมบอกเหตุผลประกอบ
ยกตัวอย่างหลากหลาย เช่น ประเพณีลอยกระทง การแต่งกายชุดไทย การแห่เทียนพรรษา อาหารไทย
ราไทย ดนตรีไทย ภาษาไทย
- ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นความสาคัญของวัฒนธรรมไทย
- ขั้นสอน
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ความหมาย ความสาคัญประเภทของวัฒนธรรมและลักษณะของวัฒนธรรมไทย

ชั่วโมงที่ 2-3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูทบทวนความรู้เดิมของนักเรียนด้วยการตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ ดังนี้
1) วัฒนธรรมมีความหมายว่าอย่างไร
2) วัฒนธรรมมีความสาคัญอย่างไร
3) วัฒนธรรมมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
4) วัฒนธรรมไทยมีลักษณะสาคัญอย่างไร
- ขั้นสอน
ครูให้ นักเรียนกลุ่มเดิมเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Groups) และให้สมาชิกในกลุ่มเลือกหมายเลขประจาตัว
ตั้งแต่ ห มายเลข 1-4 ตามล าดั บ แล้ ว ให้ แต่ ล ะกลุ่ ม แยกย้ ายกั น ไปหาสมาชิก ที่ มี ห มายเลขเดี ยวกั น เรีย กว่ า กลุ่ ม
ผู้เชี่ยวชาญ (Expert Groups)
สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละหมายเลขร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง วัฒ นธรรมในภูมิภาคต่างๆ ของไทย จาก
หนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ และทาใบงาน ดังนี้
-หมายเลข 1 ทาใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ
-หมายเลข 2 ทาใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง
-หมายเลข 3 ทาใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
-หมายเลข 4 ทาใบงานที่ 1.6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สมาชิกกลุ่มผู้เชี่ยวชาญช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงานที่กลุ่มรับผิดชอบ และทาความเข้าใจจน
กระจ่างชัดเจนแล้วแยกย้ายกันกลับไปกลุ่มเดิม ซึ่งเรียกว่า กลุ่มบ้าน (Home Groups)
สมาชิกกลุ่มบ้านแต่ละหมายเลขผลัดกันเล่าความรู้จากใบงานที่ตนศึกษามาให้แก่สมาชิกหมายเลขอื่นฟัง และผลัดกัน
ซักถามจนมีความเข้าใจชัดเจนดีทุกคน
- ขั้นสรุป
ครูสุ่มเรียกนักเรียนบางคนในกลุ่มออกมาเฉลยคาตอบของใบงาน ทุกใบงานตามความเหมาะสม จากนั้น
ช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ ลักษณะสาคัญของวัฒนธรรมไทยในแต่ละภูมิภาค
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่ 1.1-1.6 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถเขียน ลักษณะ ใบงานที่ 1.1-1.6 ตรวจใบงานที่ ใบงานที่ 1.1-1.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
และความสาคัญของ 1.1-1.6
วัฒนธรรมไทยได้
สามารถอธิบาย การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ความหมายความสาคัญ
ของวัฒนธรรมได้
สนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน


ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน
1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
2. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

3. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย ที่ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย กรณีที่


เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา เกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง สามารถนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
5. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยวัฒนธรรมไทย หน่วยวัฒนธรรมไทย หน่วยวัฒนธรรมไทย
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยวัฒนธรรมไทย หน่วยวัฒนธรรมไทย หน่วยวัฒนธรรมไทย
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ความสาคัญของวัฒนธรรมไทย


ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนเขียนแผนผังความคิด เรื่ อง ความสาคัญของวัฒนธรรม

ใช้ ประโยชน์

ต่ อการดารงชีวิต

ควำมสำคัญ
ของ
ก่ อให้ เกิดความเป็ น
วัฒนธรรม
อันหนึ่งอันเดียวกัน
ทาหน้ าที่หล่ อหลอม

บุคลิกภาพ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตอนที่ 2
คาชี ้แจง ให้ นกั เรี ยนยกตัวอย่างประเภทของวัฒนธรรมในกรอบที่วา่ ง

ประเภทของวัฒนธรรม

การจัดประเภทตามลักษณะที่ การจัดประเภทตามเนื้อหา
มองเห็นหรือสัมผัสได้

   

  ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง

ตัวอย่าง ตัวอย่าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสาคัญของวัฒนธรรมไทย

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง ความสาคัญของวัฒนธรรม

เป็นเป้าหมาย กาหนดพฤติกรรม
ในการดารงชีวิต ของมนุษย์

ควบคุมสังคม
ใช้ ประโยชน์ ร่ วมมื อกันอนุรกั ษ์
ตอบสนองความต้องการ
ต่ อการดารงชีวิต ด้านร่างกายและจิตใจ วัฒนธรรม

ความผูกพัน

ควำมสำคัญ
ของ
ก่ อให้ เกิดความเป็ น
วัฒนธรรม
อันหนึ่งอันเดียวกัน
ทาหน้ าที่หล่ อหลอม

บุคลิกภาพ
ความเชื ่อ กิ ริยาท่าทาง
การพึ่งพา
ความสนใจ การแต่งกาย จิ ตสานึกเป็ น
อาศัยกัน
พวกเดียวกัน
ทัศนคติ ความคิ ดสร้างสรรค์

ความรู้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตอนที่ 2

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนยกตัวอย่างประเภทของวัฒนธรรมในกรอบที่วา่ ง

ประเภทของวัฒนธรรม

การจัดประเภทตามลักษณะ การจัดประเภทตามเนื้อหา

ที่มองเห็นหรือสัมผัสได้
คติ ธรรม วัตถุธรรม เนติ ธรรม สหธรรม
วัฒนธรรมทาง วัฒนธรรมทา    
วัตถุ งอวัตถุ
 
ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง ตัวอย่าง
ตัวอย่าง ตัวอย่าง
 ความเมตตา  บ้ าน  กฎหมาย  มารยาทใน
 ค่านิยม  ความกรุณา  รถยนต์  กฎศีลธรรม การพบ
 หนังสือ ผู้ใหญ่
 มารยาท  ความ  โทรทัศน์  จารีต
 แว่นตา
 ปรัชญา กตัญญู  หนังสือ  มารยาทใน
 รถยนต์
 ความเชื ่อ  ความขยัน  เครื ่องแต่ง การเข้ า
 โทรทัศน์ สังคม
 ความอดทน กาย
 ถนน

(หมายเหตุ นักเรี ยนสามารถยกตัวอย่างเป็ นอย่างอืน่ ได้ตามความเหมาะสม ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพแล้วเขียนบรรยายใต้ภาพ ให้เห็นความสอดคล้องของภาพกับลักษณะ


ของวัฒนธรรมไทย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.2 เรื่อง ลักษณะของวัฒนธรรมไทย


คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพแล้วเขียนบรรยายใต้ภาพ ให้เห็นความสอดคล้องของภาพกับลักษณะ
ของวัฒนธรรมไทย

แนวความคิด ความเชื่อของคนไทย จะอยู่ ภาษาไทยเป็นสื่อกลางในการติดต่อสัมพันธ์


บนพื้นฐานของพระพุทธศาสนา กัน

ขนบธรรมเนียมประเพณีของคนไทย สภาพทางภูมิศาสตร์ ทาให้เกิดประเพณี


ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

พระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมจิตใจ มีการทาพิธีกรรมในวันสาคัญของชาติ
เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน

การปรุงอาหารมีความประณีตพิเศษ เป็น วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นวันที่


อย่างหนึ่งของวัฒนธรรมหลัก ชาวไทยมาร่วมพิธีกรรมอย่างพร้อมเพรียง

การขัดเกลาทางสังคม ส่งผลต่อบุคลิกภาพ มีประเพณีที่แสดงถึงความรัก ความกตัญญู


ในวันสาคัญต่างๆ เช่น วันสงกรานต์
วันลอยกระทง
(หมายเหตุ นักเรี ยนอาจบรรยายภาพตามความคิ ดเห็นของนักเรี ยน ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือที่สาคัญเกี่ยวกับอาหารคืออะไร มีลักษณะสาคัญอย่างไร จงอธิบาย

2. วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อของชาวไทยภาคเหนือ ได้แก่อะไรบ้าง มีลักษณะสาคัญ


อย่างไร จงอธิบาย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.3 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือที่สาคัญเกี่ยวกับอาหารคืออะไร มีลักษณะสาคัญอย่างไร จงอธิบาย


ประเพณีเลี้ยงข้าวแลงขันโตก หรือกิ๋นข้าวแลงขันโตก มีการแห่นาขบวนขันโตก มีสาวงามช่างฟ้อน
มีดนตรีประกอบ เมื่อถึงงานเลี้ยงจะนากระติบหลวงไปวางกลางงาน แล้วนาข้าวนึ่งแบ่งใส่กระติบ
เล็กๆแจกไปตามโตกต่างๆ อาหารที่เลี้ยงที่เป็นกับข้าว คือ แกงฮังเล แกงอ่อม แกงแค ไส้อั่ว น้าพริก
อ่อง น้าพริกหนุ่ม แคบหมู ผักสด ของหวาน เช่น ขนมปาด ข้าวแต๋น

2. วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อของชาวไทยภาคเหนือ ได้แก่อะไรบ้าง มีลักษณะสาคัญ


อย่างไร จงอธิบาย
1. งานทาบุญ ทอดผ้าป่าแถว ในบริเวณรอบนอกของจังหวัดกาแพงเพชร ซึ่งทาในคืนวัน
ลอยกระทง ชาวบ้านจะนาองค์ผ้าป่าไปไว้ในลานวัด นาพาดบนกิ่งไม้ เครื่องไทยธรรมก็จะนาวางใต้
กิ่งไม้ เจ้าของผ้าป่าไปจับสลากรายชื่อพระภิกษุ พระภิกษุจะไปชักผ้าป่า แล้วนั่งรวมกันให้ศีล เจริญ
พระพุทธมนต์ให้พร
2. งานทาบุญตานก๋วยสลาก หรือการทาบุญสลากภัต (ทานสลาก) ทาในวันเพ็ญ เดือน 12 แต่
ละครอบครัวจะเตรียมงานเรียกว่า “วันตา” ผู้หญิงไปซื้อของ ผู้ชายจะเหลาตอกสานก๋วยไว้หลายๆ
ใบ นามากรุด้วยใบตอง หรือกระดาษสี เพื่อบรรจุของกินของใช้ แล้วนาใบตองหรือกระดาษปิดมัด
ก๋วยรวมกันเป็นมัดๆ สาหรับเป็นที่จับ ส่วนตรงที่รวบไว้นี้ ชาวบ้านจะเสียบไม้ไผ่และสอดเงินไว้
เป็นเสมือนยอด
3. งานประเพณีการสืบชะตา หรือการต่ออายุ กระทาขึ้นเพื่อยืดชีวิตด้วยการทาพิธี เพื่อให้
เกิดพลังรอดพ้นความตายได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ ประเพณีการสืบชะตาคน ประเพณีการ
สืบชะตาบ้าน และสืบชะตาเมือง
การสืบชะตาคนจะกระทาขึ้นเมื่อเกิดการเจ็บป่วย หรือหมอดูทักว่าชะตาไม่ดี การสืบชะตา
บ้านและการสืบชะตาเมือง เป็นอุบายให้ญาติพี่น้องและผู้เกี่ยวข้องมารวมกัน เพื่อให้กาลังใจและ
ปรึกษาหารือในการแก้ปัญหาบ้านเมือง

(หมายเหตุ นักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ภาคกลางด้ านศาสนา
และลัทธิความเชื่อที่
สาคัญได้ แก่อะไรบ้ าง
1.
จงยกตัวอย่าง

2. วัฒนธรรม
เกี่ยวกับการดารงชีวิตทาง
การเกษตรของภาค
กลางได้แก่อะไรบ้าง
จงยกตัวอย่าง

3. วัฒนธรรมด้านยาและ
การรักษาพื้นบ้าน
ที่สาคัญคืออะไร
จงยกตัวอย่าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.4 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. ประเพณีรับบัวโยน ที่อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ


เป็นประเพณีนมิ นต์หลวงพ่อโตขึ้นเรือแล่นไปให้ชาวบ้าน
นมัสการ ชาวบ้านจะคอยอยูร่ มิ คลอง และเด็ดดอกบัว
1. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ริมน้าโยนเบาๆขึ้นไปบนเรือของหลวงพ่อ
ภาคกลางด้ านศาสนา
2. การบูชารอยพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ประชาชนจะ
และลัทธิความเชื่อที่
พากันไปนมัสการรอยพระพุทธบาทในพระมณฑป ซึ่ง
1. สาคัญได้ แก่อะไรบ้ าง
เป็นปูชนียสถานที่สาคัญทีเ่ ชื่อว่าเป็นรอยพระพุทธบาท
จงยกตัวอย่าง
ของพระพุทธเจ้า
3. ประเพณีตักบาตรเทโว จังหวัดอุทัยธานี
4. ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย จังหวัดฉะเชิงเทรา

2. วัฒนธรรม การทาขวัญข้าว ซึ่งนิยมในหมู่ของคนไทยภาคกลาง


เกี่ยวกับ ไทยยวน ไทยอีสาน จะทากันเป็นระยะ คือ ก่อนข้าวออกรวง หลังนวด
การดารงชีวิตทาง ข้าว และขนข้าวขึ้นยุ้ง
การเกษตรของภาค
กลางได้แก่อะไรบ้าง
จงยกตัวอย่าง

ตารายาไทยแผนโบราณ รวม 318 ขนาน เช่น ยาแก้ ไข้ ยาแก้


3. วัฒนธรรมด้ านยาและ ท้ องเสีย ยาขับโลหิต ยาแก้ ไอ ยาแก้ ท้องขึ ้นท้ องเฟ้อ ยาแก้ ลม ยา
การรักษาพื ้นบ้ าน ส่วนใหญ่เป็ นพืชสมุนไพรและแร่ธาตุ

ที่สาคัญคืออะไร

จงยกตัวอย่าง

(หมายเหตุ นักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ด้ านอาหารของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่สาคัญได้ แก่
อะไรบ้ าง

1.

2. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ด้ านศาสนาและลัทธิ
ความเชื่อของภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือที่สาคัญ
ได้ แก่อะไรบ้ าง

3. วัฒนธรรมด้ านที่เกี่ยว
กับการดารงชีวติ ทาง
การเกษตรของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้ แก่อะไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1. 5 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมท้ องถิ่น มีการปรุงอาหารโดยเก็บพืชผักมาประกอบรวมกับเนื ้อสัตว์แล้ วทาให้


ด้ านอาหารของภาค สุก เช่น นึง่ ต้ ม ย่าง อาหารที่ประกอบแล้ ว เช่น แกงอ่อม อ๋อ หมกยา
ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่า คัว่ หลู้ ป่ น หลน เหนียน ซุป ลาบ ก้ อย แจ่ว มีการถนอมอาหาร
ที่สาคัญได้ แก่
อะไรบ้ าง
โดยนามาตากแห้ งและใช้ วิธีหมักตามธรรมชาติ

1.
1. บุญบังไฟ
้ เป็ นการเตรี ยมไถนาและจัดบูชาพิธีบชู าพญา
แถนทุกปี ด้วยการทาบังไฟ
้ โดยมีความเชื่อว่าของสิง่ ลี ้ลับ
และเทวดาหรื อพญาแถนที่อยู่บนสวรรค์สามารถบันดาล
ให้ ฝนตกได้
2. วัฒนธรรมท้ องถิ่น 2. การแห่ผีตาโขนที่อาเภอด่านซ้ าย จังหวัดเลย ผู้เล่นจะนารู ป
ด้ านศาสนาและลัทธิ หน้ ากากที่มีลกั ษณะน่าเกลียดมาใส่ แต่งตัวมิดชิด เข้ า
ขบวนแห่ มีการรวมบุญประเพณี บุญพระเวสและบุญ
ความเชื่อของภาคตะวัน บังไฟเข้
้ าด้ วยกัน มีการทาพิธีอญ ั เชิญพระอุปคุตเข้ ามา
ออกเฉียงเหนือที่สาคัญ ประดิษฐานในวัดโพนชัย เพราะเชื่อว่าจะสามารถป้องกัน
ได้ แก่อะไรบ้ าง เหตุเภทภัยต่างๆที่จะเกิดในงานได้

3. วัฒนธรรมด้ านที่เกี่ยว งานบุญคูนลาน เป็ นประเพณีอย่างหนึง่ ในฮีตสิบสอง หรื องานทาบุญ


กับการดารงชีวติ ทาง สาคัญในรอบปี คือ งานทาขวัญข้ าวก่อนขนข้ าวมาสู่
การเกษตรของภาค ยุ้งฉาง เป็ นสิริมงคล เพิม่ ความมัง่ มีศรี สขุ แก่ตนและครอบครัว เป็ น
ตะวันออกเฉียงเหนือ การอัญเชิญขวัญข้ าว คือ พระแม่โพสพ ให้ มาอยูป่ ระจาข้ าว การทา
ได้ แก่อะไรบ้ าง นาจะได้ อดุ มสมบูรณ์

(หมายเหตุ นักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสมได้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ใบงานที่ 1. 6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ภาคใต้ ด้านอาหาร
ได้ แก่อะไรบ้ าง

1.

2. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ภาคใต้ ด้านศาสนาและ
ลัทธิความเชื่อที่สาคัญ
ได้ แก่อะไรบ้ าง

3. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ภาคใต้ ด้านศิลปะ
ได้ แก่อะไรบ้ าง

ใบงานที่ 1. 6 เรื่อง วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

ประเพณีกินผักของชาวภูเก็ต มีการนาผักไปใช้ ประโยชน์ในการเป็ น


1. วัฒนธรรมท้ องถิ่น อาหาร คือ ใช้ ปรุงอาหาร ใช้ รับประทานสด ใช้ ลวก ดอง และใช้ ได้ ทงั ้
ภาคใต้ ด้านอาหาร ปรุงอาหารและรับประทานสด การบริ โภคผักทาให้ ร่างกายแข็งแรง
ได้ แก่อะไรบ้ าง ควบคุมภาวะธาตุในร่างกายให้ อยูใ่ นภาวะสมดุล

1.
1. ประเพณีลากพระ ชักพระ หรื อแห่พระ ชาวบ้ านจะอัญเชิญ
พระพุทธรู ปจากวัดขึ ้นรถล้ อเลื่อนหรื อเรื อ แล้ วลากหรื อ
ชักแห่ไปตามถนน หรื อตามแม่น ้าลาคลอง ประชาชนจะ
นาภัตตาหารไปใส่บาตรที่เรี ยงไว้ ตรงหน้ าพระลาก เรี ยกว่า
2. วัฒนธรรมท้ องถิ่น
ตักบาตรหน้ าล้ อ ชาวบ้ านจะนิยมนาต้ ม(ข้ าวเหนียวห่อใบ
ภาคใต้ ด้านศาสนาและ
กะพ้ อทาเป็ นรู ปสามเหลี่ยม) มาแขวนที่ล้อเลื่อนเพื่อทาบุญ
ลัทธิความเชื่อที่สาคัญ
2. ประเพณีสารทเดือนสิบของจังหวัดนครศรี ธรรมราช เพื่อ
ได้ แก่อะไรบ้ าง
อุทศิ ส่วนบุญกุศลให้ แก่ผ้ ลู ว่ งลับ

1. ประเพณีการราโนรา มีความสัมพันธ์กบั วิถีชีวิตของ


ชาวบ้ าน เป็ นความเชื่อทางพระพุทธศาสนาผสมผสานกับ
3. วัฒนธรรมท้ องถิ่น ลัทธิพราหมณ์-ฮินดู และความเชื่อในเรื่ องไสยศาสตร์ หรื อ
ผีสางเทวดา เซ่นไหว้ บรรพบุรุษ
ภาคใต้ ด้านศิลปะ
2. ประเพณีตกั บาตรธูปเทียน เป็ นการทาบุญด้ วยธูปเทียน
ได้ แก่อะไรบ้ าง และดอกไม้ เนื่องในเทศกาลเข้ าพรรษา เพื่อให้ พระสงฆ์ที่
จาพรรษานาธูปเทียนใช้ บชู าพระรัตนตรัยตลอดพรรษา

(หมายเหตุ นักเรี ยนอาจตอบเป็ นอย่างอื ่นตามความเหมาะสมได้ ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การร่วม
ชื่อ – สกุล การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ รวม
ลาดับ ความร่วมมือ ปรับปรุง
ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน
ที่ ของผู้รับการ ผลงานกลุ่ม 20
ประเมิน คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2
ปรับปรุง = 1
หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ตามความเหมาะสมก็ได้
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
5–8 ปรับปรุง
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย


รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
วัฒนธรรมไทย มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาอันมีผลมาจากปัจจัยหลายประการ ดังนั้น ทุกคนจึงควร
ร่วมมือกันอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงามและเลือกรับวัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะสม
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/5 วิเคราะห์ความจาเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือก
รับวัฒนธรรมสากล
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความจาเป็นในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากลได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
- ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์วัฒนธรรม

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง


ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูนาภาพต่อไปนี้มาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ความแตกต่าง และสาเหตุของความแตกต่าง
1)อาหาร เช่น อาหารไทย อาหารจีน อาหารญี่ปุ่น อาหารยุโรป
2)การแต่งกาย เช่น การแต่งกายของชาวไทย การแต่งกายของชาวญี่ปุ่น การแต่งกายของชาวยุโรป
3)อาคารบ้านเรือน เช่น บ้างทรงไทย บ้านทรงตะวันตก
4)ยารักษาโรค เช่น ยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ สมุนไพร
ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า ภาพต่างๆที่ครูนามาให้นักเรียนดูและช่วยกันวิเคราะห์นั้น เป็นส่วนหนึ่ง
ของความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล ซึ่งแต่ละประเทศหรือแต่ละสังคมจะสร้างวัฒนธรรมของ
ตนเองขึ้นมา และมีเอกลักษณ์เฉพาะที่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมนั้นๆ ทุกสังคมจะมีวัฒนธรรม
พื้นฐานที่เหมือนกัน เรียกว่า วัฒนธรรมสากล และมีการกระจายวัฒนธรรมสากลไปยังภูมิภาคต่างๆ
- ขั้นสอน
ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม (ในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ศึกษาความรู้เรื่อง การปรับปรุงเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมไทย และ
ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล จากหนังสือเรียน แล้วช่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์
วัฒนธรรม

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงาน และร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมไทย อิทธิพลของชาติตะวันตกที่มีต่อวัฒนธรรมไทย การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมไทย ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

ชั่วโมงที่ 2-3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูให้นักเรียนเล่าความประทับใจในวัฒนธรรมที่ดีงามของไทย มาคนละ 1 อย่าง และให้อธิบายเหตุผลว่า เพราะเหตุใด
จึงประทับใจ ซึ่งนักเรียนจะมีเหตุผลหลากหลายแตกต่างกันออกไป

- ขั้นสอน
1. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทยที่ได้สร้างและสั่งสมกันมาเป็นเวลานาน จนเป็น
เอกลักษณ์ของตนเอง มรดกทางวัฒนธรรมล้วนมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของคนไทย
มีประโยชน์ต่อคนรุ่นหลังไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมทางด้านวัตถุ และวัฒนธรรมทางด้านจิตใจ หรือจะ
เป็นวัฒนธรรมตามเนื้อหา คือ ทางคติธรรม วัตถุธรรม เนติธรรม หรือสหธรรม จึงเป็นหน้าที่ของ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ชาวไทยทุกคนจะต้องร่วมมือกันอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงามไว้ และยังต้องรู้จักเลือกรับวัฒนธรรม
สากลที่ดีงามเช่นเดียวกัน
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้ เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม และวิธีการเลือกรับ
วัฒนธรรมสากล จากหนังสือเรียน หรือแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
3. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาเขียนเป็นบทความ เรื่อง
การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและการเลือกรับวัฒนธรรมสากล โดยเขียนเป็นบทวิเคราะห์และนาเสนอความคิดเห็น ใน
ประเด็นต่อไปนี้
1)ความจาเป็นที่จะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย
2)แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
3)การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน ซึ่งอาจจะใช้วิธีหลากหลาย เช่น
-การอภิปราย
-การถามตอบ
-การแสดงบทบาทสมมุติ
-การบรรยาย
-การบรรยายสลับการแสดงสถานการณ์จาลอง

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปถึงความจาเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
และเลือกรับวัฒนธรรมสากล
 นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง วัฒนธรรมไทย
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถวิเคราะห์ ใบงานที่ 2.1 ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ความจาเป็นในการ
ปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง
วัฒนธรรมไทยได้
สามารถอธิบายความ แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่าน
แตกต่างระหว่าง เกณฑ์
วัฒนธรรมไทยกับ
วัฒนธรรมสากลได้
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน
ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

ตัวอย่ ำงสื่อประกอบกำรสอน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

อาหารไทย

อาหารจีน

อาหารญี่ปนุ่

อาหารยุโรป

ตัวอย่ ำงสื่อประกอบกำรสอน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การแต่งกายของชาวไทย

การแต่งกายของชาวญี่ปนุ่

การแต่งกายของชาวยุโรป

ตัวอย่ ำงสื่อประกอบกำรสอน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

บ้านทรงไทย

บ้านทรงตะวันตก

ตัวอย่ ำงสื่อประกอบกำรสอน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ยาแผนปัจจุบนั

ยาแผนโบราณ

สมุนไพร

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์วัฒนธรรม

ตอนที่ 1

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมดั้งเดิมของไทยผูกพันกับวัฒนธรรมชาติใด จงยกตัวอย่าง

2. วัฒนธรรมของชาวตะวันตกที่เผยแพร่เข้ามาในประเทศไทยนั้น เกี่ยวกับเรื่องใด

3. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างรวดเร็ว มีผลต่อสังคมและวัฒนธรรมอย่างไร

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

วัฒนธรรมสากล วัฒนธรรมไทย

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง วิเคราะห์วัฒนธรรม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมดั้งเดิมของไทยผูกพันกับวัฒนธรรมชาติใด จงยกตัวอย่าง
วัฒนธรรมอินเดียและจีน เช่น ความเชื่อ ศาสนา พระมหากษัตริย์ พิธีกรรม อาหาร มารยาท
และวิถีการดาเนินชีวิต

2. วัฒนธรรมของชาวตะวันตกที่เผยแพร่เข้ามาในประเทศไทยนั้น เกี่ยวกับเรื่องใด
ความรู้ ความคิด และวิทยาการแผนใหม่ เช่น การพิมพ์ การแพทย์ การศึกษา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี การคมนาคมขนส่ง การปกครอง การแต่งกาย

3. การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างรวดเร็ว มีผลต่อสังคมและวัฒนธรรมอย่างไร
1. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว มีผลต่อความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว
เปลี่ยนไป ครอบครัวที่เคยมีความสัมพันธ์กันอย่างอบอุ่นก็ต้องห่างเหินกัน
2. วิถีชีวิตของคนในสังคมเปลี่ยนแปลงไป ลักษณะที่เคยมีความเกื้อกูลกัน ช่วยเหลือกัน ก็มีความ
ห่างเหินกัน ต่างคนต่างอยู่ ขาดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันในชุมชนและสังคมทั่วไป

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

วัฒนธรรมสากล วัฒนธรรมไทย
1. เน้นปรัชญา “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถ 1. เน้นปรัชญา “มนุษย์ควรอยู่แบบผสมกลมกลืนกับ
บังคับธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของ ธรรมชาติ” วัฒนธรรมไทยจะสอดคล้องกับสภาพ
มนุษย์ เช่น การประดิษฐ์รถยนต์ เครื่องใช้ แทน ธรรมชาติ เช่น การสร้างบ้านเรือน
การเดินทางโดยสัตว์พาหนะ

2. มีการแบ่งทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสองส่วนตรงกันข้าม 2. เน้นการมองทุกอย่างเป็นองค์รวมการที่จะส่งเสริม
กัน เช่น ขาว-ดา ดี-เลว ทันสมัย-ล้าสมัย โลกให้มีความสมดุลนั้น ต้องอาศัยปัจจัยหรือ
องค์ประกอบต่างๆ

3. เน้นการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่ตั้งอยู่บน 3. ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ แต่เน้นปัจจัยที่


เหตุผลของปัจจัยที่สามารถสัมผัสได้ มีการตั้ง สัมผัสได้มาศึกษาร่วมกับปัจจัยทางจิตใจ ความคิด
สมมุติฐานพิสูจน์ปัจจัยต่างๆ ว่าเป็นไปตาม ความเชื่อทางพระพุทธศาสนาควบคู่กันไป เชื่อม
สมมุติฐานหรือไม่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้ โยงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
ความรู้ใหม่ เพื่อนาไปสร้างทฤษฎีเชิงพาณิชย์ สิ่งแวดล้อม มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับสิ่งที่มี
มีการสร้างเครื่องมือ เครื่องใช้ที่ทันสมัย อานาจนอกเหนือธรรมชาติ

(หมายเหตุ นักเรียนอาจตอบเป็นอย่างอื่นตามความเหมาะสม ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พลเมืองดี
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีนั้น มีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ ซึ่งประชาชนทุกคนนาหลัก
คุณธรรม จริยธรรม มาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/3 ปฏิบัติตนและมีส่วนสนับสนุนให้ผู้อื่น ประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและ
สังคมโลก
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความสาคัญและคุณลักษณะของพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายแนงทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- กิจกรรมที่ 1 พลเมืองดี
ใบงานที่ 1 พลเมืองดีเป็นศรีประเทศ
- กิจกรรมที่ 2 วิถีชีวิตพลเมืองดี

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1-2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูให้ นกั เรี ยนยกตัวอย่างการกระทาของตนเองที่แสดงว่า เป็ นพลเมืองดีของสังคมหรื อประเทศชาติ
แล้ ววิเคราะห์ผลของการปฏิบตั ิตน
ตัวอย่างการปฏิบตั ติ น เช่น
- ปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎ กติกา และระเบียบของชุมชน
- ช่วยชุมชนและท้ องถิ่นพัฒนาความสะอาด ปลูกต้ นไม้ จัดสวนสาธารณะ ลอกคลอง ซ่อมแซม
ถนนหนทาง
- บริจาคเงินการกุศลเพื่อซ่อมแซมสาธารณสมบัติ ศาสนสถาน
- รณรงค์ให้ ประชาชนไปใช้ สิทธิเลือกตังทั
้ งระดั
้ บท้ องถิ่นและระดับประเทศ
- สมัครเป็ นอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย ชมรมสาธารณประโยชน์ ชมรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้ อม
- ร่วมกิจกรรมของชุมชนในการเดินรณรงค์ปอ้ งกันและต่อต้ านยาเสพติด กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์
ยุงลาย

- ขั้นสอน
2. ครูให้ นกั เรี ยนยกตัวอย่างบุคคลที่มีการกระทาที่แสดงถึงการเป็ นพลเมืองดีของสังคม ประเทศชาติ
และสังคมโลก แล้ วช่วยกันวิเคราะห์ผลของการปฏิบตั ิตนของบุคคลดังกล่าว

3. นักเรี ยนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 4-5 คน ช่วยกันทาใบงานที่ 1.1 เรื่ อง พลเมืองดีเป็ นศรี ประเทศ

4. นักเรี ยนออกมานาเสนอผลงาน 3-4 กลุม่ และให้ กลุม่ ที่มีผลงานแตกต่างกันออกไปได้ นาเสนอ

ผลงานเพิ่มเติม

5. ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปความสาคัญของพลเมืองดีในด้ านสังคม ด้ านเศรษฐกิจ ด้ านการเมือง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การปกครอง และคุณลักษณะของพลเมืองดี

6. ครูมอบหมายให้ นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้ เรื่ อง คุณธรรม จริยธรรมของการเป็ นพลเมืองดี

ของประเทศชาติและสังคมโลก จากหนังสือเรี ยน และให้ ไปสัมภาษณ์บคุ คลที่เป็ นพลเมืองดี

ในท้ องถิ่นที่นกั เรี ยนมีภมู ิลาเนาอยู่ และบันทึกลงในแบบบันทึกสรุปการสัมภาษณ์พลเมืองดี โดยให้

นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ไปวางแผนการตังค


้ าถาม เพื่อให้ ได้ ข้อมูลมาสรุปลงในแบบบันทึก

7. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ นาข้ อมูลการสัมภาษณ์มาบันทึกสรุปในแบบบันทึกการสัมภาษณ์พลเมืองดี

8. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานต่อชันเรี


้ ยนด้ วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสนทนา การถามตอบ
การแสดงบทบาทสมมุติ การบรรยาย การบรรยายประกอบดนตรี /เพลง การอภิปราย ฯลฯ

9. นักเรี ยนกลุม่ ที่เป็ นผู้ฟังทาหน้ าที่วิเคราะห์ข้อคิดจากการฟั ง การนาเสนอผลงาน เมื่อจบการนาเสนอในแต่ละ


กลุม่

ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปคุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม พลเมืองดีของประเทศและสังคมโลก

ชั่วโมงที่ 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูสนทนาซักถามนักเรี ยนถึงผลงานการไปสัมภาษณ์พลเมืองดีของแต่ละกลุม่ ในประเด็นต่อไปนี ้ -
การเลือกบุคคลที่มีคณ
ุ ลักษณะของการเป็ นพลเมืองดี

- การวางแผนไปสัมภาษณ์ (การประสานงานของกลุม่ กับผู้ให้ สมั ภาษณ์)

- ความร่วมมือของผู้ให้ สมั ภาษณ์

- วิธีการสัมภาษณ์

- วิธีการบันทึกสรุปข้ อมูลการสัมภาษณ์

- ปัญหา/อุปสรรค และวิธีการแก้ ไข

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ขั้นสอน
นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลงานการสัมภาษณ์พลเมืองดี ซึง่ อาจนาเสนอในรูปแบบต่างๆ ที่นา่ สนใจ
เช่น
- การสนทนา - การถามตอบ
- การแสดงบทบาทสมมุติ - การบรรยาย
- การบรรยายประกอบดนตรี /เพลง - การอภิปราย ฯลฯ
3. นักเรี ยนที่เป็ นผู้ฟังการนาเสนอผลงานจะมีหน้ าที่วิเคราะห์ข้อคิดที่ได้ จากการฟั ง เมื่อจบการนาเสนอ
ของแต่ละกลุม่
4. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ นาผลงาน บันทึกสรุปการสัมภาษณ์พลเมืองดี มาจัดป้ายนิเทศแสดงผลงานของ
นักเรี ยนที่หน้ าชันเรี
้ ยน

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนร่วมกันสรุปคุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรม พลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่ 1.1 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถวิเคราะห์ ใบงานที่ 1.1 ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ความสาคัญและ
คุณลักษณะของ
พลเมืองดีของ
ประเทศชาติและ
สังคมได้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สามารถอธิบายแนว การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์


ทางการปฏิบัติตน
เป็นพลเมืองดีได้
สนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด
11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน
6. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
7. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

8. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

9. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย ที่ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย กรณีที่


เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา เกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง สามารถนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
10. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยพลเมืองดี หน่วยพลเมืองดี หน่วยพลเมืองดี
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยพลเมืองดี หน่วยพลเมืองดี หน่วยพลเมืองดี
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง พลเมืองดีเป็นศรีประเทศ


ตอนที่ 1
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ความสาคัญของพลเมืองดี ด้ ำนเศรษฐกิจ

ด้ ำนสังคม

ควำมสำคัญ
ของพลเมืองดี

ด้ ำนกำรเมืองกำรปกครอง

ตอนที่ 2

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนเขียนแผนผังความคิด เรื่ อง คุณลักษณะพลเมืองดี


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง พลเมืองดีเป็นศรีประเทศ

ตอนที่ 1
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ความสาคัญของพลเมืองดี

ด้ านสังคม ด้ านเศรษฐกิจ
- สังคมสงบเรี ยบร้ อย เพราะทุกคนปฏิบตั ติ ามกฎ - ฐานะทางเศรษฐกิจของแต่ละครอบครัวมัน่ คง
กติกา กฎหมาย เพราะสมาชิกในครอบครัวรู้ จกั ใช้ จา่ ยอย่าง
- สังคมสงบ เพราะทุกคนสามารถแก้ ปัญหาความ มีเหตุผล
ขัดแย้ งได้ ด้วยเหตุผล - - ประชาชนรู้ จกั ปฏิบตั ติ นอย่างพอเพียง เพราะ
สังคมได้ รับการพัฒนา เพราะพลเมืองดีจะเสียสละ พลเมืองย่อมต้ องรู้ จกั การออม และปฏิบตั ติ าม
และร่ วมมือกันพัฒนาท้ องถิ่นและสังคม นโยบายของประเทศ
- มีการช่วยเหลือกันในการพัฒนาอาชีพ เพราะ
พลเมืองดีย่อมมีการช่วยเหลือและบาเพ็ญ
ประโยชน์ตอ่ ผู้อื่น

ควำมสำคัญ
ของพลเมืองดี

ด้ านการเมืองการปกครอง
- การดาเนินกิจกรรมวิถีประชาธิปไตยเป็ นไปอย่างมีระบบ เพราะประชาชน
จะตระหนักถึงความสาคัญและมีสว่ นร่ วมในการเมืองการปกครอง
- ประชาชนปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เพราะทุกคนจะต้ องปฏิบตั ติ นเป็ นสมาชิกที่ดี
ในการเคารพกฎ กติกา และระเบียบของสังคม
- ประชาชนปฏิบตั ติ ามสิทธิ หน้ าที่ของตน เพราะต้ องทาตามบทบัญญัตขิ อง
รัฐธรรมนูญ

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิด เรื่อง คุณลักษณะพลเมืองดี

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เคารพกฎหมาย มีคณ
ุ ธรรม จริ ยธรรม

เคารพสิทธิ เสรี ภาพผู้อื่น


ร่ วมกิ จกรรมต่างๆ ทาง
การเมื องการปกครอง
คุณลักษณะ
พลเมืองดี
ร่วมมือในการแก้ ปัญหาของชุมชน
มีเหตุผล ใจกว้ าง รับฟั ง
สังคม ประเทศชาติ และสังคมโลก
ความคิดเห็นของผู้อื่น

รับผิดชอบต่อหน้ าที่ ครอบครัว


โรงเรี ยน ชุมชน ประเทศชาติ
สังคมโลก

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

ชื่อ – สกุล ความร่วมมือ การร่วม รวม


ลาดับ การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ
ปรับปรุง
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ที่ ของผู้รับการ ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน ผลงานกลุ่ม 20


ประเมิน คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2
ปรับปรุง = 1
หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ตามความเหมาะสมก็ได้
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
5หน่
– 8วยการเรียนรู
ปรับ้ทปรุี่ 3ง เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องวิถึชีวิตพลเมืองดี
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์


เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
พลเมืองของประเทศชาติและสังคมโลกย่อมต้องมีส่วนร่วมและสนับสนุนผู้อื่นให้มีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไข
ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง และเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง ซึ่งจะส่งผลดีต่อการ
อยู่ร่วมกันอย่างปกติสุข
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/3 ปฏิบัติตนและมีส่วนสนับสนุนให้ผู้อื่น ประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและ
สังคมโลก
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาตนเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลกได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายบทบาทหน้าที่ของพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
- ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี
- ใบงานที่ 2.2 เรื่อง วิเคราะห์พลเมืองดี

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง
ค่อนข้างอ่อน และอ่อน (ครูแบ่งนักเรียนไว้ล่วงหน้า)
- ขั้นสอน
นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ผลัดกันเล่าเรื่ องรอบวงในหัวข้ อที่กาหนด เรี ยงตามประเด็นในใบงานที่ 2.1
เรื่ อง แนวทางการปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดี ดังนี ้
1) แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
2) แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็ นสมาชิกที่ดีของโรงเรี ยน
3) แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน
4) แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็ นสมาชิกที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก
3. การดาเนินการเล่าเรื่ องจะเริ่ มต้ น ดังนี ้
- สมาชิกคนที่ 1 เริ่มเล่าแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
แล้ วสมาชิกคนที่ 2-3-4 จะเล่าเพิ่มเติมตามลาดับ จากนันทุ
้ กคนจดบันทึกประเด็นสาคัญลงใน
ใบงานที่ 2.1 หัวข้ อที่ 1
- สมาชิกคนที่ 2 เริ่มเล่าแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของโรงเรี ยน
แล้ วสมาชิกคนที่ 3-4-1 จะเล่าเพิ่มเติมตามลาดับ จากนันทุ
้ กคนจดบันทึกประเด็นสาคัญลงใน
ใบงานที่ 2.1 หัวข้ อที่ 2
- สมาชิกคนที่ 3 เริ่มเล่าแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน

แล้ วสมาชิกคนที่ 4-1-2 จะเล่าเพิ่มเติมตามลาดับ จากนันทุ


้ กคนจดบันทึกประเด็นสาคัญลงใน

ใบงานที่ 2.1 หัวข้ อที่ 3

- สมาชิกคนที่ 4 เริ่มเล่าแสดงความคิดเห็นถึงแนวทางการปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของประเทศชาติ

และสังคมโลก แล้ วสมาชิกคนที่ 1-2-3 จะเล่าเพิ่มเติมตามลาดับ จากนันทุ


้ กคนจดบันทึกประเด็น

สาคัญลงในใบงานที่ 2.1 หัวข้ อที่ 4

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

4. เมื่อสมาชิกทุกคนแสดงความคิดเห็นจนครบทุกประเด็นแล้ ว ให้ ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้ อง

และเพิ่มเติมตามความเหมาะสม จากนันให้
้ ชว่ ยกันแสดงความคิดเห็นว่า แนวทางการปฏิบตั ิตนเป็ น
สมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรี ยน ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลกนัน้ นักเรี ยนสามารถนาไป

ปฏิบตั ไิ ด้ จริงในเรื่ องใดได้ บ้าง และปฏิบตั ิอย่างไร

5. ตัวแทนนักเรี ยนแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลงานต่อชันเรี


้ ยน หรื อครูอาจสุม่ ตัวอย่างนาเสนอ

ผลงานต่อชันเรี
้ ยน 2-3 กลุม่ แล้ วให้ กลุม่ ที่มีผลงานแตกต่างกันได้ ออกไปนาเสนอเพิ่มเติม

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปแนวทางการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน ชุมชน
ประเทศชาติ และสังคมโลก และมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนได้ปฏิบัติตนตามแนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี แล้ว
บันทึกสิ่งที่นักเรียนปฏิบัติได้จริงและรายงานผลต่อครู ครูชมเชยนักเรียนที่ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของพลเมืองดี

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูนาชื่อบุคคลที่มีชื่อเสียงในด้านต่างๆ มาให้นักเรียนเล่นเกมแข่งขันทายปัญหาว่า เขาคือใคร มีความสาคัญอย่างไร
เป็นพลเมืองดีของประเทศหรือสังคมโลกในด้านใด โดยให้นักเรียนรวมกลุ่มกันเป็น 5-6 กลุ่ม ตามความเหมาะสม
ตัวอย่างชื่อบุคคล เช่น
-นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
-นายสัญญา ธรรมศักดิ์
-นายสุชีพ ปุญญานุภาพ
-นายอนันต์ ปัญยารชุณ
-ม.ล.ปิ่น มาลากุล
-นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ
-นายกรณ์ จาติกวณิช
-นายศุภชัย พานิชภักดิ์
ฯลฯ

- ขั้นสอน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1.ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มที่หาข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับบุคคลที่มีการกระทาเป็นพลเมืองดี ที่ทาประโยชน์ต่อ
สังคมและประเทศชาติหรือสังคมโลก มาวิเคราะห์ตามหัวข้อในใบงานที่ 2.2 เรื่อง วิเคราะห์พลเมืองดี ดังนี้
1)บุคคลที่แสดงว่าเป็นพลเมืองดี คือใคร
2)เขามีการกระทาที่แสดงว่าเป็นพลเมืองดี อย่างไร
3)จากการปฏิบัติตนในข้อ 2 สอดคล้องกับคุณลักษณะของพลเมืองดีอย่างไร จง
อธิบาย
4)นักเรียนสามารถนาแบบอย่างของบุคคลดังกล่าวไปประยุกต์ปฏิบัติได้อย่างไร
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานต่อชั้นเรียน โดยให้กลุ่มอื่นที่เป็นผู้ฟังได้ให้ข้อคิดหรือ ข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติม
3.ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้รับจากการนาเสนอผลงานของพลเมืองดีในระดับ ชุมชน ประเทศ และ
สังคมโลก
4.ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันทากิจกรรมที่แสดงถึงการเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ
และสังคมโลกโดยให้ครอบคลุมประเด็นต่อไปนี้
1)การมีส่วนร่วมกิจกรรมทางการเมืองการปกครอง
2)การมีส่วนร่วมกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจ
3)การมีส่วนร่วมกิจกรรมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม
4)การมีส่วนร่วมกิจกรรมทางด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
5.นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งแผนการดาเนินกิจกรรมต่อครูผู้สอน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมก่อนนาไปปฏิบัติจริง
6.นักเรียนแต่ละกลุ่มดาเนินกิจกรรมตามแผนงานที่กาหนดในเวลาที่ตกลงกันระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียน ครู
จะคอยติดตามความเคลื่อนไหวของการดาเนินกิจกรรมของนักเรียนแต่ละกลุ่มเป็นระยะๆ
7.นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานผลการดาเนินงานตามกิจกรรมตามหัวข้อที่กาหนด
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปผลของการปฏิบัติตนและสนับสนุนให้ผู้อื่นปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และ
สังคมโลก
นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคม

9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ


2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขั้นขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถเขียน ใบงานที่ 2.1-2.2 ตรวจใบงานที่ 2.1- ใบงานที่ 2.1-2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
วิเคราะห์แนว 2.2
ทางการพัฒนาตน
เป็นพลเมืองดีของ
ประเทศชาติและ
สังคมโลกได้

สามารถอธิบาย แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่าน


บทบาทหน้าที่ของ เกณฑ์
พลเมืองดีของ
ประเทศชาติและ
สังคมได้

มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน


ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

ตัวอย่างข่าวเกี่ยวกับพลเมืองดี

เจาะชีวิตฉายาเภสัชกรยิปซี “ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ บุคคลแห่งปีเอเชีย” นักสู้เอดส์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ชื่อยาต้านไวรัสเอดส์อย่างซีโดวูดีน หรือเรียกสั้นๆ ว่า เอแซดที และ จีพีโอเวียร์ เป็นที่รู้จักในสังคมไทย มาระยะหนึ่งแล้ว


ซึ่งยานี้คิดค้นและผลิตโดยเภสัชกรไทย ขายโดยองค์การเภสัชกรรมของไทย ทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการซื้อยาจากต่างชาติได้
ถึง 26 เท่า โดยบุคคลที่อยู่เบื้องหลังความสาเร็จนี้ เมื่อหลายปีก่อนได้เดินทางไปถ่ายทอดการผลิตยาในหลายประเทศใน
ทวีปแอฟริกา จนได้รับฉายา “เภสัชกรยิปซี”
เจ้าของฉายา “ภสัชกรยิปซี” คนที่ว่านี้ ก็คือ “ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์” ซึ่งล่าสุดได้รับรางวัล “บุคคลแห่งปีของเอเชีย
ประจาปี ค.ศ. 2008” จากนิตยสารรีดเดอร์ส ไดเจสท์ ในฐานะที่เป็นบุคคลที่ทุ่มเททางานอย่างมิรู้จักเหน็ดเหนื่อย เพื่อ
ผลักดันให้ผู้ป่วยยากไร้ทั่วโลกมีโอกาสได้ใช้ยารักษาโรคเอดส์
เปิดฉากบทสนทนากับทีมวิถีชีวิต ถึงเหตุผลการลาออกจากตาแหน่งผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัช
กรรม ของ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เมื่อ พ.ศ. 2545 เจ้าตัวบอกว่า ก็เพื่อไปช่วยคนที่ แอฟริกาตามสัญญา
เพราะประเทศไทยไปประกาศในที่ประชุมองค์การอนามัยโลก เมื่อ พ.ศ. 2545 ว่าเราจะไปช่วยเขา แต่นักการเมืองซีก
รัฐบาลที่เกี่ยวข้องตอนนั้นประกาศเสร็จแล้วก็แล้วไป กลายเป็นสัญญาปากเปล่า ทีนี้คนแอฟริกันที่รู้จักกันเขาก็ถามว่า
เมื่อไหร่จะไปสักที ก็รู้สึกอายแทนเมืองไทย ก็เลยลาออกดีกว่า แล้วก็ไปช่วยเขาเอง
“ในประเทศไทยผู้ป่วยโรคเอดส์เยอะแยะ แต่เราก็ช่วยแล้ว ทายาแล้ว และคนไทยได้ใช้กันหมดแล้ว เราก็เลยไป และคิด
ว่าตัวเองมีความหมายกับที่อื่นมากกว่า เขาต้องการเรามากกว่า ไปเพราะว่าอยากไป และชอบทวีปนั้นมาตั้งแต่เรียน
หนังสือที่อังกฤษแล้ว มีเพื่อนชาวแอฟริกันเยอะ รูมเมท (เพื่อนร่วมห้อง) เป็นทั้งชาวไนจีเรีย และอาหรับ ก็รู้สึกมีความ
ผูกพันกับพวกเขา”
ดร.กฤษณาบอกต่อไปว่า ที่ไปก็เป็นการไปตามสัญญา ไปรักษาสัญญา เพราะว่าเป็นคนเขียนโครงการนี้ขึ้นมากับมือ แล้ว
เสนอขึ้นไปตามลาดับงาน ก็มีการไปประกาศในที่ประชุมองค์การอนามัยโลก ทุกคนก็ชื่นชมตบมือกันใหญ่ แต่เอาเข้า
จริงคนพูดก็พูดไป แต่ตนเป็นคนทา จึงรู้สึกว่าต้องรับผิดชอบ และก็เต็มใจที่จะไป ส่วนงานที่องค์การเภสัชกรรมนั้นไม่
ห่วง เพราะมีคนพร้อมที่จะสานต่อได้อย่างดี โดยเฉพาะเรื่องยาต้านไวรัสเอดส์
“ไม่ได้ยึดติดกับตาแหน่ง กับเงินเดือน โชคดีที่ไม่ได้ยากจนเท่าไหร่ ก็สบาย จึงใช้เงินตัวเองไปได้ อีกอย่างมันอยู่ที่ใจ ถ้า
คิดว่าพอ เราก็ไม่จาเป็นจะต้องใช้อะไรมากมาย”

อดีตผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม บอกอีกว่า ที่เลือกประเทศในทวีปแอฟริกา เพราะเขายังมี


ปัญหาเรื่องผู้นา ประชาชนยากจน และประเทศมหาอานาจเอาทรัพยากรไปหมด ทาให้ด้อยโอกาส ไม่มีจะกิน มีโรคภัย
ไข้เจ็บต่าง ๆ ทั้งเอดส์ มาลาเรีย วัณโรค
ในโลกนี้มีคนติดเชื้อเอดส์อยู่ 38 ล้านคน อยู่ที่ทวีปนี้ 30 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 90 และแต่ละปีคนตายเพราะมาลาเรีย
2 ล้านคน ตายมากกว่าโรคเอดส์ 2 เท่า ก็มองว่าถ้าไปอยู่ตรงนั้น น่าจะช่วยเขาได้มาก
ประเทศแรกในดินแดนกาฬทวีปที่ ดร.กฤษณาได้เดินทางไปคือ คองโก ประเทศที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วย
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเพชร แทนทาลัม น้ามัน ฯลฯ แต่ประชากรยากจนที่สุด เพราะถูกประเทศมหาอานาจเอารัด
เอาเปรียบ และมีการสู้รบในประเทศตลอดเวลา

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สิ่งที่ไปทาคือไปสร้างโรงงานยา ไปวาดแผนผังโรงงานยา และสอนผลิตยา จนเขาผลิตยาได้ สูตรยาที่ใช้ในทุกประเทศ


ทวีปแอฟริกา คือสูตรเดียวกับในเมืองไทย แต่ต่างกันก็ที่วัตถุดิบ ซึ่ง ดร.กฤษณายังได้ไปลองที่ประเทศจีนอีกด้วย ซึ่ง
ราคาถูกกว่าของประเทศไทยมากทีเดียว
ดร.กฤษณาบอกว่า ไปช่วยคราวนั้น ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และอื่นๆ ใช้ทุนส่วนตัวทั้งหมด เริ่มต้นที่เจ้าของโรงงานยาใน
คองโกติดต่อมา เพราะอ่านเรื่องราวของตนและยาต้านไวรัสเอดส์ในนิตยสารภาษาเยอรมัน และเห็นว่ายานี้ดี ก็ติดต่อ
ตนขอให้ไปพบที่เมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ โดยเจ้าของโรงงานบอกว่าจะช่วยพนักงานของเขาฟรี และช่วยคน
พื้นเมือง ซึ่งก็เห็นว่าเขาจะช่วยฟรี ก็เลยไป ตอนแรกก็ไม่มีใครช่วยเหลือ แต่พอผ่านไปหนึ่งปี รัฐบาลเยอรมันก็เข้ามา
ช่วยเหลือโรงงานในการซื้อเครื่องจักรต่าง ๆ
“อยู่ที่คองโก 3 ปี ตรงนั้นรบกันตลอด เรื่องความปลอดภัยไม่มี บางทีเข้าประเทศนั้นไปทางานแต่ตกเย็นมานอนอีก
ประเทศหนึ่ง และเราก็ไม่รู้ว่าใครจะยิงเราเมื่อไหร่ ช่วงแรกมีคนคุ้มกันตลอด แต่ตอนหลังไม่มี เพราะถ้ามีมากจะยิ่ง
กลายเป็นเป้า เรียกว่าตื่นเต้นจนไม่ตื่นเต้นแล้ว และเคยถูกจี้ตอนลงจากรถที่ประเทศไนจีเรีย ซึ่งไปทาโครงการให้
สหภาพยุโรป (อียู) พอตอนหลังก็เฉยๆ แล้ว คนที่จี้เขาต้องการเงินเท่านั้น ไม่ได้ต้องการชีวิต แต่ที่ประเทศอื่นอาจจะ
ต้องการชีวิตก็ได้ ไม่รู้นะ เพราะว่าเราเป็นคนต่างชาติเข้าไปที่นั่น ที่นั่นไม่มีนักท่องเที่ยวเลย เพราะมันอันตรายมาก”
ช่วงเวลาประมาณ 5 ปี ดร.กฤษณาเดินทางไปทั่วทวีปแอฟริกา เพื่อช่วยการสร้างโรงงานผลิตยา สอนวิธีการผลิตยาต้าน
ไวรัสเอดส์ จนสามารถผลิตยา “แอฟริเวียร์” ในคองโกได้สาเร็จ และยารักษามาลาเรีย “ไทยแทนซูเนท” ยาเหน็บทวาร
“อาร์เตซูเนท” เพื่อรักษาโรคมาลาเรีย ในเด็ก ในประเทศแทนซาเนีย รวมถึงฟื้นฟูโรงงานยาในประเทศมาลีซึ่งใกล้เปิด
กิจการได้สาเร็จ ผลิตยารักษามาลาเรียระดับอุตสาหกรรมได้ ซึ่งทาให้กว่า 10 ประเทศในแอฟริกา อาทิ อิริคเทอร์เรีย
เบนิน รวันดา บุรุนดี ไลบีเรีย ได้รับอานิสงส์มากมาย
เหล่านี้เกิดจากพันธสัญญาที่เคยมีการประกาศไว้ในนามประเทศไทย บวกกับแรงบันดาลใจที่สมัยเรียนที่อังกฤษ ดร.
กฤษณามีเพื่อนร่วมห้องเป็นชาวแอฟริกัน และทวีปนี้ก็ธรรมชาติสวยงาม ทุกอย่างจึงลงตัว
ตัดกลับมาที่ประวัติส่วนตัวของเภสัชกรไทยผู้นี้ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ เป็นชาว อ.เกาะสมุย จ.สุ
ราษฎร์ธานี ปัจจุบันอายุ 55 ปี เรียนจบคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ไม่ได้จบแพทย์ก็ด้วยเหตุผลที่ว่า
คะแนนไม่ถึงคณะแพทยศาสตร์ ขาดไปเพียง 1 คะแนนเท่านั้น
ส่วนปริญญาโท จบสาขาเภสัชวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสตราห์ ไคลด์ และปริญญาเอก สาขาเภสัชเคมี มหาวิทยาลัยบาธ
ประเทศอังกฤษ จากนั้นรับตาแหน่งหัวหน้าภาควิชาเภสัชเคมี ที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2 ปี ก่อนที่จะลาออกเพื่อ
ทางานที่องค์การเภสัชกรรม เมื่อปี พ.ศ. 2532 และได้รับเลือกเป็นผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา ด้วยอายุเพียง
37 ปี
“จริงๆ แล้วชอบศิลปะมาก อยากเป็นวาทยกร เพราะชอบดนตรี ชอบศิลปะ แต่งกลอน เขียนหนังสือ แต่พ่อแม่เป็น
หมอเป็นพยาบาล หากจะเลือกเรียนศิลปะก็รู้สึกยังไง ๆ อยู่ ใจจริงอยากเป็นคนคุมวงดนตรีมากกว่าเป็นเภสัชกร เพราะ
มันสนุกดี ได้คุมจังหวะ แต่ตอนนี้เราก็เหมือนกับคอนดักเตอร์น่ะแหละ เพราะเราไปคุมให้เขาสร้างโรงงาน ให้เขาผลิตยา
ก็พยายามปลอบใจตัวเอง เมื่อเราไม่ได้เป็นในสิ่งที่เราอยากจะเป็น เราก็ต้องชอบสิ่งที่เรามีอยู่ ต้องทาให้ดีที่สุด ”

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ดร. กฤษณาบอกอีกว่า เมื่อมีเวลาก็จะฟังดนตรีของทุกประเทศ อย่างเอธิโอเปีย มาเลเซีย อารบิก เพลงไทย ฟังหมด


นอกจากนี้สมัยอยู่โรงเรียนราชินีก็ได้เข้าร่วมวงดนตรีไทย เล่นระนาดเอกอยู่ถึง 6 ปี ซึ่งทาให้ชอบดนตรี เมื่อไม่ได้
ประกอบอาชีพทางด้านนี้แล้ว ก็ไม่ได้เสียใจอะไร ทาอาชีพไหน ก็ต้องทาให้ดีที่สุด
นอกจากแอฟริกา ดร.กฤษณายังเป็นศาสตราจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยฮาบิน ประเทศจีน สอนวิชาสร้างโรงงาน สอน
วิชาเครื่องมือ เพราะประเทศจีนกาลังจะสร้างโรงงานสมุนไพรเล็กๆ แห่งหนึ่ง ซึ่งก็ได้ไปช่วยเพิ่มเติมหลายอย่างให้ที่นั่น
โดยสิ่งที่ไปช่วยนอกประเทศก็คือสิ่งที่เมืองไทยทาเสร็จหมดแล้ว
“อย่าเพิ่งท้อแท้ ท้อถอย ไม่ว่ากับเรื่องอะไร ขอให้อดทน เรื่อง การเมืองก็อย่าไปอินกับสถานการณ์การเมืองมากนัก
อย่าเอามาเป็นทุกข์ เพราะเราทาอะไรไม่ได้ ทาหน้าที่แค่เป็นประชาชนที่ดีก็พอแล้ว” เป็นคาทิ้งท้ายฝาก
ถึงเพื่อนคนไทย ก่อนจะปิดฉากบทสนทนา ของ “ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์”
“เภสัชกรยิปซี” เลือดไทยแท้
รางวัลแห่งความภูมิใจ
กว่า 30 ปีแห่งการเรียนรู้ การทางาน รวมถึงการอุทิศชีวิตให้กับสังคม ทาให้ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ ได้รับรางวัล
มากมาย อาทิ รางวัลนักวิทยาศาสตร์โลก (Global Scientist Award) ประจาปี พ.ศ. 2547 จาก Letten Foundation
ประเทศนอร์เวย์, ผู้หญิงคนแรกที่ได้รับปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขาวิทยาศาสตร์ จาก Mauny Holly Oke College,
USA รวมถึงปริญญากิตติมศักดิ์อีกไม่รู้กี่ใบต่อกี่ใบ
เรื่องราวของ ดร.กฤษณา ได้รับความสนใจจากสื่อต่างประเทศ จนถูกนาไปสร้างเป็นภาพยนตร์สารคดี ความยาว 45
นาที เรื่อง A Right to Live-AIDS medication for Millions (2006) ได้รับรางวัลจากเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ
เมืองคานส์ และยังถูกนาไปสร้างเป็นละครบรอดเวย์ ชื่อ Cocktail
แต่เมื่อถ้าถามว่ารางวัลไหน ที่ภูมิใจที่สุด ดร.กฤษณา บอกว่า คือรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นของโรงเรียนราชินี ซึ่งที่ภูมิใจมาก
เพราะโรงเรียนสอนตนเองมาดี สอนให้เข้ากับคนได้ สอนให้มีมนุษยสัมพันธ์กับคน ไม่ได้สอนแต่วิชาความรู้ให้ ซึ่งคนเรา
ต้องมีหลายๆ ด้านประกอบกัน ไม่ใช่ว่าเก่งแต่เอาตัวไม่รอด ต้องมีน้าใจ นี่คือสิ่งที่ภูมิใจที่สุดไม่ว่าใครจะถาม โดยที่
รางวัลนี้เป็น เข็มอักษร สผ.ประดับเพชร
“อายุกว่า 50 ปีแล้ว เพิ่งจะมาได้รับ ดูเหมือนไม่มีอะไร แต่คนเราความภูมิใจต่างกัน เราเหมือนเป็นโมเดล เป็นไอดอล
ให้เด็กๆ ส่วนตัวมีความภูมิใจในโรงเรียนแห่งนี้เสมอ และความคิดดีๆ ยังได้รับการปลูกฝังอย่างดีจากคนในครอบครัว
ด้วย โดยเฉพาะอิทธิพลความคิดจาก คุณยายเยื้อน วิชัยดิษฐ์ ซึ่งเป็นแม่ชี ที่สอนให้ทาดีทุกครั้งที่มีโอกาส” ดร.กฤษณา
กล่าว
พร้อมทั้งบอกว่า เคยได้รางวัลเป็นเงินเป็นทองเยอะๆ แต่ก็เฉยๆ ก็บริจาคไป และไปที่แอฟริกา หรือไปทางานที่ไหน ก็
จะไปตั้ง มูลนิธิกฤษณา ไกรสินธุ์ แล้วก็เอาเงินจากยอดขายยามาเข้ามูลนิธิฯ เพื่อจะช่วยเด็กกาพร้าที่พ่อแม่ตายเพราะ
เอดส์ และเด็กก็ติดเอดส์ด้วย ซึ่งเด็กพวกนี้น่าสงสารมาก

ที่มา : http://www.nathoncity.com/paper/1155 สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553

สิบโทอุดม เพ็ชรธนู จากนักรบมาเป็นนักอนุรักษ์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

“รถถูกซุ่มยิง ผมบาดเจ็บพิการ ชีวิตทหารเลยหยุดเท่านั้น”


นาทีชีวิตพลิกผันยังอยู่ในความทรงจาของสิบโทอุดม เพ็ชรธนู ประธานคณะทางานกลุ่มอนุรักษ์คลองแห
อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
เขาเกิด พ.ศ.2502 ริมสายน้าคลองแห ไม่ไกลจากวัดและโคกนกคุ่มสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ต้นตานานคลองแห อุดมไปจบ
มัธยมต้นที่จังหวัดสตูล หลังรับการเกณฑ์ทหารแล้วต่อเข้าเป็นนักเรียนนายสิบปี 2523 จึงเข้ารับราชการทหารยศสิบตรี
สังกัดกองทัพแห่งชาติอยู่แค่ 3 เดือน
“ชุดของเราได้รับมอบหมายภารกิจดูแลพื้นที่ทั่วภาคใต้ ที่ดังหน่อยก็สมรภูมิค่าย 508 ที่ช่องช้าง ปราบที่นั่นเสร็จลงมา
ทางเบตง วันนั้นรถถูกซุ่มยิงรถหักหลบตกเขาพลิกคว่า ผมแขนหักแล้วแต่ยังมีสติอยู่ ยังเห็นทางไฟ(ปืน)ฝ่ายตรงข้าม จึง
คว้าปืนใครได้ไม่รู้พยายามยิงตอบ พอพลิกตัวจะยิงเท่านั้นรู้สึกว่าถูกยิงจึ๊กเข้าไปในโคนขา ผมค่อยหมดแรงมารู้สึกตัวอีก
ทีอยู่โรงพยาบาลเขาผ่าตัดให้แล้ว”
อุดมรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลนาน 2 ปี กลายเป็นทหารผ่านศึก ข้าราชการบานาญพิเศษยศสิบโท ครั้นร่างกายพอจะ
ใช้ชีวิตตามปกติได้บ้าง จึงกลับบ้านหันมาทางานเป็นช่างเหล็ก
“ผมเคยทางานกับมูลนิธิสายใจไทยซึ่งสมเด็จพระเทพฯ ท่านทรงดูแลทหารผ่านศึกฝึกประกอบอาชีพตอนนั้นผมเลือก
ฝึกการเจียระไนพลอย ทาเครื่องหนัง แต่พอกลับมาบ้านไม่ได้ทาต่อเพราะไม่มีตลาดและอุปกรณ์”
สาหรับงานช่างเหล็กเขาไม่ได้เรียนมาก่อนอาศัยครูพักลักจา อาศัยมีเพื่อนมากๆ มีคนช่วยเหลือ งานนี้จึงโต
เร็วต่อมามีลูกน้อง 20 กว่าคน รับทางานหลายประเภท ตั้งแต่เหล็กดัดในบ้านกระทั่งรับเหมาทาปั๊มน้ามัน โรงเรียน
แฟลต ฯลฯ
ระหว่างเป็นช่างเหล็กเขาพยายามช่วยเหลือสังคม โดยเสนอทาเสาธงเหล็กให้กับโรงเรียนที่ขาดแคลน โดยทางโรงเรียน
ช่วยออกวัสดุ หินทราย เขาจัดหาปูน เสาธง ผืน ธง เชือก สามารถช่วยสร้างเสาธงได้ 60 กว่าโรงเรียน วิกฤติในปี 2540
ธุรกิจช่างเหล็กของเขาประสบภาวะขาดทุน
“ไม่มีอะไรเหลือ ผมว่างงานมาถึงปี 2542 พอปี 2543 น้าท่วมใหญ่ หลังน้าท่วมท่านเจ้าอาวาสวัดคลองแหองค์ก่อน
มรณภาพลง ต่อมาพระครูปลัดสมพร ฐานธมฺโม มาเป็นเจ้าอาวาสแทน” อาศัยความคุ้นเคย อุดมซึ่งมีโอกาสคุยกับพระ
ครูปลัดสมพร บ่อยๆ ได้เห็นปัญหาร่วมกันอย่างหนึ่งว่า สายน้าคลองแหกาลังเต็มไปด้วยขยะและน้าเสีย
“ตอนนั้นเองที่เริ่มคิดฟื้นฟูคลองแหกัน ผมหาพรรคพวก 3 - 4 คนมาร่วมพัฒนาคลอง ปี 2544 นั้นสาหรับผมรายได้
เลี้ยงครอบครัวมาจากบานาญอย่างเดียว งานช่างเหล็กเริ่มไม่มีแล้วลูกน้องเหลือ 4-5 คนแล้วค่อยทยอยออกไปจนหมด
ผมเองหันไปช่วยพ่อท่าน (เจ้าอาวาส) ลอกคลอง”
สภาพคลองแหขณะนั้นอุดมเล่าว่า รก น้าเสีย และเหม็นมาก สภาพขยะที่อยู่ในคลองหนาแน่นแออัดยัดเยียด จน
ชาวบ้านเห็นพ้องกันว่าถ้าเกิดมีประกายไฟขึ้น สามารถลุกลาม “ไฟไหม้คลอง”ให้เห็นเป็นแน่
อุดมช่วยพระครูปลัดสมพรลอกคลองแห ได้ระยะทางหลายกิโลเมตร การดาเนินการจะหาเวลาว่างนัดคนที่มีจิตอาสามา
ทาใช้เวลานับเดือน
“จากแรกๆ มีไม่ถึง 10 คนใช้แรงมือ ตอนหลังเพิ่มมาเป็น 50 คน เป็น 100 คน มีหน่วยงานเข้ามาช่วย”

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

งานอาชีพช่างเหล็กค่อยเลิกรา บวกกับสภาพร่างกาย ผลพวงบาดเจ็บจากการสู้รบ ยังเกิดอาการเจ็บ แขนชา ยกไม่ขึ้น


เขาจึงหันมาทางานสังคมเต็มเวลา
กระบวนการฟื้นฟูสภาพน้าในคลองแห เขาเป็นผู้นาเทน้าหมักชีวภาพลงคลองนับเป็นปรากฏการณ์ใหม่ ที่คนเพิ่งจะรู้จัก
ที่มาเกี่ยวกับเรื่องนี้อุดมเล่าว่า ในปี 2543 พลเอกหาญ ลีนานนท์ อดีตแม่ทัพภาค 4 ซึ่งเป็นเจ้านายเก่ามาชวนไปทาน้า
หมักชีวภาพที่จังหวัดสตูล
“เป็นโครงการของท่านแม่ทัพหลังแกเกษียณ ท่านหาลูกน้องเก่าไปเรียนรู้ หัดทาน้าหมัก ไปดูงานสระบุรี กลับมาทาเอง
ที่สตูล ทดลองสูตรทากันมาเรื่อยๆ ใช้เศษอาหาร สับปะรด เป็นหลัก เป็นน้าหมักชีวภาพที่นาไปใช้ในนากุ้ง บ่อปลา
ได้ผล ผมเกิดความคิดว่าน่าจะเอามาใช้ในคลองบ้านเราก็ขนมาจากสตูลมาเทลงในคลอง ”
ตอนนั้นน้าหมักชีวภาพยังไม่แพร่หลาย ใครเห็นต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า น้าอะไรก็ไม่รู้กลิ่นเหม็นเหลือเกิน “คนไม่
ยอมรับก็หาว่าเราบ้า” อุดมเล่า
หลังจากเทน้าหมักลงคลอง ปรากฏว่าน้าคลองที่มีกลิ่นเน่าเหม็นเริ่มดีขึ้น เกิดการตอบรับขยายวงกว้างออกไปโดยเฉพาะ
คนที่ทางานสิ่งแวดล้อม กระทั่งพัฒนาเป็นการเริ่มชักชวนกันเอาจุลินทรีย์แบบก้อนเข้ามาทิ้งลงคลองในประเพณีวัน
สาคัญของท้องถิ่น เช่น แข่งเรือ ลอยกระทง กัลยาณมิตรทางสังคมเหล่านั้นเองเข้ามาช่วยสนับสนุนให้เกิดเป็นกลุ่ม
อนุรักษ์คลองแห มีพระครูปลัดสมพรเป็นแกนนา
“ฝ่ายชาวบ้านมีผมเป็นแกนนา กานัน ผู้ใหญ่บ้าน หลายคนเข้ามาร่วม ปี 2548 โครงการวัฒนธรรมพื้นบ้านประสานวัด
ได้จัดตั้งขึ้นมีงบสนับสนุนจาก สสส. และ พอช. สนับสนุนการทากิจกรรมสิ่งแวดล้อม และประวัติหมู่บ้าน”
กรณีน้าหมักได้เริ่มทาอย่างจริงจัง จาก 4-5 ถัง เป็น 20-30 ถัง เมื่อนาไปเทลงคลองมากจะได้ผลชัดเจนว่าคุณภาพน้าดี
ขึ้น คนที่รับรู้ก็เข้ามาช่วยมากขึ้น
เมื่อสิ่งแวดล้อมดีขึ้นเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาท้องถิ่นด้านต่างๆในเวลาต่อมา เริ่มตั้งแต่การฟื้นฟูประเพณีลาก
พระที่ขาดหายไป การหันมาสนใจประวัติชุมชน โดยการเอาคนเฒ่ามาช่วยกันเล่าเรื่องชุมชน
มาเป็นการสืบค้นตานานคลองแหอย่างเป็นระบบจากการทาประวัติชุมชนคลองแห พบว่า ที่ดินในคลองแหส่วนใหญ่
สมัยอดีตเป็นเรือกสวนไร่นาของ เจ้าพระยาวิเชียรคีรี เจ้าเมืองสงขลา ชาวบ้านดั้งเดิมจึงน่าจะเป็นคนเฝ้าสวนของเจ้า
เมืองสงขลามาก่อน กระทั่งได้รับมอบที่ดินในเวลาต่อมา โคกนกคุ่ม หรือ โคกคุ่ม ซึ่งห่างจากบ้านของอุดมไม่กี่ร้อยเมตร
เป็นพื้นที่สาคัญในตานานคลองแห
“ชื่ออย่างนั้นเพราะว่ามีนกคุ่มมาก โคกนกคุ่มเคยเป็นเกาะกลางคลอง เป็นที่ฝังสมบัติตามตานาน ตอนเล็กผมได้ฟังเรื่อง
แบบนี้จากแม่เฒ่า”
เรื่องเล่าสูญหายไปตามยุคสมัย ชุมชนคลองแหเปลี่ยนแปลง จากหมู่บ้านที่นับญาติกันได้หมด เป็นคลองแหยุคใหม่ ที่มี
คนต่างถิ่นอพยพเข้ามาอยู่จานวนมาก
การทาโครงการคนเฒ่าเล่าเรื่องจนได้ประวัติคลองแหขึ้นมา ทางกลุ่มอนุรักษ์คลองแหจึงได้จัดงานย้อนตานาน คลองแห
ครั้งที่ 1 เมื่อปี 2549 ได้งบประมาณสนับสนุนจานวนหนึ่งจาก สสส. และ พอช. ซึ่งเป็นงบประมาณที่ใช้ทางาน
ขับเคลื่อนประเด็นสิ่งแวดล้อมไปด้วย
“งบไม่พอครับ แต่คณะทางานเราไม่เอาค่าตอบแทน ชาวบ้านมาช่วยสมทบอีกตามแต่กาลังศรัทธา 10 -20 บาท เราจึง
ถือว่าได้จัดตานานคลองแหครั้งแรกโดยความร่วมมือของประชาชนทั้งตาบลคลองแห”

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หลังการจัดงานย้อนตานานคลองแหครั้งแรก ชาวบ้านเกิดการตื่นตัว เกิดการมีส่วนร่วมอย่างสูง การจัดงานย้อนตานาน


คลองแหครั้งที่ 2 เมื่อปี 2550 จึงอาศัยแรงศรัทธาชาวบ้านโดยไม่ต้องขอการสนับสนุนจากภายนอก
กระทั่งงานย้อนตานานครั้งที่ 3 ปี 2551 เปลี่ยนไป เพราะเทศบาลเมืองคลองแหเห็นว่างานนี้มีคนสนใจจึงรับไปจัดการ
เองหมด บทบาทการย้อนตานานของกลุ่มรักษ์คลองแหจึงยุติไป แต่อุดมเห็นว่ากิจกรรมที่หยุดไม่ได้คือสิ่งแวดล้อม น้าใน
คลองแหยังเสียมาก การรณรงค์ชาวบ้านให้ทาน้าหมักชีวภาพเอาไปเทลงคลองก็ยังไม่ได้ผลจริงจัง นับตั้งแต่ปลายปี
2550 อุดมหันมาคิดค้นผลิตภัณฑ์ชีวภาพเกี่ยวเนื่อง เขาทดลองทาน้ายาอเนกประสงค์ด้วยตนเอง
“มานั่งคิดดูน้าที่ใช้ในครัวเรือนมักจะเทลงคู จากคูเล็กไปลงคูใหญ่ จากคูใหญ่ไปลงคลอง มานั่งเทจุลินทรีย์ลงคลองทุก
วันมันแก้ปลายเหตุ ทาไมไม่แก้ที่ต้นเหตุ เลยคิดเรื่องน้ายาอเนกประสงค์ชีวภาพสาหรับซักผ้า ล้างจาน” อุดมเริ่มจากทา
แจก แล้วสอนให้ชาวบ้านทาใช้เอง จากหมู่บ้านตัวเอง ออกไปตามกลุ่มต่างๆ เข้าโรงเรียน กระจายออกไปกว้าง ถึง
อาเภอบางกล่า พื้นที่ริมคลองอู่ตะเภา อันเชื่อมต่อกับคลองแห
เขาศึกษาทดลองทาในหลายสิ่งหลายอย่างที่เกี่ยวข้องสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ น้าหมักชีวภาพ ปุ๋ยชีวภาพ น้ายาอเนกประสงค์
ชีวภาพ น้ายาไล่แมลงชีวภาพ ยากาจัดวัชพืชจากน้าหมักชีวภาพ การผลิตแก๊สชีวภาพ เตาเผาถ่าน เครื่องอัดถ่านเป็น
แท่ง น้าส้มควันไม้ เป็นต้น
การประดิษฐ์ ดัดแปลง อุปกรณ์ต่างๆ ฐานความคิด ได้มาจากการเป็นช่าง ทาให้มองได้เร็ว อุดมเล่าว่าสิ่งที่เขาคิดทาแต่
ละอย่างต่างจากคนอื่น ไม่ได้ลอกเลียนใครมาโดยตรง แต่มักจะเป็นการค้นคว้า ทดลอง พิสูจน์ ทาโดยตัวเอง
“ผมมีพื้นฐานที่ได้เห็นคนรุ่นก่อนทา อย่างแก๊สชีวภาพใครว่าเป็นของใหม่ ตอนผมเรียนอยู่ประถมลุงของผมทาแล้วตาม
ประสาชาวบ้านแกใช้ถังซีเมนต์หมักขี้วัว แล้วใช้ฝาชีสังกะสีครอบ ต่อท่อนาแก๊ส หัวเตาไม่มีใช้ก็ใช้หัวบั ว
เครื่องสูบน้ามาแทน”
เขาพบว่าการเผาถ่านนอกจากได้ถ่านก้อน ยังได้น้าส้มควันไม้และยังมีถ่านผงที่คนทั่วไปมักไม่ได้ใช้ประโยชน์เขาคิดอัด
ถ่านผงเป็นแท่ง
“ดูจากเว็บไซต์เขาแนะนาเครื่องอัดราคาเป็น 2-3หมื่น อย่างนั้นชาวบ้านจะทาอย่างไร ก็คิดเครื่องอัดถ่านผงขึ้นมาเอง
ต้นทุน 1,000 กว่าบาท แต่ได้เครื่องอัดแล้วไม่รู้จะอัดอย่างไรให้ถ่านติดเป็นก้อน จนพบว่าเอาแป้งเปียกมาผสมพอได้ผล
ก็ไปบอกชาวบ้านคนอื่น”
การเผาถ่าน เขาเน้นการอนุรักษ์ธรรมชาติ วัสดุที่นามาเผาจึงเน้นเปลือกสะตอ ที่แคะเมล็ดออกแล้ว เปลือกเงาะ ทุเรียน
มังคุด สับปะรด และผลไม้ทุกชนิด ถ่านที่ได้ออกมาบางอย่างยังคงสภาพผลไม้แบบเดิม มีแนวความคิดเอาไปใช้ในการ
ดูดกลิ่นตู้เย็น ถ้าแตกหักเอาไปอัดแท่ง
น้าส้มควันไม้ใช้ไล่แมลงได้แต่อุดมยังคิดต่อเรื่องสารไล่แมลงแบบธรรมชาติ ใช้สมุนไพร เครื่องแกง พวก ข่า ตะไคร้ เอา
มาปั่น หรือตา เอาผ้าขาวกรองคั้นน้าไปผสมเหล้าขาว ส่วนยาปราบวัชพืชใช้ เกลือ นาตาลทราย ผงชูรส ผสมน้ายา
อเนกประสงค์ชีวภาพ
“ทุกวันนี้ ผมไม่มีรายได้จากงานอื่นนอกจากเงินบานาญ แต่อยากตอบแทนสังคม แทนที่จะกินเงินเดือนเปล่าๆ เพื่อนว่า
บ้าที่เห็นว่าเราเอาเงินไปช่วยคนอื่น แต่ผมบอกว่าสิ่งที่ได้รับ ถ้ากระจายออกสู่สังคมต้องทา แทนที่จะนั่งกินเงินเดือน
เปล่าๆ ก็ภาษีของประชาชน”

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

นอกจากเป็นนักเคลื่อนไหวในบทบาทกลุ่มอนุรักษ์คลองแห ที่เขาเป็นประธาน ทุกวันนี้อุดมมีภาระ การเป็นวิทยากร


สอนความรู้ต่างๆ ที่เขาประดิษฐ์คิดค้น พัฒนาต่อ เกือบทุกวัน ทั้งที่บ้าน และนอกสถานที่ และเขามุ่งมั่นจะทาหน้าที่
ทางสังคมนี้ต่อไป

ที่มา : http://www.songkhlahealth.org/paper/1591 สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553

แบบประเมินรายงานการดาเนินกิจกรรมการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กลุม่ ที่..................................................

สมาชิกของกลุม่ 1. .............................................................................. 2. ..............................................................................

3. .............................................................................. 4. ..............................................................................

5. .............................................................................. 6. ..............................................................................

ลำดั คุณภำพผลงำน
รำยกำรประเมิน
บที่ 4 3 2 1

1 การปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดี

2 การรายงานผลการปฏิบตั ติ นเป็ นพลเมืองดี

3 การสนับสนุนให้ ผ้ อู ื่นปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดี

รวม

เกณฑ์การให้ คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ลงชื่อ..............................................................................ผู้ประเมิน


ดีมาก = 4 ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี = 3 10-12 ดีมาก / /
....................... ........................... ........................
พอใช้ = 2 7-9 ดี
ปรับปรุ ง = 1 4-6 พอใช้
1-3 ปรับปรุง

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายแนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหัวข้อที่กาหนดให้ พร้อมเขียนสิ่งที่


นักเรียนสามารถปฏิบัติได้จริง

หัวข้อ แนวทางการปฏิบัติตน สิ่งที่นักเรียนปฏิบัติได้จริง


1. แนวทางการปฏิบัติตน
เป็นสมาชิกที่ดีของ
ครอบครัว

2. แนวทางการปฏิบตั ิตน
เป็ นสมาชิกที่ดีของ
โรงเรี ยน

3. แนวทางการปฏิบตั ิตน
เป็ นสมาชิกที่ดีของ
ชุมชน

หัวข้ อ แนวทำงกำรปฏิบัติตน สิ่งที่นักเรียนปฏิบัตไิ ด้ จริง

4. แนวทางการปฏิบตั ิตน
เป็ นสมาชิกที่ดีของ
ประเทศชาติและสังคม
โลก

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนอธิบายแนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหัวข้อที่กาหนดให้ พร้อมเขียนสิ่งที่


นักเรียนสามารถปฏิบัติได้จริง

หัวข้อ แนวทางการปฏิบัติตน สิ่งที่นักเรียนปฏิบัติได้จริง


1. แนวทางการปฏิบัติตน 1. ช่วยบิดา มารดา ทางานบ้าน พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
เป็นสมาชิกที่ดีของ 2. ประหยัดค่าใช้จ่าย ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
ครอบครัว 3. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน
4. เชื่อฟังและปฏิบัติตามคาสั่งสอน
ของบิดา มารดา
2. แนวทางการปฏิบัติตน 1. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
เป็นสมาชิกที่ดีของ 2. รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย3. ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
โรงเรียน ร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อ
โรงเรียน
4. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน
5. เคารพเชื่อฟังคาสั่งสอนของครู
อาจารย์
3. แนวทางการปฏิบัติตน 1. ร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมของชุมชน2. พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
เป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน รักษาความสงบเรียบร้อย ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
3. ร่วมทากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อ
ชุมชน
4. ร่วมมือกันพัฒนาชุมชน
5. ร่วมมือกันสอดส่องดูแล ป้องกัน
เรื่องยาเสพติด
6. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของชุมชน
7. ร่วมกิจกรรมกับองค์กรการปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
8. มีส่วนร่วมในการรณรงค์ให้บุคคล
ในท้องถิ่นไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง

หัวข้อ แนวทางการปฏิบัติตน สิ่งที่นักเรียนปฏิบัติได้จริง


4. แนวทางการปฏิบัติตน 1. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ของ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน
เป็นสมาชิกที่ดีของ สมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน
ประเทศชาติและสังคม และชุมชน
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

โลก 2. มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
3. แสวงหาข้อมูลต่างๆ ให้ทันต่อ
เหตุการณ์ของโลก
4. ให้ความร่วมมือกับประเทศต่างๆ
ในการป้องกัน แก้ปัญหาภัยพิบัติ
ต่างๆ
5. ร่วมมือกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
6. ให้ความช่วยเหลือผู้ที่ด้อยโอกาส
เมื่อมีโอกาส

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง วิเคราะห์พลเมืองดี

คาชี้แจง ให้นักเรียนนาข่าว/ประวัติบุคคลที่มีการกระทาที่แสดงถึงการเป็นพลเมืองดี มาวิเคราะห์


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แล้วตอบคาถามตามที่กาหนด อย่างน้อย 3 บุคคล

ชื่อเรื่ อง

สรุปประเด็นสาคัญ

บุคคลที่เป็นพลเมืองดี คือ
บุคคลดังกล่าวมีการกระทาที่แสดงว่าเป็นพลเมืองดี อย่างไร

การกระทาจากข้อ 2. สอดคล้องกับลักษณะของพลเมืองดี อย่างไร จงอธิบาย

นักเรียนสามารถนาแบบอย่างการกระทาของบุคคลนี้ไปประยุกต์ปฏิบัติได้อย่างไร

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง วิเคราะห์พลเมืองดี

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นักเรียนนาข่าว/ประวัติบุคคลที่มีการกระทาที่แสดงถึงการเป็นพลเมืองดี มาวิเคราะห์


แล้วตอบคาถามตามที่กาหนด อย่างน้อย 3 บุคคล

ชื่อเรื่ อง

สรุปประเด็นสาคัญ

บุคคลที่เป็นพลเมืองดี คือ
บุคคลดังกล่าวมีการกระทาที่แสดงว่าเป็นพลเมืองดี อย่างไร

การกระทาจากข้อ 2. สอดคล้องกับลักษณะของพลเมืองดี อย่างไร จงอธิบาย

นักเรียนสามารถนาแบบอย่างการกระทาของบุคคลนี้ไปประยุกต์ปฏิบัติได้อย่างไร

(หมายเหตุ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน ให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สิทธิมนุษยชน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความสาคัญของสิทธิมนุษยชน
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
สิทธิมนุษยชน เป็นสิทธิพื้นฐานที่ทุกคนมีอยู่ในฐานะที่เกิดมาเป็นมนุษย์ ซึ่งเป็นไปตามหลักการของสิทธิ
มนุษยชนตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/4 ประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา

3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนความสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายความสาคัญ แนวคิด และหลักการของสิทธิมนุษยชนได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- กิจกรรมที่ 1 สิทธิมนุษยชน
ใบงานที่ 1 แนวคิดและหลักการของสิทธิมนุษยชน

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูให้นักเรียนอ่านข่าวต่อไปนี้
-ข่าวเกี่ยวกับสานักงานแห่งหนึ่งไม่รับคนที่เป็นโปลิโอเข้าทางานอ้างว่า เป็นคนพิการ
คงทางานได้ไม่ดีเท่าคนปกติ ให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ในประเด็นว่า ข้ออ้างจากนายจ้าง
ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนหรือไม่ พร้อมอธิบายเหตุผลประกอบ
-ข่าวเกี่ยวกับเด็กถูกล่ามโซ่ให้อยู่กับบ้านเพราะต้องการดัดนิสัย เพราะเป็นเด็กที่ซุกซนมาก
ถึงเวลาอาหารก็นาใส่จานมาวางไว้ให้ และเด็กมักถูกทุบตีถ้าส่งเสียงร้องโวยวาย ให้นักเรียน
ร่วมกันวิเคราะห์ว่า ข่าวดังกล่าวขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนด้านใด และการที่เด็กถูกทารุณกรรม
ดังกล่าว มีผลเสียอย่างไร
จากนั้นครูถามนักเรียนว่า จากข่าวที่ยกตัวอย่างมานั้นนักเรียนคิดว่า มนุษย์ทุกคนควรปฏิบัติต่อกันอย่างไร จึงจะ
สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน

- ขั้นสอน
1.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเรื่อง ความหมายและความสาคัญของสิทธิมนุษยชน
2. ครูอธิบายเพิ่มเติมให้เห็นถึงความจาเป็นที่ทุกคนจะต้องให้ความสาคัญของสิทธิมนุษยชนและให้
นักเรียนศึกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง สิทธิมนุษยชน จากหนังสือเรียน
3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยให้จับคู่กันเป็น 2 คู่ และให้แต่ละคู่ช่วยกันทาใบงานที่ 1.1
เรื่อง แนวคิดและหลักการของสิทธิมนุษยชน ดังนี้
-คู่ที่ 1 วิเคราะห์กรณีตัวอย่างที่ 1 เรื่อง น้องบอล...เด็กเร่ร่อน
-คู่ที่ 2 วิเคราะห์กรณีตัวอย่างที่ 2 เรื่อง กรกับแก้ว...ลูกชาวนา
4. ให้นักเรียนแต่ละคนทาใบงานและวิเคราะห์หาคาตอบด้วยตนเองก่อน และผลัดกันอภิปรายผล
การวิเคราะห์ให้กับคู่ของตนฟังจนครบทั้ง 2 คู่
6. ครูสมุ่ เรี ยกนักเรี ยนออกมานาเสนอผลงานที่หน้ าชันเรี ้ ยน 2-3 กลุม่ และให้ กลุม่ อื่นๆ เสนอแนะเพิ่มเติมใน
ประเด็นที่แตกต่างกัน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ขั้นสรุป
นักเรี ยนและครูร่วมกันสรุปความสาคัญ แนวคิด และหลักการของสิทธิมนุษยชน

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูนาภาพข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ มาให้นักเรียนดู และสนทนาซักถามเกี่ยวกับหน้าที่ของบุคคล
ดังกล่าว และเชื่อมโยงสู่ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
- ขั้นสอน
ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ( หรืออาจใช้กลุ่มเดิมก็ได้ ) และให้สมาชิกในกลุ่มมีหมายเลข
ประจาตัว ตั้งแต่หมายเลข 1 , 2, 3 ,4 แล้วให้ทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดหาคาตอบ และช่วยกันอธิบายคาตอบให้เพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่ม ของตน
เข้าใจอย่างชัดเจน
3.ครูสุ่มเรียกหมายเลขใดหมายเลขหนึ่งของกลุ่ม เพื่อตอบคาถามและอธิบายให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน
โดยหมุนเวียนกันตอบให้ครบตามประเด็นคาถามในใบงาน
- ขั้นสรุป
นักเรียนและครูช่วยกันสรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งถือเป็นมาตรฐาน
ในการปฏิบัติต่อกันของมวลมนุษย์และของบรรดานานาชาติ
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่ 1.1-1.2 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถเขียน ใบงานที่ 1.1-1.2 ตรวจใบงานที่ ใบงานที่ 1.1-1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ความสาคัญของ 1.1-1.2
ปฏิญญาสากลว่า
ด้วยสิทธิมนุษยชน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แห่งสหประชาชาติ
ได้
สามารถอธิบาย การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ความสาคัญ แนวคิด
และหลักการของ
สิทธิมนุษยชนได้
สนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด
11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน
11. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
12. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

13. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

14. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย ที่ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย กรณีที่
เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา เกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง สามารถนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
15. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน
เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง แนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน

คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษากรณีตัวอย่าง และตอบคาถามตามประเด็นที่กาหนดให้

กรณีตวั อย่างที่ 1
เรื่ อง น้ องบอล...เด็กเร่ร่อน
ตารวจได้ รับแจ้ งจากป้าสายใจว่า พบเด็กชายบอล อายุประมาณ 6 ปี เร่ร่อนขอทานอยูใ่ นซอยของตน ตอน
กลางคืนอาศัยแผงในตลาดใช้ เป็ นที่นอน ป้าสายใจเกรงว่าจะไม่ปลอดภัยจึงให้ การช่วยเหลือหาอาหารและพาไป
อาบน ้าเปลีย่ นเสื ้อผ้ าและให้ อาศัยอยูด่ ้ วย ป้าสายใจพยายามสอบถามเด็กชายบอล ได้ ความว่า เร่ร่อนมา 3 เดือน
แล้ ว โดยพ่อแม่เสียชีวติ ป้าสายใจสงสารจึงแจ้ งความกับตารวจเพื่อขออุปการะเด็กให้ ถกู ต้ องและส่งเสียให้ เรี ยน
หนังสือในโรงเรี ยนใกล้ บ้าน เด็กชายบอลเรี ยนไม่เก่งนักแต่มีความสามารถในการเล่นฟุตบอล
ต่อมาเป็ นนักกีฬาของโรงเรี ยนและได้ สร้ างชื่อเสียงให้ กบั โรงเรียนอย่างมาก หลังจากเรี ยนจบชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ 6 บอลได้ รับการคัดเลือกให้ เข้ าเรียนในมหาวิทยาลัยชันน ้ าของประเทศในโควตานักกีฬา สมาคม
กีฬาแห่งหนึง่ สนใจในความสามารถของบอลจึงให้ การสนับสนุนส่งบอลไปฝึ กฝนกับสโมสรฟุตบอลในยุโรป และได้
ลงแข่งขันฟุตบอลนานาชาติหลายครัง้ จนได้ รับการยกย่องเป็ นนักฟุตบอลดีเด่น

คาถาม
ข้อความใดที่แสดงว่าบอล มีสิทธิในเรื่องต่อไปนี้
สิทธิในชีวิต
สิทธิในการยอมรับนับถือ
สิทธิในการดาเนินชีวิตและพัฒนาตนเอง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีตวั อย่างที่ 2
เรื่ อง กรกับแก้ ว...ลูกชาวนา

ที่หมูบ่ ้ านแห่งหนึง่ ในจังหวัดร้ อยเอ็ด มีครอบครัวหนึง่ เป็ นชาวนา ฐานะไม่ดีนกั แต่มีความขยัน


ทังสามี
้ และภรรยา พอหมดหน้ านาก็เข้ ามาหางานทาในกรุงเทพเก็บหอมรอมริ บหาเงินส่งลูก 2 คน
เรี ยนหนังสือและจะส่งให้ เรี ยนถึงมหาวิทยาลัย ลูกทัง้ 2 คน ชื่อ กรกับแก้ ว แม้ จะหัวไม่ดีมาก แต่ก็ขยัน
หมัน่ เพียรเอาใจใส่การเรียน และได้ รับทุนจากจังหวัดเข้ าเรียนในมหาวิทยาลัย โดยกรเลือกเรี ยนแพทย์
และแก้ วเลือกเรี ยนเศรษฐศาสตร์ พอปิ ดเทอมทัง้ 2 คน ก็หางานพิเศษทาจนเรี ยนจบ กรได้ เป็ นแพทย์
ในโรงพยาบาลของรัฐตามที่วาดฝันไว้ มีรายได้ ที่มนั่ คง ส่วนแก้ วรวมตัวกับเพือ่ นเปิ ดบริษัทเกี่ยวกับ
เสื ้อผ้ าสาเร็ จรูป ทังกรและแก้
้ วขอร้ องให้ พอ่ แม่เลิกทางานแต่พอ่ แม่บอกว่าไม่อยากอยูเ่ ฉยๆ จึงเปิ ดร้ าน
ขายของชาเล็กๆ ในหมูบ่ ้ าน

คาถาม
จากกรณีตัวอย่าง กร แก้ว และพ่อแม่ได้ดาเนินชีวิตในสังคมตามหลักสิทธิมนุษยชนในเรื่องใด
จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง แนวคิดและหลักการสิทธิมนุษยชน

คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษากรณีตัวอย่าง และตอบคาถามตามประเด็นที่กาหนดให้

กรณีตวั อย่างที่ 1
เรื่ อง น้ องบอล...เด็กเร่ร่อน

ตารวจได้ รับแจ้ งจากป้าสายใจว่า พบเด็กชายบอล อายุประมาณ 6 ปี เร่ร่อนขอทานอยูใ่ นซอยของตน ตอน


กลางคืนอาศัยแผงในตลาดใช้ เป็ นที่นอน ป้าสายใจเกรงว่าจะไม่ปลอดภัยจึงให้ การช่วยเหลือหาอาหารและพาไป
อาบน ้าเปลีย่ นเสื ้อผ้ าและให้ อาศัยอยูด่ ้ วย ป้าสายใจพยายามสอบถามเด็กชายบอล ได้ ความว่า เร่ร่อนมา 3 เดือน
แล้ ว โดยพ่อแม่เสียชีวติ ป้าสายใจสงสารจึงแจ้ งความกับตารวจเพื่อขออุปการะเด็กให้ ถกู ต้ องและส่งเสียให้ เรี ยน
หนังสือในโรงเรี ยนใกล้ บ้าน เด็กชายบอลเรี ยนไม่เก่งนักแต่มีความสามารถในการเล่นฟุตบอล
ต่อมาเป็ นนักกีฬาของโรงเรี ยนและได้ สร้ างชื่อเสียงให้ กบั โรงเรียนอย่างมาก หลังจากเรี ยนจบชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ 6 บอลได้ รับการคัดเลือกให้ เข้ าเรียนในมหาวิทยาลัยชันน ้ าของประเทศในโควตานักกีฬา สมาคม
กีฬาแห่งหนึง่ สนใจในความสามารถของบอลจึงให้ การสนับสนุนส่งบอลไปฝึ กฝนกับสโมสรฟุตบอลในยุโรป และได้
ลงแข่งขันฟุตบอลนานาชาติหลายครัง้ จนได้ รับการยกย่องเป็ นนักฟุตบอลดีเด่น

คาถาม
ข้อความใดที่แสดงว่าบอล มีสิทธิในเรื่องต่อไปนี้
1.สิทธิในชีวิต
2.สิทธิในการยอมรับนับถือ
3.สิทธิในการดาเนินชีวิตและพัฒนาตนเอง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีตวั อย่างที่ 2
เรื่ อง กรกับแก้ ว...ลูกชาวนา

ที่หมูบ่ ้ านแห่งหนึง่ ในจังหวัดร้ อยเอ็ด มีครอบครัวหนึง่ เป็ นชาวนา ฐานะไม่ดีนกั แต่มีความขยัน


ทังสามี
้ และภรรยา พอหมดหน้ านาก็เข้ ามาหางานทาในกรุงเทพเก็บหอมรอมริ บหาเงินส่งลูก 2 คน
เรี ยนหนังสือและจะส่งให้ เรี ยนถึงมหาวิทยาลัย ลูกทัง้ 2 คน ชื่อ กรกับแก้ ว แม้ จะหัวไม่ดีมาก แต่ก็ขยัน
หมัน่ เพียรเอาใจใส่การเรียน และได้ รับทุนจากจังหวัดเข้ าเรียนในมหาวิทยาลัย โดยกรเลือกเรี ยนแพทย์
และแก้ วเลือกเรี ยนเศรษฐศาสตร์ พอปิ ดเทอมทัง้ 2 คน ก็หางานพิเศษทาจนเรี ยนจบ กรได้ เป็ นแพทย์
ในโรงพยาบาลของรัฐตามที่วาดฝันไว้ มีรายได้ ที่มนั่ คง ส่วนแก้ วรวมตัวกับเพือ่ นเปิ ดบริษัทเกี่ยวกับ
เสื ้อผ้ าสาเร็ จรูป ทังกรและแก้
้ วขอร้ องให้ พอ่ แม่เลิกทางานแต่พอ่ แม่บอกว่าไม่อยากอยูเ่ ฉยๆ จึงเปิ ดร้ าน
ขายของชาเล็กๆ ในหมูบ่ ้ าน

คาถาม
จากกรณีตัวอย่าง กร แก้ว และพ่อแม่ได้ดาเนินชีวิตในสังคมตามหลักสิทธิมนุษยชนในเรื่องใด
จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

(หมายเหตุ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.2 เรื่องปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษาแล้ววิเคราะห์ประเภทของสิทธิเสรีภาพ และความสอดคล้องกับกฎหมาย

กรณีศกึ ษา ประเภทของสิทธิเสรี ภาพ สอดคล้ องกับกฎหมาย


1. การฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์ชาวเขมรของพวก
เขมรแดง
2. บริ ษัทแห่งหนึง่ ไม่รับพนักงานที่เป็ น
โปลิโอ โดยอ้ างว่าเป็ นคนพิการ
ประสิทธิภาพในการทางานไม่เท่า
คนปกติ
3. สานักงานตารวจแห่งชาติเตือน
นักข่าวห้ ามเสนอข่าวทางลบของ
รัฐบาล
4. เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ บงั คับให้ ชาวเขาย้ าย
ออกไปอยูท่ ี่พื ้นราบ เพราะจะ
ประกาศ
เป็ นเขตป่ าสงวน
5. หนังสือพิมพ์ลงภาพข่าวผู้หญิงถูก
ข่มขืนและนาเสนอข่าวการถูกข่มขืน
อย่างละเอียด
6. รัฐบาลออกกฎหมายให้ มีพรรค
การเมืองของรัฐบาลเพียงพรรคเดียว
7. รัฐบาลสร้ างเขื่อนโดยไม่ให้ สทิ ธิ
ประชาชนในการรับรู้ขา่ วสาร
8. ตารวจซ้ อมผู้ต้องหาให้ รับสารภาพ
9. นายสุชาติ ชาวบุรีรัมย์ มาทางานเป็ น
กรรมกรก่อสร้ างในกรุงเทพฯ ได้
ค่าจ้ างวันละ 150 บาท
10. ชาวกะเหรี่ ยงถือผี จัดพิธีเคารพ
เจดีย์
เจ้ าป่ าเจ้ าเขา แต่ถกู เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้
สัง่ ห้ าม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.2 เรื่องปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน


คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษาแล้ววิเคราะห์ประเภทของสิทธิเสรีภาพ และความสอดคล้องกับกฎหมาย
กรณีศกึ ษา ประเภทของสิทธิเสรี ภาพ สอดคล้ องกับกฎหมาย
1. การฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์ชาวเขมรของ ละเมิดศักดิ์ศรี ของความเป็ นมนุษย์ ปฏิญญาสากลว่าด้ วยสิทธิมนุษยชน
พวก และสิทธิในชีวติ ข้ อ 1 และข้ อ 3
เขมรแดง
2. บริ ษัทแห่งหนึง่ ไม่รับพนักงานที่เป็ น ละเมิดหลักความเสมอภาคและการ ปฏิญญา ฯ ข้ อ 2
โปลิโอ โดยอ้ างว่าเป็ นคนพิการ เลือกปฏิบตั ิ รัฐธรรมนูญ ม.30
ประสิทธิภาพในการทางานไม่เท่า
คนปกติ
3. สานักงานตารวจแห่งชาติเตือน เสรี ภาพในการแสดงความคิดเห็นและ ปฏิญญา ฯ ข้ อ 19
นักข่าวห้ ามเสนอข่าวทางลบของ เสรี ภาพของสือ่ มวลชน รัฐธรรมนูญ ม.39
รัฐบาล
4. เจ้ าหน้ าที่ป่าไม้ บงั คับให้ ชาวเขาย้ าย เสรี ภาพในการเดินทางและเลือกถิ่น ปฏิญญา ฯ ข้ อ 13
ออกไปอยูท่ ี่พื ้นราบ เพราะจะ ที่อยู่ รัฐธรรมนูญ ม.36
ประกาศ
เป็ นเขตป่ าสงวน
5. หนังสือพิมพ์ลงภาพข่าวผู้หญิงถูก เสรี ภาพในเกียรติยศ ชื่อเสียง และ ปฏิญญา ฯ ข้ อ 12
ข่มขืนและนาเสนอข่าวการถูกข่มขืน ความเป็ นส่วนตัว รัฐธรรมนูญ ม.34
อย่างละเอียด
6. รัฐบาลออกกฎหมายให้ มีพรรค สิทธิเสรี ภาพทางการเมือง ปฏิญญา ฯ ข้ อ 20
การเมืองของรัฐบาลเพียงพรรค รัฐธรรมนูญ ม.47
เดียว
7. รัฐบาลสร้ างเขื่อนโดยไม่ให้ สทิ ธิ สิทธิที่จะรู้ข้อมูลข่าวสาร รัฐธรรมนูญ ม.57
ประชาชนในการรับรู้ขา่ วสาร
8. ตารวจซ้ อมผู้ต้องหาให้ รับสารภาพ สิทธิในชีวติ และร่างกาย ห้ ามทรมาน ปฏิญญา ฯ ข้ อ 5
รัฐธรรมนูญ ม.31
9. นายสุชาติ ชาวบุรีรัมย์ มาทางาน สิทธิในการมีงานทาและได้ คา่ จ้ างที่ ปฏิญญา ฯ ข้ อ 23
เป็ น ยุติธรรม
กรรมกรก่อสร้ างในกรุงเทพฯ ได้
ค่าจ้ างวันละ 150 บาท
10. ชาวกะเหรี่ ยงถือผี จัดพิธีเคารพ สิทธิในการนับถือศาสนา และสิทธิใน ปฏิญญา ฯ ข้ อ 18 , 27
เจดีย์ เจ้ าป่ าเจ้ าเขา แต่ถกู เจ้ าหน้ าที่ การดาเนินกิจกรรมทางวัฒนธรรม
ป่ าไม้ สัง่ ห้ าม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

การร่วม
ชื่อ – สกุล การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ รวม
ลาดับ ความร่วมมือ ปรับปรุง
ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน
ที่ ของผู้รับการ ผลงานกลุ่ม 20
ประเมิน คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2
ปรับปรุง = 1
หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ หรือให้มกี ารประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ตามความเหมาะสมก็ได้
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้ โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
5–8 ปรับปรุง
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สิทธิมนุษยชน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญและบทบาท
องค์กรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีบทบัญญัตเิ กี่ยวกับสิทธิมนุษยชนซึง่ เป็ นไปตามความร่วมมือระหว่าง
องค์กรระหว่างประเทศ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/4 ประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห์บทบัญญัติของรับธรรมนูญแค่งราชอาณาจักรไทยเกี่ยวกับสิทธิ
มนุษยชนได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายบทบาทองค์กรระหว่างประเทศในเวทีโลกเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีผลต่อ
ประเทศไทยได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- ใบงานที่ 2.1 เรื่อง บทบัญญัติของรัฐธรรม 2550 ที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
- ใบงานที่ 2.2 เรื่อง เปลือยชีวิตชาวโรฮิงญากับชีวิตที่มากกว่าคาว่า โหดร้าย

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1.ให้ นก
ั เรี ยนช่วยกันคิดเกี่ยวกับสิทธิ เสรี ภาพที่มนุษย์ควรได้ รับตังแต่
้ เกิดจนตาย พร้ อมอธิบายเหตุผล
ประกอบประเภทของสิทธิ เสรี ภาพ แล้ วเขียนลงบนกระดาษ
- ขั้นสอน
1.ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันและช่วยกันแยกแยะการกระทาให้ถูกต้องตามประเภทของสิทธิ
2. ให้นักเรียนดูภาพข่าวต่างๆ จากหนังสือพิมพ์ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ที่แสดงถึงการมีสิทธิ เสรีภาพ ตามบทบัญญัติ
รัฐธรรมนูญที่กาหนดไว้ และให้นักเรียนประดิษฐ์การ์ดรูปแบบต่างๆ ให้สวยงาม โดยเขียนข้อความเกี่ยวกับสิทธิ และผล
ประโยน์ที่ได้รับจากการได้รับสิทธินั้น เสร็จแล้วนามาติดป้ายนิเทศให้เพื่อนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ค้นคว้าความรู้ เรื่อง สิทธิมนุษยชนชาวไทย จากบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ
ฉบับปัจจุบัน และช่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2550 ที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
4. ครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลงานต่อชั้นเรียน ครูชมเชยผลงานของนักเรียน
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงถึงสิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ และปฏิญญาสากลว่า
ด้วยสิทธิมนุษยชน โดยจัดทาเป็นแผ่นพับ / บทเพลง / บทความ / คาขวัญ หรือคากลอนตามความถนัดหรือความสนใจ
6. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ช่วยกันปรับปรุงผลงานให้ มีความสมบูรณ์

- ขั้นสรุป
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนกลุ่มอื่นช่วยกันแสดง ความคิดเห็น
เพิ่มเติม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับ ประโยชน์ของการได้รับสิทธิ ในทุกๆ ด้าน และให้นักเรียนร่วมกัน
พิจารณาแนวทางในการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1. ครูนาภาพข่าวต่อไปนี ้ให้ นกั เรี ยนวิเคราะห์วา่ เหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรื อไม่
เพราะเหตุใด
- การฆ่าล้ างเผ่าพันธุ์ชาวยิวในสงครามโลกครัง้ ที่ 2

- “ยูเอ็น” เรี ยกร้ องรัฐบาลพม่า ให้ ปล่อยตัวนางอองซาน ซูจี

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- การสลายการประชุมที่ อ. ตากใบ จ. นราธิวาส

- กรณี ด.ช. หม่อง ทองดี : สถานะเด็กไร้ สญ


ั ชาติ

- ขั้นสอน
1. ครูเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงวิกฤติการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศต่างๆในโลกยังคงมีอยู่ แม้ว่าคณะ
มนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ซึ่งมีหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบ ให้คาแนะนาแก่ประเทศต่างๆ แต่ไม่สามารถทาได้
เต็มที่ เพราะขาดความร่วมมือจากบางประเทศหรือบุคคลบางกลุ่ม
2. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน ตามความสมัครใจ ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับบทบาทขององค์กรระหว่าง
ประเทศในเวทีโลกที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม หรือจากแหล่งข้อมูล
สารสนเทศ ตามความเหมาะสม
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาเป็นพื้นฐานการวิเคราะห์สถานการณ์ ตามหัวข้อในกรณีตัวอย่าง
ในใบงานที่ 2.2 เรื่อง เปลือยชีวิตชาวโรฮิงญากับชีวิตที่มากกว่าคาว่า โหดร้าย
4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรวมพลังสมอง ช่วยกันคิดวิเคราะห์ตามคาถามที่กาหนดให้
5. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลงานต่อชั้นเรียน และให้กลุ่มอื่นเสนอแนะเพิ่มเติมในประเด็นที่
แตกต่างกันออกไป

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปข้ อคิดที่ได้ จากการวิเคราะห์กรณีตวั อย่าง และแนวทางการนาไปปฏิบตั ติ นต่อ
ชาวต่างชาติที่เข้ ามาท่องเที่ยวหรื อประกอบอาชีพ โดยไม่มีการเลือกปฏิบตั ิ จึงทาให้ ประเทศไทยของเราไม่มีความ
ขัดแย้ งกับประเทศต่างๆ
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สามารถเขียน ใบงานที่ 2.1-2.2 ตรวจใบงานที่ 2.1- ใบงานที่ 2.1-2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์


วิเคราะห์บทบัญญัติ 2.2
ของรับธรรมนูญแค่ง
ราชอาณาจักรไทย
เกี่ยวกับสิทธิ
มนุษยชนได้

สามารถอธิบาย แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่าน


บทบาทองค์กร เกณฑ์
ระหว่างประเทศใน
เวทีโลกเกี่ยวกับสิทธิ
มนุษยชนที่มีผลต่อ
ประเทศไทยได้

มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน


ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

ใบงานที่ 2.1
เรื่อง บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2550 ที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาสิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ แล้วพิจารณาว่า สิทธิใดมีความสอดคล้อง


กับสิทธิมนุษยชน และเกิดผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างไร

ลาดับ สิทธิตามรัฐธรรมนูญ สิทธิตามปฏิญญาสากล ผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ที่

ใบงานที่ 2.1
เรื่อง บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2550 ที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาสิทธิของปวงชนชาวไทยตามรัฐธรรมนูญ แล้วพิจารณาว่า สิทธิใดมีความสอดคล้อง


กับสิทธิมนุษยชน และเกิดผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างไร

ลาดับ
สิทธิตามรัฐธรรมนูญ สิทธิตามปฏิญญาสากล ผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ที่
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตัวอย่าง
สิทธิ สิทธิในการเดินทาง ได้รับประสบการณ์และความรู้
(ข้อ 13) ได้แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และพัฒนา
ศักยภาพด้านต่างๆ

(หมายเหตุ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ใบงานที่ 2.2
เรื่อง เปลือยชีวิตชาวโรฮิงญากับชีวิตที่มากกว่าคาว่า โหดร้าย

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถามตามประเด็นที่กาหนดให้

เปลือยชีวติ ชาวโรฮิงญากับชีวิตทีม่ ากกว่าคาว่า โหดร้ าย

เปลือยชีวิตชาวโรฮิงญากับชีวิตที่มากกว่าคาว่า โหดร้ าย (คมชัดลึก)


“อยูท่ ี่รัฐอาระกัน ก็เหมือนรอคอยความตาย สู้บากหน้ ามาหาความหวังใหม่ดีกว่า”
“โรฮิงญา” ชนกลุม่ น้ อยในประเทศพม่า เชื ้อสายอาระกัน เอ่ยปากเล่าถึงชีวิตที่สดุ แสนจะโหดร้ ายของ
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
พวกเขา ในเขตพื ้นที่จงั หวัดหม่องดอ และจังหวัดสิดอ ในรัฐอาระกัน ประเทศพม่า
มามุต ฮุดเซ็น อายุ 50 ปี เล่าถึงครอบครัวของเขาที่จงั หวัดหม่องดอ ทางตอนเหนือของประเทศพม่า ติด
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

“น้ อยใจครับ ผมเกิดในจังหวัดหม่องดอ รัฐอาระกัน ซึ่งตังอยู


้ ่ในประเทศพม่า แม้ ว่าผมจะมีเชื ้อ
สายบังกลาเทศ แต่การที่เกิดที่รัฐอาระกัน ก็มีความรักและความผูกพันต่อแผ่นดินเกิด แต่แผ่นดินที่ผม
้ อรังเกียจต่อพวกเราของรัฐบาลทหารพม่า”
เกิดกลับไม่ต้อนรับผม ผมไม่เข้ าใจครับ โดยเฉพาะการตังข้

ฮามิด เล่าอีกว่า ชาวโรฮิงญา แม้ ว่าจะมีประวัติศาสตร์ ที่ไม่ดีกับชาวพม่าสมัยรัฐบาลอังกฤษ


เป็ นเจ้ าอาณานิคมในย่านนี ้ แต่หลังจากอังกฤษออกไปแล้ ว พวกเราถือเป็ นชนกลุ่มน้ อยที่ไม่เคยต่อสู้
หรื อเรี ยกร้ องอะไรจากรัฐบาลทหารพม่าเลย นอกจากเรี ยกร้ องขอ “สิทธิความเป็ นคน” ให้ ทดั เทียมกับ
ชาวพม่าทัว่ ไปแค่นี ้พวกเราก็พอใจแล้ ว
โดย นางณิ
เชย ลี ฮั น ดำ อำยุ 25 ปี จำกจั งหวัภดาทิมุพสย์ิ ด อมูลกล่
แก้ วำกลุ
วว่ม่ ำสาระการเรี
ตอนที่ยโดนจั
นรู้ สังคมศึ
บ ตั วกษา
อยูศาสนาและวั
่ ท่ ี สภ. ฒนธรรม
ปำกนำ้ จ. ระนอง และได้ รับอำหำรจำกตำรวจไทย เชื่อไหมว่ ำ เมื่อได้ กินข้ ำวคำแรกนำ้ ตำไหล
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เพราะเป็ นแผลฉกรรจ์ที่ขา “เจ็บมำกครั บ แต่ พวกเรำทุกคนทนได้ เพรำะควำมเจ็บปวดแค่ นี ้ เมื่อ


เทียบกับควำมโหดร้ ำยที่เรำได้ รับอยู่ทุกวัน มันเทียบกันไม่ ได้ เลย”

มามัด จอคิด เล่าต่อว่า หลังจากพวกเรานอนทนทุกข์ทรมานอยู่ถึง 4 เดือน 5 วัน ทหารพม่าจึง


ปล่อยลงเรื อ และให้ เดินทางต่อจนถูกทหารไทยจับตัว “ทุกคนดีใจ กราบพระอัลเลาะห์ทนั ทีเห็นทหารไท

ย เพราะทุกคนรู้ว่ารอดแล้ ว จากความรู้สึกในตอนนัน”
้ พวกเราไม่เคยคิดที่จะมาทาให้ คนไทย
ยุง่ ยาก เพียงแต่ไม่ร้ ูวา่ จะไปไหน ทุกประเทศล้ วนรังเกียจพวกเรา

“แม้ ผมจะถูกควบคุมตัวในเมืองไทย โดนจองจ


โดย นางณิาในห้
ภาทิพอย์งขัมูงลในเรื
แก้ ว อกลุนจ
ม่ สาระการเรี ยนรู้ สัพวกเราดี
า หรื อที่ไหนๆ งคมศึกษาใศาสนาและวั
จ ฒนธรรม
เพราะนั่นเป็ นชีวิตที่สุขสบายที่สุดที่ได้ พบเจอ ตอนนีผ้ มนอนรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลระนอง คุณรู้
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หลักการสิทธิมนุษยชน ตัวอย่างการกระทา
1. สิทธิ (right) เช่น สิทธิจะมีชีวิตอยู่รอด และอยู่อย่าง
สมเกียรติ

1.โรฮิงญา หมายถึง

2. กรณีใดเป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชนชาวโรฮิงญา ให้ ยกตัวอย่างประกอบ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. เสรีภาพ (freedom) เช่น การแสดงความคิดเห็น


การเลือกคู่ครอง การสร้างครอบครัว การประกอบ
อาชีพ

3. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (human dignity) เช่น คุณค่า


ความเป็นคน ความเท่าเทียมกัน

4. ความเสมอภาคและการเลือกปฏิบัติ (equality and


diserimination) เช่น การปฏิบัติต่อกันฉันท์พี่น้อง
ความเป็นธรรม

3.องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีบทบาทให้ความคุ้มครอง ปกป้อง ตรวจสอบ ช่วยเหลือ


กรณีมีการละเมิด สิทธิมนุษยชนในประเทศต่างๆ ได้แก่องค์กรใดบ้าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 2.2
เรื่อง เปลือยชีวิตชาวโรฮิงญากับชีวิตที่มากกว่าคาว่า โหดร้าย

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถามตามประเด็นที่กาหนดให้

เปลือยชีวติ ชาวโรฮิงญากับชีวิตทีม่ ากกว่าคาว่า โหดร้ าย


เปลือยชีวติ ชาวโรฮิงญากับชีวิตทีม่ ากกว่าคาว่า โหดร้ าย (คมชัดลึก)
“อยูท่ ี่รัฐอาระกัน ก็เหมือนรอคอยความตาย สู้บากหน้ ามาหาความหวังใหม่ดีกว่า”
“โรฮิงญา” ชนกลุม ่ น้ อยในประเทศพม่า เชื ้อสายอาระกัน เอ่ยปากเล่าถึงชีวติ ที่สดุ แสนจะโหดร้ ายของพวกเขา ในเขต
พื ้นที่จงั หวัดหม่องดอ และจังหวัดสิดอ ในรัฐอาระกัน ประเทศพม่า
มามุต ฮุดเซ็น อายุ 50 ปี เล่าถึงครอบครัวของเขาทีจ่ งั หวัดหม่องดอ ทางตอนเหนือของประเทศพม่า ติดกับประเทศ
บังกลาเทศ ว่ามีเมีย 1 คน ลูกชาย 1 คน ผู้หญิง 3 คน มีอาชีพทานา ซึง่ เป็ นอาชีพหลักของชาวโรฮิงญาในย่านดังกล่าว
“ลาบากมากๆ” มามุตบ่น เนื่องจากบางวันแทบจะไม่มีอะไรกินเลย เพราะความยากจน และยังถูกกลัน ่ แกล้ งจากทหาร
พม่า ที่มกั จะเข้ ามาในหมูบ่ ้ าน เก็บเกี่ยวผลผลิตของชาวบ้ านไปหน้ าตาเฉย ใครขัดขืนก็จะโดนเฆีย่ นด้ วยหวาย หรื อ
บางรายถึงขันโดนฆ่ ้ าทิ ้งก็มใี ห้ เห็นบ่อยๆ เมื่อใครไปขายของได้ เงินแล้ วหากทหารพม่า รู้ ก็จะเข้ ามาถามก่อนที่จะแย่ง
เงินเหล่านันไปทั ้ นที
“ไม่มีสภาพความเป็ นคน หรื อเป็ นมนุษย์เลย พวกเราอยูอ่ ย่างไร้ อนาคต โดนกดดันจากทหารพม่าตลอดเวลา
ไม่สามารถเดินทางไปไหนมาไหน โดยเฉพาะการเดินทางข้ ามเขตที่ไม่สามารถทาได้ เลย จะเดินทางไปมาได้ ก็ในเฉพาะ
จังหวัดที่ตงถิั ้ ่นฐานอยูเ่ ท่านัน้ เพราะหากออกนอกพื ้นที่ไม่เฉพาะทหารพม่าที่คอยจับจ้ อง ชาวพม่าก็ไม่ชอบขี ้หน้ าพวก
เรา และบ่อยครัง้ ที่พวกเราโดนทาร้ ายร่างกายโดยชาวพม่า หรื อโดนดูถกู เหยียดหยาม ถ่มน ้าลายใส่ก็มี ”
ฮามิด ดูซนั ชายหนุม่ อาระกัน วัย 19 ปี กล่าวว่า พวกเรายากจนมาก ซ ้าร้ ายโดนกลัน่ แกล้ งตลอดเวลา
ออกไปสมัครงานที่ไหนก็ไม่ได้ เนือ่ งจากเป็ นชนกลุม่ น้ อย ทังยั ้ งเป็ นชนกลุม่ ที่รัฐบาลพม่ารังเกียจมากที่สดุ ถึงขันไม่

ยอมรับว่ามีพวกเราอยูใ่ นประเทศ พวกเราไม่มีสทิ ธิอะไรเลย ทังที ้ ด่ ิน การศึกษา การรักษาพยาบาล

“น้ อยใจครับ ผมเกิดในจังหวัดหม่องดอ รัฐอาระกัน ซึ่งตังอยู


้ ่ในประเทศพม่า แม้ ว่าผมจะมีเชื ้อ
สายบังกลาเทศ แต่การที่เกิดที่รัฐอาระกัน ก็มีความรักและความผูกพันต่อแผ่นดินเกิด แต่แผ่นดินที่ผม
้ อรังเกียจต่อพวกเราของรัฐบาลทหารพม่า”
เกิดกลับไม่ต้อนรับผม ผมไม่เข้ าใจครับ โดยเฉพาะการตังข้

ฮามิด เล่าอีกว่า ชาวโรฮิงญา แม้ ว่าจะมีประวัติศาสตร์ ที่ไม่ดีกับชาวพม่าสมัยรัฐบาลอังกฤษ


เป็ นเจ้ าอาณานิคมในย่านนี ้ แต่หลังจากอัโดย
งกฤษออกไปแล้ ว พวกเราถือเป็ นชนกลุ่มน้ อยที่ไม่เคยต่อสู้
นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หรื อเรี ยกร้ องอะไรจากรัฐบาลทหารพม่าเลย นอกจากเรี ยกร้ องขอ “สิทธิความเป็ นคน” ให้ ทดั เทียมกับ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เพราะเป็ นแผลฉกรรจ์ที่ขา “เจ็บมำกครั บ แต่ พวกเรำทุกคนทนได้ เพรำะควำมเจ็บปวดแค่ นี ้ เมื่อ


เทียบกับควำมโหดร้ ำยที่เรำได้ รับอยู่ทุกวัน มันเทียบกันไม่ ได้ เลย”

มามัด จอคิด เล่าต่อว่า หลังจากพวกเรานอนทนทุ


โดย นางณิภาทิพย์ มูกลข์แก้ทวรมานอยู ่ถึง 4 เดืยนรู
กลุม่ สาระการเรี อน้ สั5งคมศึ
วัน กทหารพม่ าจึง ฒนธรรม
ษา ศาสนาและวั
ปล่อยลงเรื อ และให้ เดินทางต่อจนถูกทหารไทยจับตัว “ทุกคนดีใจ กราบพระอัลเลาะห์ทนั ทีเห็นทหาร
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1. โรฮิงญา หมายถึง
ชนกลุ่มน้อย เชื ้อสายอาระกัน อาศัยอยู่ในพืน้ ที จ่ งั หวัดหม่องดอและจังหวัดมุสิดอ ประเทศพม่า
เดิ มอาศัยอยู่ในพืน้ ที ่บงั กลาเทศ และรัฐบาลอังกฤษเกณฑ์ ให้มาสู้รบกับพม่าเพือ่ ยึดพม่าเป็ นอาณานิ คม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. กรณีใดเป็ นการละเมิดสิทธิมนุษยชนชาวโรฮิงญา ให้ ยกตัวอย่างประกอบ

หลักการสิทธิมนุษยชน ตัวอย่างการกระทา
1. สิทธิ (right) เช่น สิทธิจะมีชีวติ อยูร่ อด และอยูอ่ ย่าง โรฮิ งญาถูกละเมิ ดสิ ทธิ หลายประการ เช่น จากัด
สมเกียรติ ทีอ่ ยู่อาศัย ขาดการศึกษา การรักษา -
พยาบาล อดอยาก ฯลฯ
2. เสรี ภาพ (freedom) เช่น การแสดงความคิดเห็น โรฮิ งญาประกอบอาชี พทานา มี ความยาก
การเลือกคูค่ รอง การสร้ างครอบครัว การประกอบ ลาบาก และถูกเจ้าหน้าทีบ่ งั คับเอาผลผลิ ตไปการ
อาชีพ เดิ นทางข้ามเขตไม่สามารถทาได้ ไปสมัครงานที ่
ไหนไม่ได้เพราะเป็ นชนกลุ่มน้อย
3. ศักดิ์ศรีความเป็ นมนุษย์ (human dignity) เช่น คุณค่า โรฮิ งญาถูกเฆีย่ นหรื อาจโดนฆ่าทิ้ งเมื ่อขัดขื น
ความเป็ นคน ความเท่าเทียมกัน เจ้าหน้าที ่ และโดนทาร้ายร่างกายโดยชาวพม่า
โดนดูถูกเหยียดหยามถ่มน้าลายใส่
4. ความเสมอภาคและการเลือกปฏิบตั ิ (equality and รัฐบาลพม่าจากัดสิ ทธิ เกื อบทุกด้านแก่โรฮิ งญา
diserimination) เช่น การปฏิบตั ิตอ่ กันฉันท์พี่น้อง กระทาการทารุณโหดร้ายและปฏิ บตั ิ ต่อชาว
ความเป็ นธรรม โรฮิ งญาแตกต่างจากชาวพม่าทัว่ ไป

3. องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีบทบาทให้ความคุ้มครอง ปกป้อง ตรวจสอบ


ช่วยเหลือ กรณีมีการละเมิด สิทธิมนุษยชนในประเทศต่างๆ ได้แก่องค์กรใดบ้าง
1) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNHRE)
2) สานักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHER)
3) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
4) องค์การแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล (AI)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง สิทธิมนุษยชน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องปัญหาสิทธิมนุษยชนและแนวทางการแก้ไขพัฒนา
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
ปัญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เป็ นสิ่งที่ชาวไทยทุกคนต้ องร่วมมือกันป้องกัน แก้ ไข และช่วยกันหา
แนวทางพัฒนา
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/4 ประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนปัญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายแนวทางแก้ไขและพัฒนาสิทธิมนุษยชนได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
- ใบงานที่ 3.1 เรื่อง ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
- ใบงานที่ 3.2 เรื่อง แนวทางการช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
- ใบงานที่ 3.3 เรื่อง แนวทางในการพัฒนาสิทธิมนุษยชน

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1. ครูนาข่าวต่อไปนี ้ให้ นกั เรี ยนช่วยกันวิเคราะห์วา่ เหมาะสมหรื อไม่ เพราะเหตุใด


- ประชาชนรวมกลุม่ กันปิ ดถนนประท้ วงการบริหารงานของรัฐบาล
- พ่อเลี ้ยงใช้ บหุ รี่ จี ้ตามตัวลูกเลี ้ยงอายุ 8 ปี
- นายทุนใช้ แรงงานเด็กอายุต่ากว่า 13 ปี

- ขั้นสอน
1.ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงผลดีและผลเสียของการเคารพสิทธิมนุษยชนของบุคคลในสังคม
2.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน จานวน 6 กลุ่ม ตามความสมัครใจ ศึกษาข้อมูลความรู้เกี่ยวกับปัญหาสิทธิ
มนุษยชน จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามความเหมาะสม
3.ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาเป็นพื้นฐานการวิเคราะห์และประเมิน
เหตุการณ์ที่กาหนดให้ในใบงาน และให้ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานต่อชั้นเรียน
- กลุ่มที่ 1 และกลุ่มที่ 2 ทากิจกรรมในใบงานที่ 3.1 เรื่อง ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
- กลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 ทากิจกรรมในใบงานที่ 3.2 เรื่อง แนวทางการช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
- กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 6 ทากิจกรรมในใบงานที่ 3.3 เรื่อง แนวทางในการพัฒนาสิทธิมนุษยชน
- ขั้นสรุป
1. นักเรี ยนทุกคนช่วยกันสรุปปั ญหาสิทธิมนุษยชน พร้ อมทังเสนอแนะแนวทางแก้
้ ไขและการพัฒนา
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
ใบงานที่ 3.1-3.3 ตรวจใบงานที่ 3.1- ใบงานที่ 3.1-3.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
3.3

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่าน


เกณฑ์
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน
ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

ใบงานที่ 3.1
เรื่อง ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

คาชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง และตอบคาถามตามประเด็นที่กาหนดให้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

สาเป็นเด็กยากจน บ้านเดิมอยู่ที่แม่สอด พ่อแม่แยกทางกัน สาเป็นลูกคนโต เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหารายได้จุนเจือ


ครอบครัว ต้องเลี้ยงแม่และน้องแต่ก็ไม่พอกิน จึงตัดสินใจเดินทางเข้ามายังตัวเมืองจังหวัดตาก สาเข้าทางานในโรงงาน
เย็บเสื้อโหล แต่เพราะเธอไม่มีความรู้และอายุต่ากว่า 15 ปี ทาให้นายจ้างข่มขู่เธอและให้ค่าตอบแทนน้อยกว่าเพื่อนๆ
มาก เธอทนอยู่ได้ 1 ปี จึงลาออก ต่อมาเพื่อนชักชวนให้เข้ากรุงเทพจึงได้งานเป็นพนักงานเสิร์ฟอาหารที่ร้านอาหารแห่ง
หนึ่ง หลังจากทางานได้ไม่นาน สามีเจ้าของร้านเข้ามาลวนลามเธอและข่มขู่ต่างๆ นานา บางครั้งก็ทุบตีเธอ เธอจึงขอ
ลาออกแต่นายจ้างไม่ยอมและขู่ว่าถ้าลาออกจะส่งเธอไปขายตัวประเทศมาเลเซีย เธอกลัวมาก จึงแอบหลบหนีในตอน
กลางคืน นายจ้างตามตัวจนพบเธอและแจ้งตารวจให้ดาเนินคดีข้อหาลักทรัพย์ และถูกจับส่งบ้านพักฉุกเฉิน เธอจะทา
อย่างไรดี

1. การกระทาใดที่แสดงถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชน
1. สาถูกนายจ้างข่มขู่ และให้ค่าตอบแทนแรงงานน้อยกว่าเพือ่ นๆ

2. สาถูกสามี นายจ้างลวนลาม ทุบตี และขู่ว่าจะส่งเธอไปขายตัวต่างประเทศ

3. นายจ้างแจ้งตารวจกล่าวหาว่าเธอลักทรัพย์

2. ผลของการกระทาการละเมิดคืออะไร
1. ขาดความยุติธรรมเกี ่ยวกับสิ ทธิ ในการรับค่าตอบแทน และเสี ยผลประโยชน์อนั พึงจะได้รับ

2. เป็ นการละเมิ ดสิ ทธิ ในชี วิตและร่ างกาย ศักดิ์ ศรี ของความเป็ นมนุษย์

3. เจ้าหน้าที ด่ าเนิ นคดี อาญา และจับกุมตัวตกเป็ นผูต้ อ้ งหาโดยไม่มีความผิ ด

3. หน่วยงานใดควรมีบทบาทหน้ าที่เข้ าไปช่วยแก้ ไขปัญหา


1. คณะกรรมการสิ ทธิ มนุษยชนแห่งชาติ

2. สานักงานตารวจแห่งชาติ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

3. มูลนิ ธิเด็กและสตรี

4. นักเรี ยนจะมีบทบาทในเรื่ องนี ้อย่างไร


ช่วยสอดส่องดูแล สังเกต และแจ้งผูเ้ กี ่ยวข้อง กรณี พบเห็นการละเมิ ดสิ ทธิ มนุษยชน และประพฤติ ปฏิ บตั ิ ตน
ตามหลักการสิ ทธิ มนุษยชน

ใบงานที่ 3.2
เรื่ อง แนวทางการช่วยเหลือผู้ถกู ละเมิดสิทธิมนุษยชน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี ้แจง ให้ นกั เรี ยนวางแผนแนวทางการช่วยเหลือผู้ถกู ละเมิดสิทธิมนุษยชน

ผู้พบเห็น / ผู้ถกู ละเมิด ร้ องทุกข์ตอ่

เมื่อเกิดปัญหา ร้องทุกข์ ต่อเจ้าหน้าที ่ปกครอง


ตารวจ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน

การดาเนินการกับผู้ละเมิด และผู้ถกู
ละเมิด
องค์กรที่ดแู ล
โดยให้ความช่วยเหลื อรี บด่วน และ
ด้ านสิทธิมนุษยชน
ประสานหน่วยงานทีเ่ กี ่ยวข้อง พร้อม
เข้าจับกุมผูล้ ะเมิ ด

คณะกรรมการสิ ทธิ สานักงานตารวจ ศาลปกครอง ผูต้ รวจการแผ่นดิ น


มนุษยชนแห่งชาติ แห่งชาติ

ใบงำนที่ 3.3

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เรื่ อง แนวทำงในกำรพัฒนำสิทธิมนุษยชน
คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนร่วมกันอภิปรายเสนอแนวทางในการพัฒนาสิทธิมนุษยชน

แนวทางในการพัฒนาสิทธิมนุษยชน ผลของการพัฒนาสิทธิมนุษยชน

1. การให้ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารเกี ่ยวกับ 1. เกิ ดความรู้ เข้าใจเกี ่ยวกับสิ ทธิ เสรี ภาพ
เกี ่ยวกับมนุษยชน ของตนอันพึงได้รบั

2. แก้ไขเพิ่ มเติ มกฎหมายให้สอดคล้องกับ 2. ประชาชนรู้บทบาทหน้าที ่ และปฏิ บตั ิ ตาม


ปฏิ ญญาสากลฯ กฎหมาย

3. จัดทานโยบายและแผนปฏิ บตั ิ การแม่บท 3. เกิ ดความชัดเจนในการดาเนินงานทัง้


แห่งชาติ ดา้ นสิ ทธิ มนุษยชน ภาครัฐและเอกชน

4. จัดการศึกษาสิ ทธิ มนุษยชนใน 4. นักเรี ยน นักศึกษา และประชาชน มี ความรู้


สถาบันการศึกษา อย่างถูกต้อง

5. การเข้าเป็ นภาคีอนุสญ
ั ญา หรื อข้อตกลง 5. เกิ ดความร่วมมื อ ร่ วมใจ คุม้ ครองสิ ทธิ
ระหว่างประเทศด้านสิ ทธิ มนุษยชน มนุษยชนอย่างกว้างขวาง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ระบอบการเมืองการปกครอง แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขของไทย เป็ นการปกครองที่มี
หลักการสาคัญในการใช้ อานาจอธิปไตยเพื่อประโยชน์สงู สุดของประชาชน โดยมีพระมหากษัตริย์เป็ นศูนย์รวมจิตใจ
ของปวงชน ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศในทุกด้ าน

2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/3 วิเคราะห์ความสาคัญและความจาเป็นที่ต้องธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครอง ตามระบอบ
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถวิเคราะห์ความจาเป็นในการธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- กิจกรรมที่ 1 ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ใบงานที่ 1.1 เรื่องการเมืองการปกครอง
ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การใช้อานาจอธิปไตย
ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ไทย
ใบงานที่ 1.4 เรื่อง พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์
- กิจกรรมที่ 2 การเมืองกับชีวิต
ใบงานที่ 2.1 วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย
ใบงานที่ 2.2 การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 4 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1.ครูให้นักเรียนผลัดกันเล่าความรู้เดิมเรื่อง ระบอบการปกครองแบบต่างๆ ได้แก่
- ระบอบเผด็จการ
- ระบอบประชาธิปไตย
2. ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงหลักการสาคัญของการปกครองระบอบเผด็จการและการปกครอง ระบอบ
ประชาธิปไตย
- ขั้นสอน
1.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง
ค่อนข้างอ่อน และอ่อน
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง ลักษณะการเมืองการปกครอง จากหนังสือเรียน หรือ
หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศตามความเหมาะสม ในหัวข้อต่อไปนี้
1) หลักการของระบอบประชาธิปไตย
2) หลักการของระบอบเผด็จการ
นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันอภิปรายความรู้ที่ได้ศึกษา จนมีความเข้าใจกระจ่างชัดเจน
ครูแจกใบงานที่ 1.1 เรื่อง การเมืองการปกครอง แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่กันทาใบงาน
แต่ละหัวข้อ ดังนี้
- สมาชิกคนที่ 1 อ่านคาสั่ง คาถาม หรือประเด็นคาถาม แยกแยะประเด็นให้ชัดเจน
- สมาชิกคนที่ 2 ฟังขั้นตอน รวบรวมข้อมูล หาแนวทางเสนอแนะในการตอบคาถาม
- สมาชิกคนที่ 3 ตอบคาถาม หรือคานวณหาคาตอบ
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้อง
3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มจะหมุนเวียนเปลี่ยนหน้าที่กันตอบคาถาม หรือประเด็นที่กาหนด จนครบทุกข้อ
ขัน้ สรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบในใบงาน และช่วยกันสรุปความแตกต่างของการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย กับระบอบเผด็จการ
ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูตั้งคาถามเพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้ของนักเรียน เช่น
- ประเทศที่เป็นเอกรัฐ หรือรัฐเดี่ยว ได้แก่ประเทศใดบ้าง
แนวคาตอบ ไทย สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สเปน
- ประเทศที่เป็นสหพันธรัฐ หรือรัฐรวม ได้แก่ประเทศใดบ้าง
แนวคาตอบ สหรัฐอเมริกา สหพันธรัฐรัสเซีย มาเลเซีย
- ขั้นสอน
1.ครูอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงความแตกต่างกันของรัฐเดี่ยวหรือเอกรัฐ กับสหพันธรัฐหรือรัฐรวม
และสรุปประเด็น ดังนี้
- รัฐเดี่ยวหรือเอกรัฐ เป็นรัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียว ใช้อานาจอธิปไตยปกครองดินแดน
ทั้งหมด อาจมีการกระจายให้ท้องถิ่นได้บริหารกิจการของท้องถิ่นตามที่รัฐบาลเห็นสมควร
- รัฐรวมหรือสหพันธรัฐ เป็นรัฐที่มีรัฐบาลหลายระดับ คือ รัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่น
ของแต่ละมลรัฐ
2. ครูเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่อง รูปแบบของรัฐไทย ซึ่งเป็นรัฐเดี่ยว มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3. นักเรียนกลุ่มเดิมจากชั่วโมงที่แล้วจับคู่กันเป็น 2 คู่ ช่วยกันศึกษาความรู้เรื่อง การใช้อานาจอธิปไตย
จากหนังสือเรียน แล้วช่วยกันทาใบงานที่ 1.2 เรื่อง การใช้อานาจอธิปไตย
นักเรียนแต่ละคู่ของกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงานและอธิบายความรู้ในประเด็นสาคัญของคาตอบ
ในแต่ละข้อ
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงาน และสรุปประเด็นสาคัญของการใช้อานาจอธิปไตย
ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล

ชั่วโมงที่ 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
1.ครูให้ นั กเรี ยนชมวีดิทัศน์ ห รือภาพเกี่ยวกับพระราชกรณี ยกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว รัช กาล
ปัจจุบัน แล้วให้นักเรียนผลัดกันแสดงความประทับใจในพระราชกรณียกิจของพระองค์ ครูอธิบายเชื่ อมโยงให้นักเรียน
เข้าใจว่า พระราชกรณียกิจดังกล่าวนั้น จัดเป็นบทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยที่ปฏิบัติตามฐานะและพระราชอานาจตาม
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

- ขั้นสอน
นักเรียนรวมกลุ่มกัน กลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ ให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่อง ฐานะและ
พระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ จากหนังสือเรียนนักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานที่ 1.3 เรื่อง ฐานะและพระ
ราชอานาจของพระมหากษัตริย์ไทยนักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันนาเสนอผลงานจากใบงาน แล้วให้กลุ่มที่มีความคิดเห็น
ต่างกันออกไปนาเสนอเพิ่มเติม โดยครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง
- ขั้นสรุป
ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจที่สาคัญของ
พระมหากษัตริย์ไทย และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศไทย
ชั่วโมงที่ 4 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูสนทนาซักถามนักเรียนถึงความพร้อมของนักเรียนแต่ละกลุ่มที่ไปสืบค้นหาความรู้เกี่ยวกับ
พระราชกรณียกิจสาคัญของพระมหากษัตริย์ไทย และพระบรมวงศานุวงศ์ ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศไทย วิธีการ
สืบค้น และการเบ่งหน้าที่กันทางานของนักเรียน
- ขั้นสอน
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานที่ 1.4 เรื่อง พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย
3.นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอผลงานต่อชั้นเรียน ดังนี้
-กลุ่มที่ 1 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 2 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
-กลุ่มที่ 2 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 3 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
-กลุ่มที่ 3 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 4 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
-กลุ่มที่ 4 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 5 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
-กลุ่มที่ 5 นาเสนอผลงาน กลุ่มที่ 1 แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนช่วยกันอภิปรายความสาคัญและความจาเป็ นที่ต้องรักษาไว้ ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่ 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถวิเคราะห์ ใบงานที่ 1.1-1.4 ตรวจใบงานที่ ใบงานที่ 1.1-1.4 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ความจาเป็นในการ 1.1-1.4
ธารงรักษา
สามารถอธิบายการ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยของ
ไทย
สนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด
11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน
16. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
17. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

18. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

19. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย ที่ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย กรณีที่
เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา เกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง สามารถนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
20. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน หน่วยสิทธิมนุษยชน
เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตัวอย่ ำงสื่อประกอบกำรสอน

พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั

เสด็จไปเยี่ยมเยียนราษฎรในท้ องถิ่นต่างๆ

พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั

ต้ อนรับพระราชอาคันตุกะ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั

เสด็จไปประกอบพิธีทางศาสนา

ใบงำนที่ 1.1 เรื่อง กำรเมืองกำรปกครอง

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนอธิบายข้ อความที่กาหนดให้

1. หลักการสาคัญของ

ระบอบประชาธิปไตย

2. หลักการสาคัญของ โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ระบอบเผด็จการ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

3. รูปแบบของการ

ปกครองระบอบ

เผด็จการ

4. ความแตกต่างระหว่าง

ระบอบเผด็จการ

คอมมิวนิสต์ กับ

ระบอบเผด็จการทหาร
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

5. ความแตกต่างของ

เอกรัฐกับสหพันธรัฐ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงำนที่ 1.1 เรื่อง กำรเมืองกำรปกครอง

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนอธิบายข้ อความที่กาหนดให้

1. หลักการสาคัญของ 1. อานาจอธิ ปไตย เป็ นอานาจทีม่ าจากประชาชน


2. ประชาชนมี สิทธิ มอบอานาจปกครองให้แก่ประชาชนด้วยกันเอง
ระบอบประชาธิปไตย
โดยการออกเสียงเลื อกตัง้ ประชาชนกลุ่มหนึ่งมาบริ หารประเทศ
แทน3. รัฐบาลเคารพสิ ทธิ พืน้ ฐานของประชาชน

4. ประชาชนทุกคนมี สิทธิ เสมอกันในการทีจ่ ะได้รับบริ การทุกชนิ ด

ทีร่ ัฐจัดให้แก่ประชาชน

5. รัฐบาลถื อกฎหมายและความเป็ นธรรมเป็ นบรรทัดฐานในการปกคร


อง

2. หลักการสาคัญของ 1. ผูน้ ามี อานาจสูงสุดในการปกครอง


2. การรักษาความมัน่ คงของผูน้ ามี ความสาคัญกว่าการคุม้ ครองสิ ทธิ
ระบอบเผด็จการ
เสรี ภาพของประชาชน

3. โดย
ผูน้ าสามารถอยู
นางณิภาทิพย์่ในอ
มูลานาจได้
แก้ ว กลุม่ ตสาระการเรี
ลอดชี วิตยหรื
นรู้อสัเท่ าที ผ่ กรู้ษา่ วมงานหรื
งคมศึ อ ฒนธรรม
ศาสนาและวั

กองทัพสนับสนุน
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

3. รูปแบบของการ 1. ระบอบเผด็จการทหาร คณะผูน้ าทหารเป็ นผูใ้ ช้อานาจเผด็จการ

ปกครองระบอบ ในการปกครองโดยตรงหรื อโดยอ้อม


2. ระบอบเผด็จการฟาสซิ สต์ เน้นความสาคัญของผูน้ าว่า มี อานาจ
เผด็จการ
เหนื อประชาชนทัว่ ไป

3. ระบอบเผด็จการคอมมิ วนิ สต์ มี พรรคคอมมิ วนิ สต์เพียงพรรคเดี ยว

เป็ นผูใ้ ช้อานาจเผด็จการปกครองประเทศ

4. ความแตกต่างระหว่าง ระบอบเผด็จการทหารจะควบคุมกิ จการทางการเมื องของประชาชน


เท่านัน้ แต่ระบอบเผด็จการคอมมิ วนิ สต์ จะใช้อานาจเผด็จการควบคุม
ระบอบเผด็จการ
กิ จกรรมและการดาเนิ นชี วิตของประชาชนในทุกด้าน ทัง้ ด้านการเมื อง
คอมมิวนิสต์ กับ การปกครอง เศรษฐกิ จ และสังคม
ระบอบเผด็จการทหาร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

5. ความแตกต่างของ เอกรัฐ คื อ รัฐทีม่ ี รัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียว ใช้อานาจอธิ ปไตย


ปกครองดิ นแดนทัง้ หมด อาจมี การกระจายอานาจให้ท้องถิ่ นได้ บริ หาร
เอกรัฐกับสหพันธรัฐ
กิ จการของท้องถิ่ นได้ตามทีร่ ัฐบาลเห็นสมควร

สหพันธรัฐ คือ รัฐทีม่ ี รัฐบาลสองระดับ คื อ รัฐบาลกลางและรัฐบาล


ท้องถิ่ นของแต่ละมลรัฐ รัฐบาลแต่ละระดับจะใช้อานาจอธิ ปไตย
ปกครองตามที ร่ ัฐธรรมนูญกาหนด รัฐบาลกลางของสหพันธรัฐจะเป็ น
ผูใ้ ช้อานาจในกิ จการที เ่ กี ่ยวข้องหรื อกระทบกระเทื อนต่อประโยชน์
ส่วนรวม ของชาติ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงำนที่ 1.2 เรื่อง กำรใช้ อำนำจอธิปไตย

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาหมายเลขหน้ าข้ อความด้ านล่างมาใส่ในกรอบคาที่กาหนดให้ ด้านบน


ที่มีใจความสัมพันธ์กนั

รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา

คณะรัฐมนตรี ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุตธิ รรม ศาลปกครอง

1. ตรวจสอบการตรากฎหมายที่ขดั หรื อแย้ งต่อรัฐธรรมนูญ


2. พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
3. กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินและบริหารให้ เป็ นไปตามนโยบาย
4. พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าขัดหรื อแย้ งต่อรัฐธรรมนูญหรื อไม่
5. มีอานาจพิจารณาคดีแพ่งและคดีอาญาที่มีการอุทธรณ์คาพิพากษาจากศาลชันต้ ้ น
6. บัญญัติกฎหมายและยกเลิกกฎหมาย
7. มีอานาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตังและเพิ
้ กถอนสิทธิเลือกตังในการเลื
้ อกตังสมาชิ
้ ก
สภาท้ องถิ่นและผู้บริหารท้ องถิ่น
8. มีอานาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตังและเพิ
้ กถอนสิทธิเลือกตังในการเลื
้ อกตัง้
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
9. บริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้ องถิ่น
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

10. มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐกับ


เอกชน อันเนื่องมาจากการดาเนินกิจการการปกครองของหน่วยงานราชการ
11. เสนอและพิจารณากฎหมาย
12. ศาลชันต้ ้ น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
13. ควบคุมข้ าราชการประจาให้ นานโยบายไปปฏิบตั ิ
14. ถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองหรื อข้ าราชการระดับสูงออกจากตาแหน่ง
15. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตังกระทู
้ ้ ถามรัฐมนตรี หรื อนายกรัฐมนตรี ในเรื่ องเกี่ยวกับงานใน
หน้ าที่
ใบงำนที่ 1.2 เรื่อง กำรใช้ อำนำจอธิปไตย

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาหมายเลขหน้ าข้ อความด้ านล่างมาใส่ในกรอบคาที่กาหนดให้ ด้านบน

ที่มีใจความสัมพันธ์กนั

รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา

6 11, 15 1, 2, 14, 15

คณะรัฐมนตรี ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุตธิ รรม ศาลปกครอง

3, 9, 13 4 5, 7, 8, 12 10

1. ตรวจสอบการตรากฎหมายที่ขดั หรื อแย้ งต่อรัฐธรรมนูญ


2. พิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
3. กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินและบริหารให้ เป็ นไปตามนโยบาย
4. พิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าขัดหรื อแย้ งต่อรัฐธรรมนูญหรื อไม่
5. มีอานาจพิจารณาคดีแพ่งและคดีอาญาที่มีการอุทธรณ์คาพิพากษาจากศาลชันต้ ้ น
6. บัญญัติกฎหมายและยกเลิกกฎหมาย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. มีอานาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตังและเพิ
้ กถอนสิทธิเลือกตังในการเลื
้ อกตังสมาชิ
้ ก
สภาท้ องถิ่นและผู้บริหารท้ องถิ่น
8. มีอานาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีที่เกี่ยวกับการเลือกตังและเพิ
้ กถอนสิทธิเลือกตังในการเลื
้ อกตัง้
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
9. บริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้ องถิ่น
10. มีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐกับ
เอกชน อันเนื่องมาจากการดาเนินกิจการการปกครองของหน่วยงานราชการ
11. เสนอและพิจารณากฎหมาย
12. ศาลชันต้ ้ น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
13. ควบคุมข้ าราชการประจาให้ นานโยบายไปปฏิบตั ิ
14. ถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองหรื อข้ าราชการระดับสูงออกจากตาแหน่ง
15. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการตังกระทู
้ ้ ถามรัฐมนตรี หรื อนายกรัฐมนตรี ในเรื่ องเกี่ยวกับงานใน
หน้ าที่
ใบงำนที่ 1.3 เรื่อง ฐำนะและพระรำชอำนำจของพระมหำกษัตริย์ไทย

ตอนที่ 1

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนวิเคราะห์ภาพพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย แล้ วบรรยายใต้ ภาพที่แสดงถึง


ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตอนที่ 2

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี ้

1. พระมหากษัตริ ย์ไทยทรงมีฐานะและพระราชอานาจตามรัฐธรรมนูญอย่างไร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. ให้ นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็นถึงความสาคัญและความจาเป็ นที่ต้องดารงไว้ ซงึ่ การปกครองระบอบ


ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข

ใบงำนที่ 1.3 เรื่อง ฐำนะและพระรำชอำนำจของพระมหำกษัตริย์ไทย

ตอนที่ 1

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนวิเคราะห์ภาพพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ไทย แล้ วบรรยายใต้ ภาพที่แสดงถึง


ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศ เป็ นศูนย์รวม ทรงเป็ นพุทธมามกะ และทรงเป็ นอัครศาสนูปถัมภก


จิ ตใจของประชาชนชาวไทย ให้ทกุ คนรวมพลังกัน เป็ นขวัญกาลังใจให้ประชาชนพระพฤติ ตนเป็ นคนดี
ทากิ จกรรมต่างๆ ในการพัฒนาประเทศชาติ

ทรงเสด็จไปเยีย่ มราษฎรในภาคต่างๆ โดยเฉพาะใน ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย เป็ นการสร้างขวัญ


ดิ นแดนทุรกันดาร ช่วยเหลื อราษฎรผูย้ ากไร้ ตลอด และกาลังใจให้แก่ทหารในกองทัพได้ปฏิ บตั ิ หน้าที ่
โดย นางณิภาทิพย์ ในการปกป้
ทัง้ ส่งเสริ มการพัฒนาอาชี พ และสภาพความ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ สังคมศึกษาไศาสนาและวั
องรักษาเอกราชของชาติ ทย ฒนธรรม

เป็ นอยู่ของราษฎร
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ทรงเป็ นศูนย์รวมจิ ตใจของประชาชนชาวไทย การที ่ ทรงเป็ นตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการต้อนรับ


พระองค์ปฏิ บตั ิ พระราชกรณี ยกิ จที แ่ สดงถึงการดูแล ผูแ้ ทนของประเทศต่างๆ ที เ่ ข้ามาเจริ ญสัมพันธไมตรี
ทุกข์สขุ ของประชาชน และโครงการในพระราชดาริ กับไทย ทาให้เกิ ดความสัมพันธ์ ทีด่ ีงามกับต่างชาติ
ส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศชาติ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ทรงใช้อานาจอธิ ปไตยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ทรงเป็ นตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการติ ดต่อกับ


และศาล แสดงถึงความมัน่ คงของการปกครอง ประมุขของต่างประเทศ เป็ นการสร้างความสัมพันธ์
ระบอบประชาธิ ปไตยอันมี พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ น
ทีด่ ีงามกับต่างประเทศ
ประมุข

ตอนที่ 2

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี ้

1. พระมหากษัตริ ย์ไทยทรงมีฐานะและพระราชอานาจตามรัฐธรรมนูญอย่างไร

1. ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศ โดยจะทรงใช้อานาจอธิ ปไตยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี


และศาล 2.
ทรงเป็ นกลางและทรงอยู่เหนื อการเมื อง 3.
ทรงดารงอยู่ในฐานะอันเป็ นที เ่ คารพสักการะ ผูใ้ ดจะละเมิ ดกล่าวหา หรื อฟ้องร้ องพระมหากษัตริ ย์
ในทางใดๆ มิ ได้ 4.
ทรงเป็ นพุทธมามกะ และทรงเป็ นอัครศาสนูปถัมภก 5.
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ทรงดารงตาแหน่งจอมทัพไทย 6.
ทรงเป็ นตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการติ ดต่อกับประมุขต่างประเทศ

2. ให้ นกั เรี ยนแสดงความคิดเห็นถึงความสาคัญและความจาเป็ นที่ต้องดารงไว้ ซงึ่ การปกครองระบอบ


ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข

1. เป็ นศูนย์รวมแห่งความสามัคคีของประชาชน เพือ่ ทากิ จกรรมต่างๆ อันจะเป็ นประโยชน์

ต่อส่วนรวม ประเทศ เมื ่อมี เหตุการณ์ขดั แย้งกันขึ้น กลุ่มผูม้ ี อดุ มการณ์ทางการเมื องแตกต่างกัน

หรื อระหว่างผูบ้ ริ หารประเทศ ซึ่งจะมี ผลเสียต่อประเทศ พระองค์ก็ทรงแนะนาแนวทางทีเ่ ป็ น

ประโยชน์และสามารถชี ้นาให้ทกุ ฝ่ ายสมานสามัคคี กนั ได้ ซึ่ งทาให้ประชาชนอยู่อย่างเป็ นสุข

2. ทรงชี ้แนะเกี ่ยวกับโครงการต่างๆ ที เ่ ป็ นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชี วิตและความเป็ นอยู่

ของ ราษฎร เช่น โครงการเกี ่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้า การประกอบอาชี พด้านเกษตรกรรม


การแก้ปัญหาภัยแล้ง ตลอดทัง้ ยังทรงพระราชทานปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง เพือ่ การดารงชี วิต
อย่างมี ความสุขให้แก่ประชาชนชาวไทย

3. ทรงมี พระราชกรณี ยกิ จในด้านการสร้างความสัมพันธ์ กบั ต่างประเทศ เช่น การเสด็จไปเยือน

ประเทศต่างๆ การต้อนรับผู้นาหรื อตัวแทนของประเทศต่างๆ ทีม่ าเจริ ญสัมพันธไมตรี กบั ประเทศ

ไทยเป็ นการสร้างความสัมพันธ์ ทีด่ ีต่อกัน \

ฯลฯ

(หมายเหตุ นักเรี ยนอาจตอบเป็ นอย่างอื น่ ตามความเหมาะสม ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงำนที่ 1.4 เรื่อง พระรำชกรณียกิจของพระมหำกษัตริย์ไทย

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาข้ อมูลความรู้เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริ ย์ไทยมาวิเคราะห์

และตอบคาถามตามหัวข้ อที่กาหนด

ภาพพระราชกรณี ยกิ จของพระมหากษัตริ ย์ไทย

1. พระราชกรณียกิจที่สาคัญ คืออะไร สอดคล้ องกับฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ไทย ตาม


บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างไร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. พระราชกรณียกิจดังกล่าวส่งผลดีตอ่ การพัฒนาประเทศ อย่างไรบ้ าง

ใบงำนที่ 1.4 เรื่อง พระรำชกรณียกิจของพระมหำกษัตริย์ไทย

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาข้ อมูลความรู้เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริ ย์ไทยมาวิเคราะห์

และตอบคาถามตามหัวข้ อที่กาหนด

ภาพพระราชกรณี ยกิ จของพระมหากษัตริ ย์ไทย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1. พระราชกรณียกิจที่สาคัญ คืออะไร สอดคล้ องกับฐานะและพระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ไทย ตาม


บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยอย่างไร

2. พระราชกรณียกิจดังกล่าวส่งผลดีตอ่ การพัฒนาประเทศ อย่างไรบ้ าง

(หมายเหตุ พิจารณาตามคาตอบของนักเรี ยน ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

การร่วม
ชื่อ – สกุล การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ รวม
ลาดับ ความร่วมมือ ปรับปรุง
ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน
ที่ ของผู้รับการ ผลงานกลุ่ม 20
ประเมิน คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2
ปรับปรุง = 1
หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ตามความเหมาะสมก็ได้
17 – 20 ดีมาก
13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้
5–8 ปรับปรุง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ระบอบการเมืองการปกครอง แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเมืองกับชีวิต
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยนั้น มีปัญหาต่างๆ ซึ่งเป็น
อุปสรรคต่อการบริหารบ้านเมืองและประเทศ ซึ่งทุกฝ่ายจะต้องร่วมมือกันหาแนวทางแก้ไข อีกทั้งยังต้องร่วมมือกันทาง
การเมืองการปกครองที่จะนาไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ

2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตัวชี้วัด ม.4-6/2 เสนอแนวทางทางการเมืองการปกครองที่นาไปสู่ความเข้าใจ และการ ประสานประโยชน์


ร่วมกันระหว่างประเทศ
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห์ปัญหาการเมืองที่สาคัญในประเทศจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายแนวทางการเมืองการปกครองที่นาไปสู่ความเข้าใจและการประสานประโยชน์
ร่วมกันระหว่างประเทศ
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
-

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูนาข่าวหรือภาพกิจกรรมทางการเมืองการปกครองของประเทศต่างๆ ในโลก มาให้นักเรียนวิเคราะห์
เช่น
-การชุมนุมประท้วงรัฐบาลของชาวตุรกี
-การเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา
-การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศอังกฤษ ญี่ปุ่น
-รัฐบาลพม่ากักบริเวณให้นางอองซาน ซูจี อยู่ภายในบริเวณบ้านพักของตนเอง

- ขั้นสอน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ครูให้ นกั เรี ยนช่วยกันวิเคราะห์วา่ ข่าวหรื อภาพข่าวดังกล่าวมีผลต่อการดาเนินชีวิตของประชาชน

อย่างไร

3. ครูชว่ ยอธิบายสรุปให้ นกั เรี ยนเข้ าใจว่าอิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองมีผลต่อการดาเนิน

ชีวิตของประชาชน และการที่ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยทาให้ มีผลต่อการดาเนิน

ชีวิตของประชาชน เช่น

- ประชาชนมีสิทธิเสรี ภาพเท่าเทียมกัน

- ประชาชนมีความสนใจในทางการเมือง

- มีการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจของกลุม่ ที่มีอาชีพเดียวกัน

- การรวมกลุม่ สร้ างพลังความเข้ มแข็งต่อการอนุรักษ์สภาพแวดล้ อมในชุมชนท้ องถิ่น

4. ครูแบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุม่ กลุ่มละ 6 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้ างเก่ง

ปานกลางค่อนข้ างอ่อน และอ่อน และให้ นกั เรี ยนแต่ละกลุม่ แบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 3 คน

ให้ แต่ละกลุม่ ย่อยช่วยกันทาใบงาน ดังนี ้

- กลุม่ ย่อยที่ 1 ศึกษาสืบค้ นความรู้เกี่ยวกับ ปัญหาทางการเมืองที่สาคัญที่เกิดขึ ้นในประเทศไทย

และทาใบงานที่ 2.1 เรื่ อง วิเคราะห์ปัญหาการเมืองไทย

- กลุม่ ย่อยที่ 2 ศึกษาสืบค้ นความรู้เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ

และทาใบงานที่ 2.2 เรื่ อง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูสนทนากับนักเรียนถึงการดาเนินงานของแต่ละกลุ่ม วิธีการสืบค้นข้อมูลในเรื่องที่ศึกษา การแบ่งหน้าที่ความ
รับผิดชอบ และความก้าวหน้าของงานที่รับผิดชอบ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ขั้นสอน
นักเรี ยนกลุม่ ย่อยของแต่ละกลุม่ ผลัดกันเล่าผลงานที่กลุม่ ตนรับผิดชอบตามหัวข้ อในใบงาน ให้ สมาชิก

อีกกลุม่ ย่อยฟั ง และช่วยกันแสดงความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิ่มเติมที่เป็ นประโยชน์

3. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลงานต่อชันเรี


้ ยน และให้ กลุม่ อื่นเสนอแนะเพิ่มเติม โดยมีครู

เป็ นผู้ตรวจสอบความถูกต้ อง

4. ครูและนักเรี ยนช่วยกันอภิปรายสรุปปัญหาการเมืองที่สาคัญของประเทศ และแนวทางแก้ ไข

กิจกรรมการเมืองการปกครองสาคัญที่นาไปสู่ความเข้ าใจและการประสานประโยชน์ร่วมกัน

ระหว่างประเทศ

5. ครูมอบหมายให้ นกั เรี ยนแต่ละกลุม่ ช่วยกันเขียนบทความวิเคราะห์การเมืองการปกครองไทย

ในประเด็นต่อไปนี ้

1) การวิเคราะห์ปัญหาการเมืองในประเทศ
2) การเสนอแนวทางการเมืองการปกครอง
3) การวิเคราะห์ความจาเป็ นในการธารงรักษาการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริ ย์
ทรงเป็ นประมุข
- ขั้นสรุป
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานต่อครูผู้สอน แล้วครูเลือกบทความวิเคราะห์ที่มีผลงานอยู่ในเกณฑ์ดี
นาไปจัดป้ายนิเทศ
 นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง ระบอบการเมืองการปกครอง

9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถเขียน ใบงานที่ 2.1-2.2 ตรวจใบงานที่ 2.1- ใบงานที่ 2.1-2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
วิเคราะห์ปัญหา 2.2
การเมืองที่สาคัญใน
ประเทศจาก
แหล่งข้อมูลต่างๆ
สามารถอธิบาย แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่าน
แนวทางการเมือง เกณฑ์
การปกครองที่
นาไปสู่ความเข้าใจ
และการประสาน
ประโยชน์ร่วมกัน
ระหว่างประเทศ
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน
ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงำนที่ 2.1 เรื่อง วิเครำะห์ ปัญหำกำรเมืองไทย

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาปั ญหาการเมืองสาคัญที่เกิดขึ ้นในประเทศไทยมาวิเคราะห์ และตอบคาถาม

ปัญหาเรื่ อง

สาระสาคัญ

1. ปัญหาข้ างต้ นเป็ นปัญหาด้ านใด

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. สาเหตุของปัญหา คืออะไร

3. มีแนวทางแก้ ไขอย่างไร

4. นักเรี ยนจะมีสว่ นร่วมในการแก้ ปัญหาอย่างไรบ้ าง

ใบงำนที่ 2.1 เรื่อง วิเครำะห์ ปัญหำกำรเมืองไทย

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาปั ญหาการเมืองสาคัญที่เกิดขึ ้นในประเทศไทยมาวิเคราะห์ และตอบคาถาม

ปัญหาเรื่ อง
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระสาคัญ
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

1. ปัญหาข้ างต้ นเป็ นปัญหาด้ านใด

2. สาเหตุของปัญหา คืออะไร

3. มีแนวทางแก้ ไขอย่างไร

4. นักเรี ยนจะมีสว่ นร่วมในการแก้ ปัญหาอย่างไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

(หมายเหตุ พิ จารณาตามคาตอบของนักเรี ยน ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

ใบงำนที่ 2.2 เรื่อง กำรประสำนประโยชน์ ร่วมกันระหว่ ำงประเทศ

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาข้ อมูลที่สืบค้ นมาเกี่ยวกับเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ

มาวิเคราะห์ แล้ วตอบคาถาม

ปัญหาเรื่ อง

สาระสาคัญ

1. ข้ อมูล/ข่าว เรื่ อง

2. จากข้ อมูล/ข่าวมีข้อความแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศใด และมีความสัมพันธ์ด้านใด


จงอธิบาย

3. ความสัมพันธ์ดงั กล่าวมีผลดีอย่างไร จงอธิบาย

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงำนที่ 2.2 เรื่ อง กำรประสำนประโยชน์ ร่วมกันระหว่ ำงประเทศ


คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนนาข้ อมูลที่สืบค้ นมาเกี่ยวกับเรื่ อง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับต่างประเทศ

มาวิเคราะห์ แล้ วตอบคาถาม

ปัญหาเรื่ อง

สาระสาคัญ

1. ข้ อมูล/ข่าว เรื่ อง

2. จากข้ อมูล/ข่าวมีข้อความแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศใด และมีความสัมพันธ์ด้านใด


จงอธิบาย

3. ความสัมพันธ์ดงั กล่าวมีผลดีอย่างไร จงอธิบาย

(หมายเหตุ พิ จารณาตามคาตอบของนักเรี ยน ให้อยู่ในดุลยพิ นิจของครู ผสู้ อน)

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง รู้ชัดรัฐธรรนูญ
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มีหลักการสาคัญและบทบัญญัติซึ่งเป็นแนวทางในการใช้อานาจอธิปไตย
ของปวงชนชาวไทย
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/4 เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนหลักการสาคัญของรัฐธรรมนูญ แนวทางการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายความเป็นมา โครงสร้าง และความสาคัญของรัฐธรรมนูญได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- กิจกรรมที่ 1 รู้ชัดรัฐธรรมนูญ
- กิจกรรมที่ 2 การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1-2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูตั้งคาถามให้นักเรียนตอบเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ดังนี้
1)หลักการสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ได้แก่อะไรบ้าง
แนวคาตอบ
(1) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
(2) การลดการผูกขาดอานาจรัฐและการใช้อานาจอย่างไม่เป็นธรรม
(3) การทาให้การเมืองมีความโปร่งใส มีคุณธรรม จริยธรรม
(4) การทาให้ระบบตรวจสอบการใช้อานาจรัฐให้มีความเข้มแข็ง และทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ขั้นสอน
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน
(ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนไว้ล่วงหน้า) ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาความรู้ เรื่องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 จากหนังสือเรียน และหนังสือรัฐธรรมนูญ
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปประเด็นสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน
ทาใบงานที่ 1.1 เรื่อง รัฐธรรมนูญ โดยแบ่งหน้าที่กันทา ดังนี้
- สมาชิกคนที่ 1 มีหน้าที่อ่านคาถาม แยกแยะประเด็นสาคัญของคาถาม
- สมาชิกคนที่ 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคาถามให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง
- สมาชิกคนที่ 3 รวบรวมข้อมูลและเขียนคาตอบ
- สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้องและเขียนเพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์

ขั้นสรุป
สมาชิกทุกคนร่วมมือกันทาใบงานจนครบทุกข้อ มีการพึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือกันและอธิบายให้กัน
ฟังจนเข้าใจ จนสมาชิกทุกคนสามารถทาแบบฝึกหัดได้ครบทุกข้อ จากนั้นให้สมาชิกทุกคนกลับไปทบทวนความรู้
เพิ่มเติมเพื่เตรียมการแข่งขันตอบคาถามกับกลุ่มอื่นในชั่วโมงต่อไป

ชั่วโมงที่ 3 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)

- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ครูจัดเตรียมการแข่งขันก่อนการดาเนินการแข่งขัน ดังนี้การจัดการแข่งขัน มีการจัดโต๊ะแข่งขันที่มีตัวแทนแต่ละกลุ่มใน


ข้อ 2 ซึ่งมีทั้งเก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน ครูจะจัดโต๊ะแข่งขันโดยกาหนดนักเรียนแต่
ละกลุ่ม ซึ่งมีความสามารถแตกต่างกันไป แยกย้ายกันไปแข่งขันในโต๊ะที่จัดไว้ตามความสามารถ
- ขั้นสอน
1. การดาเนินการแข่งขันตามขั้นตอน เริ่มจากครูแจกซองคาถามให้ทุกโต๊ะ ซึ่งมีคาถามเท่ากับจานวนนักเรียน
ซึ่งถ้ามีเวลามากอาจจะมีคาถามเป็น 2 หรือ 3 เท่าของจานวนนักเรียน โดยตอบเป็น 2 หรือ 3 รอบก็ได้ ครูควรชี้แจงให้
นักเรียนทราบว่า ทุกคนจะผลัดกันเป็นผู้อ่านคาถาม ขอให้อ่านช้าๆ ชัดๆ ผู้อ่านคาถามจะมีหน้าที่อ่านคาเฉลยและให้
คะแนนผู้ที่ตอบถูกตามลาดับ ดังนั้น ครูจะต้องมีคาเฉลยที่ชัดเจนใส่ซองให้นักเรียนควบคู่ไปกับคาถาม อาจจะเริ่มจาก
คาถามง่ายๆ ไปถึงยากก็ได้คาถามแต่ละข้อนั้น ครูอาจจะเป็นผู้กาหนดเวลาต่อข้อก็ได้
2. เริ่มการแข่งขัน
- นักเรียนคนที่ 1 หยิบซองคาถาม 1 ซอง เปิดอ่านคาถาม แล้ววางลงกลางโต๊ะ
- นักเรียนอีก 3 คน แข่งขันกันตอบคาถาม โดยเขียนคาตอบลงในกระดาษคาตอบของตนส่งให้
คนอ่านคนที่ 1
3.คนที่อ่านคาถามทาหน้าที่ให้คะแนนตามลาดับคนที่ส่งก่อนหลัง
- ผู้ที่ตอบถูกคนแรกได้ 2 คะแนน
- ผู้ที่ตอบถูกคนต่อมาได้ 1 คะแนน
- ผู้ที่ตอบผิดไม่ได้คะแนน
4. สมาชิกในทีมแข่งขันจะผลัดกันทาหน้าที่อ่านคาถามจนคาถามหมดโดยให้ทุกคนได้ตอบ
คาถามจานวนเท่ากัน
5. ให้ทุกคนรวมคะแนนของตนเอง โดยมีสมาชิกทุกคนในกลุ่มรับรองร่วมกันว่า ถูกต้อง
อาจจะให้เซ็นชื่อรับรองด้วยก็ได้
6. เมื่อสมาชิกแข่งขันกันเสร็จแล้ว สมาชิกทุกคนจะนาคะแนนที่ตนเองได้กลับไปยังกลุ่มเดิมของตนแล้วนา
คะแนนมารวมกัน ครูประกาศชมเชยกลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุดเรียงตามลาดับ

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550

9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่1 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถเขียน ใบงานที่ 1.1 ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หลักการสาคัญของ
รัฐธรรมนูญ แนว
ทางการปฏิบัติตน
ตามบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญได้
สามารถอธิบายความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
เป็นมา โครงสร้าง
และความสาคัญของ
รัฐธรรมนูญได้
สนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด
11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน
21. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
22. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

23. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

24. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย ที่ ความรอบรู้ เรื่อง วัฒนธรรมไทย กรณีที่
เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา เกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง สามารถนา
ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน
เพื่อประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด สามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
กิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
25. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยรัฐธรรมนูญแห่ง หน่วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หน่วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ราชอาณาจักรไทย - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน
สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน
หน่วยรัฐธรรมนูญแห่ง หน่วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หน่วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ราชอาณาจักรไทย
กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

ใบงานที่ 1.1 เรื่ อง รัฐธรรมนูญ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

คาชี้แจง ให้นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี้


1. รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปั จจุบนั ใช้เมื่อไร และเป็ นฉบับที่เท่าไร

2. ประชาชนมีส่วนร่ วมในร่ างรัฐธรรมนูญ ฉบับปั จจุบนั อย่างไรบ้าง

3. โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปั จจุบนั ประกอบด้วยอะไรบ้าง

4. รัฐธรรมนู ญมีความสาคัญอย่างไร

5. หลักการสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบนั มีอะไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

6. ประชาชนมีแนวทางการปฏิบตั ิตนตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญได้ อย่างไร

7. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับสมาชิกวุฒิสภา มีจานวนแตกต่างกันอย่างไรบ้ าง

8. ก่อนที่คณะรัฐมนตรี จะเข้ าบริหารราชการแผ่นดิน จะต้ องมีการปฏิบตั อิ ย่างไรต่อรัฐสภา

9. รัฐมนตรี ต้องมีคณ
ุ สมบัติอย่างไรบ้ าง และไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามอย่างไร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

10. ศาลยุตธิ รรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร มีหน้ าที่แตกต่างกันอย่างไร

11. บทบาท หน้ าที่สาคัญของพรรคการเมือง มีอะไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

12. การเลือกตังมี
้ ความสาคัญอย่างไร

13. หลักเกณฑ์สาคัญที่จะทาให้ การเลือกตังบรรลุ


้ จดุ มุง่ หมายตามหลักประชาธิปไตยอย่างแท้ จริงได้ แก่
อะไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

14. อุปสรรคสาคัญที่จะทาให้ การเลือกตังไม่


้ บรรลุเป้าหมายตามหลักการประชาธิปไตยได้ แก่อะไรบ้ าง

15. หน้ าที่สาคัญของรัฐบาล คืออะไร

16. รัฐบาลที่ดีควรมีความสามารถในด้ านต่าง ๆ อย่างไร

17. ประชาชนตรวจสอบการปฏิบตั หิ น้ าที่ของรัฐบาลได้ อย่างไร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

18. ประชาชนอาจตรวจสอบหรื อแสดงปฏิกิริยาต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ของรัฐบาลด้ วยการร้ องเรี ยนโดยตรง

ได้ อย่างไร

19. การจัดตังรั้ ฐบาลมีวิธีการอย่างไร

20. การตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองกระทาได้ อย่างไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงำนที่ 1.1 เรื่อง รัฐธรรมนูญ

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี ้

1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบนั ใช้ เมื่อไร และเป็ นฉบับที่เท่าไร


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ประกาศใช้เมื ่อวันที ่ 24 สิ งหาคม พุทธศักราช 2550 เป็ นฉบับที ่ 18

2. ประชาชนมีสว่ นร่วมในร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับปัจจุบนั อย่างไรบ้ าง

ประชาชนมี ส่วนร่ วม คื อ ได้ออกเสี ยงประชามติ ในการรับร่ างรัฐธรรมนูญ

3. โครงสร้ างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบนั ประกอบด้ วยอะไรบ้ าง

ประกอบด้วย 15 หมวด 1 บทเฉพาะการ และมี 309 มาตรา

4. รัฐธรรมนูญมีความสาคัญอย่างไร

1) ยืนยันความเป็ นเอกราชของประเทศไทย

2) รับรองความเป็ นเอกรัฐของประเทศไทย

3) ยืนยันว่าประเทศไทยมี การปกครองระบอบประชาธิ ปไตย อันมี พระมาหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข

4) คุม้ ครองศักดิ์ ศรี ความเป็ นประมุข สิ ทธิ และเสรี ภาพของชาวไทย

5. หลักการสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบนั มีอะไรบ้ าง

1) การส่งเสริ มและคุม้ ครองสิ ทธิ เสรี ภาพของประชาชนอย่างเต็มที ่

2) การลดการผูกขาดอานาจรัฐและการใช้อานาจอย่างไม่เป็ นธรรม

3) การทาให้การเมื องมี ความโปร่ งใส มี คณ


ุ ธรรม และจริ ยธรรม

4) การทาให้ระบบตรวจสอบมี ความเข้มแข็ง และทางานได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ

6. ประชาชนมีแนวทางการปฏิบตั ิตนตามบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนูญได้ อย่างไร


1) การเข้าไปมี ส่วนร่ วมในกระบวนการทางประชาธิ ปไตยทุกระดับ โดยการไปออกเสียงเลือกตัง้
ผูแ้ ทนที ่ดีให้ไปทาหน้าที เ่ ป็ นสมาชิ กสภาองค์ กรปกครองส่วนท้องถิ่ น สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร
สมาชิ กวุฒิสภา เพือ่ ให้ได้คนดีมีความสามารถไปเป็ นตัวแทนบริ หารบ้านเมื อง
2) ตรวจสอบการใช้อานาจของสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร และผูบ้ ริ หารทุกระดับอย่างใกล้ชิด เพือ่ ป้องกัน
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ไม่ให้บคุ คลดังกล่าวใช้อานาจรัฐเพือ่ ผลประโยชน์ส่วนตัวหรื อในทางทุจริ ต


3) ให้กาลังใจและสนับสนุนนักการเมื องทีด่ ีและพรรคการเมื องทีด่ ี และช่วยป้องกัน หรื อมี ส่วนร่ วม
ในการป้องกันคนไม่ดีให้เข้าไปปกครองหรื อบริ หารบ้านเมื อง
7. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกับสมาชิกวุฒิสภา มีจานวนแตกต่างกันอย่างไรบ้ าง
สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร มี สมาชิ กจากการเลื อกตัง้ แบบสัดส่วนจานวน 80 คน และแบบแบ่งเขต
จานวน 400 คน รวมเป็ น 480 คน ส่วนสมาชิ กวุฒิสภามาจากการเลื อกตัง้ ในแต่ละจังหวัด จังหวัดละ
1 คน รวม 76 คน และมาจากการสรรหา 74 คน รวมเป็ น 150 คน
8. ก่อนที่คณะรัฐมนตรี จะเข้ าบริหารราชการแผ่นดินจะต้ องมีการปฏิบตั อิ ย่างไรต่อรัฐสภา
แถลงนโยบายต่อรัฐสภาและชี ้แจงการดาเนิ นการตามนโยบายพืน้ ฐานแห่งรัฐ โดยไม่มีการลงมติ ไว้วางใจ9.
รัฐมนตรี ต้องมีคณ
ุ สมบัติอย่างไรบ้ าง และไม่มีลกั ษณะต้ องห้ ามอย่างไร
1) มี สญ
ั ชาติ ไทยโดยการเกิ ด
2) มี อายุไม่ต่ากว่า 35 ปี บริ บูรณ์
3) สาเร็ จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริ ญญาตรี หรื อเทียบเท่า
4) ไม่เคยต้องคาพิพากษาให้จาคุก โดยได้พน้ โทษมายังไม่ถึง 5 ปี ในวันเลื อกตัง้ เว้นแต่ในความผิ ด
อันได้กระทาโดยประมาท หรื อความผิ ดลหุโทษ
5) ไม่เป็ นสมาชิ กวุฒิสภา หรื อเคยเป็ นสมาชิ กวุฒิสภา และสมาชิ กภาพสิ้ นสุดลงแล้วยังไม่เกิ น 2 ปี
นับถึงวันทีไ่ ด้รับแต่งตัง้ เป็ นรัฐมนตรี
6) ไม่มีลกั ษณะต้องห้ามเช่นเดียวกับการเป็ นสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรตามที ร่ ัฐธรรมนูญบัญญัติไว้
10. ศาลยุตธิ รรม ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร มีหน้ าที่แตกต่างกันอย่างไร
ศาลยุติธรรม มี อานาจพิ จารณาพิ พากษาทัง้ ปวง ทัง้ คดี แพ่ง คดี อาญา เว้นแต่คดี ทีร่ ัฐธรรมนูญหรื อ

กฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอานาจของศาลอื ่น

ศาลรัฐธรรมนูญ มี หน้าที ่วินิจฉัยกฎหมายที ม่ ี บทบัญญัติขดั แย้งต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

ศาลปกครอง มี อานาจพิจารณาพิพากษาคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

รัฐวิ สาหกิ จ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หรื อเจ้าหน้าทีข่ องรัฐกับเอกชน หรื อ


ระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิ สาหกิ จ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น หรื อเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ
ด้วยกัน

ศาลทหาร มี อานาจพิ จารณาพิ พากษาคดี อาญา และคดี อื่นตามที ก่ ฎหมายบัญญัติ ซึ่ งผูก้ ระทาผิ ด

เป็ นผูท้ ี ่อยู่ในอานาจศาลทหาร

11. บทบาท หน้ าที่สาคัญของพรรคการเมือง มีอะไรบ้ าง

1) วางนโยบายในการแก้ไขปัญหาของประเทศ และแถลงนโยบายให้ประชาชนทราบ

2) พิ จารณาคัดเลื อกผูม้ ี คณ
ุ สมบัติเหมาะสม ที ่จะลงสมัครรับเลื อกตัง้ ในนามของพรรค ทัง้ ในระดับชาติ
และระดับท้องถิ่ น

3) ดาเนิ นการหาเสี ยงเลือกตัง้ โดยพยายามเข้าถึงประชาชน รับฟังความคิ ดเห็นของกลุ่มต่างๆ

ในสังคม และทาการประสานประโยชน์กบั กลุ่มต่างๆ

4) นานโยบายของพรรคทีไ่ ด้แถลงต่อประชาชนไปปฏิ บตั ิ อย่างจริ งจัง

5) ให้การศึกษาและอบรมความรู้ทางการเมื องกับประชาชนโดยทัว่ ไปและสมาชิ กพรรค

6) ทาหน้าทีใ่ นการควบคุมการทางานของรัฐบาลให้เป็ นไปตามทีแ่ ถลงไว้กบั รัฐสภา

12. การเลือกตังมี
้ ความสาคัญอย่างไร

1) เป็ นวิ ธีการทีท่ าให้ประชาชนได้เข้าไปมี ส่วนร่ วมในการปกครองตามหลักการประชาธิ ปไตย

2) เป็ นวิ ธีการทีใ่ ช้ในการเปลีย่ นอานาจทางการเมื อง การปกครองทีเ่ ป็ นไปอย่างสันติ วิธี

3) ป้องกันไม่ให้เกิ ดการปฏิ วตั ิ รัฐประหาร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

4) เป็ นวิ ธีการทีท่ าให้เกิ ดการหมุนเวียนเปลี ่ยนอานาจ เปิ ดโอกาสให้บคุ คลกลุ่มอื ่นได้เข้ามาใช้
อานาจในการบริ หารประเทศ

5) เป็ นวิ ธีการสร้างความถูกต้องและชอบธรรมในการใช้อานาจทางการเมื อง

13. หลักเกณฑ์สาคัญที่จะทาให้ การเลือกตังบรรลุ


้ จดุ มุง่ หมายตามหลักประชาธิปไตยอย่างแท้ จริงได้ แก่
อะไรบ้ าง

1) หลักอิ สระแห่งการเลือกตัง้

2) หลักการเลื อกตัง้ ตามกาหนดเวลา

3) หลักการเลื อกตัง้ อย่างบริ สทุ ธิ์ ยตุ ิ ธรรม

4) หลักการใช้สิทธิ ในการเลื อกตัง้ อย่างเสมอภาค

5) หลักการออกเสียงโดยทัว่ ไป

6) หลักการลงคะแนนลับ

14. อุปสรรคสาคัญที่จะทาให้ การเลือกตังไม่


้ บรรลุเป้าหมายตามหลักการประชาธิปไตยได้ แก่อะไรบ้ าง

1) การใช้อิทธิ พลจากทางราชการเพือ่ ให้เกิ ดประโยชน์ต่อฝ่ ายตน

2) การทาลายคู่แข่งด้วยวิ ธีการที ไ่ ม่เหมาะสม

3) การใช้เงิ นซื ้อคะแนนเสียง หรื อการให้สิ่งของ หรื อผลประโยชน์ เพือ่ การซื ้อคะแนนเสียง

15. หน้ าที่สาคัญของรัฐบาล คืออะไร

บริ หารราชการแผ่นดิ น โดยกาหนดนโยบายทีเ่ กิ ดประโยชน์ต่อประชาชน พัฒนาประเทศ รักษา

ความมัน่ คงของประเทศชาติ รักษาความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สินของประชาชน ทาให้เกิ ด

ความยุติธรรม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

16. รัฐบาลที่ดีควรมีความสามารถในด้ านต่าง ๆ อย่างไร

1) ความสามารถในการตรวจสอบความต้องการของประชาชนส่วนใหญ่อย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน

2) ความสามารถในการรับผิ ดชอบต่อหน้าที ่ เมื ่อรัฐบาลกาหนดนโยบายจะต้องนาไปปฏิ บตั ิ ให้เกิ ดผล

3) ความสามารถในการติ ดตามและควบคุมให้การนานโยบายของรัฐบาลไปปฏิ บตั ิ ได้ผล

4) ความสามารถในการประสานงานให้หน่วยงานที ่รับนโยบายไปทางานร่ วมกันให้บรรลุจุดหมาย

17. ประชาชนตรวจสอบการปฏิบตั หิ น้ าที่ของรัฐบาลได้ อย่างไร

ตรวจสอบโดยผ่านทางสภาผู้แทนราษฎร คื อ สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎรจะตัง้ กระทูถ้ ามคณะรัฐมนตรี หรื อ


รัฐมนตรี เป็ นรายบุคคลให้ชี้แจงการกระทาที ่บกพร่ อง หรื อขัดข้องใจในการทางานของรัฐบาล หรื อรัฐมนตรี หรื อ
หน่วยงานของรัฐ หากรัฐมนตรี หรื อรัฐบาลกระทาหน้าทีผ่ ิ ดพลาดหรื อไม่มีผลงาน

สภาผูแ้ ทนราษฎรจะเปิ ดอภิ ปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรี เป็ นรายคนหรื อรัฐบาลทัง้ คณะก็ได้

18. ประชาชนอาจตรวจสอบหรื อแสดงปฏิกิริยาต่อการปฏิบตั ิหน้ าที่ของรัฐบาลด้ วยการร้ องเรี ยนโดยตรง

ได้ อย่างไร

ด้วยการแสดงความคิ ดเห็นในรู ปแบบการประชุมสัมมนา การอภิ ปราย การเขี ยนบทความแสดง

ความคิ ดเห็นผ่านสื ่อมวลชน การเดิ นขบวนประท้วงอย่างสงบปราศจากอาวุธ

19. การจัดตังรั้ ฐบาลมีวิธีการอย่างไร

พรรคการเมื องที ไ่ ด้เสี ยงข้างมากอย่างเด็ดขาดหรื อเกิ นกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร

จะได้เป็ นผูจ้ ดั ตัง้ รัฐบาล ถ้าไม่มีพรรคการเมื องใดได้รับเสี ยงข้างมากก็จะมี การตกลงกันระหว่างพรรค


การเมื องทีไ่ ด้รับการเลือกตัง้ ว่า จะมอบให้พรรคการเมื องใดเป็ นแกนกลางในการจัดตัง้ รัฐบาลผสม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

พรรคการเมื องทีไ่ ม่ได้ร่วมรัฐบาลก็จะทาหน้าทีเ่ ป็ นพรรคฝ่ ายค้านทาหน้าที ่ตรวจสอบการทางานของ


รัฐบาลต่อไป

20. การตรวจสอบทรัพย์สินของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองกระทาได้ อย่างไรบ้ าง

ผูด้ ารงตาแหน่งทางการเมื อง เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิ กสภาผูแ้ ทนราษฎร ต้องยื น่ บัญชี
แสดงรายการทรัพย์สินและหนี ส้ ิ นของตน คู่สมรส และบุตรที ย่ งั ไม่บรรลุนิติภาวะต่อคณะกรรมการ

การป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ทุกครั้งทีเ่ ข้าดารงตาแหน่ง

หรื อพ้นจากตาแหน่ง ซึ่งประธานกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริ ตแห่งชาติ จะทาหน้าทีจ่ ดั

ให้มีการประชุมคณะกรรมการ เพือ่ ตรวจสอบความถูกต้องและความมี อยู่จริ งของทรัพย์สินนัน้ โดยเร็ ว

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

การร่วม
ลาดับ ชื่อ – สกุล การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ รวม
ความร่วมมือ ปรับปรุง
ที่ ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน
ของผู้รับการ ผลงานกลุ่ม 20

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ประเมิน 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 คะแนน

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2 17 – 20 ดีมาก
ปรับปรุง = 1 13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้ หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
5–8 ปรับปรุง เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
แผนการจัดการเรียตามความเหมาะสมก็
นรู้ที่2 ได้

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การตรวจสอบการใช้


อานาจรัฐ รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐนั้นสามารถทาได้โดยประชาชนและองค์กรอิสระตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.2
ตัวชี้วัด ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถอธิบายรายงานการเสนอแนวทางในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายแนวทางการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบใช้อานาจรัฐได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
- ประเมินรายงานการเสนอแนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูให้นักเรียนเล่าประสบการณ์ของนักเรียนที่เคยมีความประทับใจในเรื่องเกี่ยวกับการตรวจสอบ การใช้อานาจรัฐ
- ขั้นสอน
ครูนาข่าวการทางานขององค์กรต่าง ๆ ที่แสดงถึงการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐมาเล่าให้ นกั เรี ยนฟั ง
เช่น
- คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
- ผู้ตรวจการแผ่นดิน
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
- คณะกรรมการการเลือกตัง้
ให้ นกั เรี ยนช่วยกันสรุปความจาเป็ นหรื อความสาคัญของการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
นักเรี ยนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 5-6 คน ตามความสมัครใจ ให้ แต่ละกลุม่ ร่วมกันศึกษาความรู้จากหนังสือ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เรื่ อง การตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ ในหัวข้ อ
ต่อไปนี ้
- การตรวจสอบทรัพย์สิน
- การกระทาที่เป็ นการขัดกันแห่งผลประโยชน์
- การถอดถอนจากตาแหน่ง
- การดาเนินคดีอาญาผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ช่วยกันสรุปประเด็นสาคัญของการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐตามหัวข้ อที่ศกึ ษา
และตัวแทนแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานต่อชันเรี
้ ยนกลุม่ ละ 1 หัวข้ อ
ครูมอบหมายให้ นกั เรี ยนแต่ละกลุม่ สืบค้ นข้ อมูลความรู้และตัวอย่างการกระทาที่แสดงถึงแนวทางการ
ตรวจสอบ การใช้ อานาจรัฐและการมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ เขียนรายงานต่อครู
ผู้สอนในหัวข้ อ แนวทางและการมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ ในประเด็นต่อไปนี ้
1) แนวทางการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐโดยประชาชน
2) แนวทางการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐโดยองค์กรอิสระ
3) การเสนอตัวอย่างแนวทางการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
4) การมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
นักเรี ยนแต่ละกลุม่ วางแผนการนาเสนอผลงานต่อชันเรี
้ ยนด้ วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น
- การรายงาน - การอภิปราย
- การแสดงบทบาทสมมุติ - การถามตอบ
- การจัดทาสถานการณ์จาลอง - การแสดงละคร
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันสรุปและวิเคราะห์ผลงานที่ได้จัดทารายงาน แนวทางและการมีส่วนร่วมในการ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูซักถามนักเรียนถึงความพร้อมในการนาเสนอผลงาน เรื่อง แนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจ
รัฐ

- ขั้นสอน
นักเรี ยนแต่ละกลุม่ นาเสนอผลงานต่อชันเรี
้ ยนตามที่วางแผนไว้ โดยให้ ปฏิบตั ิ ดังนี ้
- กลุม่ ที่ 1 นาเสนอผลงาน กลุม่ ที่ 2 มีหน้ าที่แสดงข้ อคิดที่ได้ รับ
- กลุม่ ที่ 2 นาเสนอผลงาน กลุม่ ที่ 3 มีหน้ าที่แสดงข้ อคิดที่ได้ รับ
- กลุม่ ที่ 3 นาเสนอผลงาน กลุม่ ที่ 4 มีหน้ าที่แสดงข้ อคิดที่ได้ รับ
- กลุม่ ที่ 4 นาเสนอผลงาน กลุม่ ที่ 5 มีหน้ าที่แสดงข้ อคิดที่ได้ รับ
- กลุม่ ที่ 5 นาเสนอผลงาน กลุม่ ที่ 1 มีหน้ าที่แสดงข้ อคิดที่ได้ รับ
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปแนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้
รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ
1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้
10. การวัดผลและประเมินผล
เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/
วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถอธิบายรายงานการ ประเมินรายงานการเสนอ แบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่านเกณฑ์
เสนอแนวทางในการ แนวทางและการมีส่วนร่วมใน
ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
ได้
สามารถอธิบายแนวทางการ ประเมินรายงานการเสนอ แบบประเมิน แบบประเมิน ระดับคุณภาพ2ผ่านเกณฑ์
มีส่วนร่วมในการตรวจสอบ แนวทางและการมีส่วนร่วมใน
ใช้อานาจรัฐได้ การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่ได้รับ
มอบหมายตามเวลาที่
กาหนด

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องกฎหมายเกี่ยวกับตนเอง
ครอบครัว และมรดก
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การปฏิบตั ิตนอย่างถูกต้ องตามกฎหมายที่เกี่ยวข้ องกับตนเองและครอบครัว ย่อมส่งผลให้ การดาเนินชีวิต
เป็ นไปอย่างปกติสขุ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4 6/1 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
ประเทศชาติ และสังคมโลก
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห์กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล บัตรประจาตัวประชาชนและความสามารถ
ผู้เยาว์ได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายหลักกฏหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและมรดกได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


- กิจกรรมที่ 1 กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว และมรดก
ใบงานที่ 1.1 เรื่องครอบครัวและมรดก
ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน
8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 3 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูให้นักเรียนแต่ละคนผลัดกันเล่าประสบการณ์ความรู้เดิมในเรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองที่เคยเรียน
มาแล้ว เช่น
- กฎหมายเกี่ยวกับชื่อบุคคล
- กฎหมายบัตรประจาตัวประชาชน
- กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับความสามารถของผู้เยาว์
- ขั้นสอน
ครูตงค
ั ้ าถามให้ นกั เรี ยนตอบ ดังนี ้
1) ถ้ านักเรี ยนต้ องการเปลี่ยนชื่อตัวจะต้ องไปยื่นคาขอการเปลี่ยนชื่อที่ใด และสามารถเปลี่ยนชื่อ
ด้ วยตนเองได้ หรื อไม่
แนวคาตอบ นายทะเบียนท้ องที่ซงึ่ ตนมีชื่ออยูใ่ นทะเบียนบ้ าน และต้ องให้ บิดามารดาหรื อ
ผู้ปกครองให้ ความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเสียก่อน
2) ถ้ านักเรี ยนมีความประสงค์จะเปลี่ยนชื่อสกุลจะต้ องเตรี ยมหลักฐานใดบ้ าง
แนวคาตอบ ทะเบียนบ้ านพร้ อมด้ วยสาเนาทะเบียนบ้ าน 1 ฉบับ บัตรประจาตัวประชาชน
พร้ อมด้ วยสาเนาบัตรประจาตัวประชาชน 1 ฉบับ
3) ตัวบุคคลยื่นขอมีบตั รประจาตัวประชาชนเป็ นครัง้ แรกเมื่ออายุเท่าไร และมีอายุการใช้ กี่ปี

ตังแต่
้ วนั ออกบัตร

แนวคาตอบ เมื่ออายุครบ 15 ปี บริ บรู ณ์ และมีอายุใช้ ได้ 6 ปี ตังแต่


้ วนั ออกบัตร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

4) ผู้เยาว์สามารถทานิตกิ รรมด้ วยตนเองได้ ในกรณีใดบ้ าง

แนวคาตอบ กิจกรรมอันเป็ นประโยชน์แก่ผ้ เู ยาว์ฝ่ายเดียวไม่มีทางเสีย กิจการที่จะต้ องทา

เอาเฉพาะตัว เช่น การสอบชิงทุนการศึกษา การรับเด็กเป็ นบุตร กิจการที่เป็ นการ


สมควรแก่ฐานานุรูป เช่น ซื ้อของกินของใช้ เล็ก ๆ น้ อย ๆ การทาพินยั กรรม

เมื่ออายุครบสิบห้ าปี บริบรู ณ์

2. นักเรี ยนและครูชว่ ยกันแสดงความคิดเห็นถึงความสาคัญของกฎหมาย

3. ครูแบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุม่ กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้ างเก่ง

ปานกลาง ค่อนข้ างอ่อน และอ่อน ทุกคนร่วมมือกันศึกษาความรู้ จากใบความรู้เรื่ อง กฎหมายแพ่ง

เกี่ยวกับครอบครัวและมรดก อภิปรายสร้ างความเข้ าใจในประเด็นสาคัญในเรื่ องที่ศกึ ษา ในหัวข้ อ

ดังนี ้

1) กฎหมายครอบครัว

- การหมัน้

- การสมรส

- ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดากับบุตร

- สิทธิและหน้ าที่ของบิดามารดา

- สิทธิและหน้ าที่ของบุตร

2) กฎหมายเรื่ องมรดก

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกฎหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว และมรดก
ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)

- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูและนักเรี ยนช่วยกันทบทวนความรู้เรื่ อง กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก
- ขั้นสอน
1.นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ช่วยกันทาใบงานที่ 1.1 เรื่ อง ครอบครัวและมรดก โดยให้ สมาชิกในกลุม่
แบ่งหน้ าที่กนั ทางาน ดังนี ้

- สมาชิกคนที่ 1 มีหน้ าที่อา่ นกรณีศกึ ษา คาถาม แยกแยะประเด็นให้ ชดั เจน

- สมาชิกคนที่ 2 ฟั งขันตอน
้ รวบรวมข้ อมูล เสนอแนะแนวทางการตอบคาถาม

- สมาชิกคนที่ 3 ตอบคาถาม

- สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้ อง

2. สมาชิกแต่ละคนในกลุม่ หมุนเวียนเปลี่ยนหน้ าที่กนั

- สมาชิกคนที่ 2 เลื่อนมาทาหน้ าที่แทนคนที่ 1

- สมาชิกคนที่ 3 เลื่อนมาทาหน้ าที่แทนคนที่ 2

- สมาชิกคนที่ 4 เลื่อนมาทาหน้ าที่แทนคนที่ 3

- สมาชิกคนที่ 1 เลื่อนมาทาหน้ าที่แทนคนที่ 4

สมาชิกทุกคนหมุนเวียนกันทาหน้ าที่ตอบคาถามในใบงานจนครบทุกข้ อ

3. ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งใบงานต่อครู ผสู ้ อน ครู ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มผลัดกันตรวจใบงานตามที่


ครู เฉลย และให้คะแนน
4. ครูประกาศชมเชยนักเรี ยนกลุม่ ที่ได้ คะแนนสูงสุดเรี ยงตามลาดับ

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- ขั้นสรุป
นักเรี ยนและครูชว่ ยกันสรุปสาระสาคัญของกฎหมายแพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก

9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้

รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ


1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. กิจกรรมที่1 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ
3. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถเขียน ใบงานที่ 1.1 ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
วิเคราะห์กฎหมาย
เกี่ยวกับชื่อบุคคล
บัตรประจาตัว
ประชาชนและ
ความสามารถผู้เยาว์
ได้
สามารถอธิบายหลัก การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
กฏหมายแพ่ง
เกี่ยวกับครอบครัว
และมรดกได้
สนใจ ใฝ่รู้ มีความ การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
รับผิดชอบต่องานที่
ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

11. จุดเน้นของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน


โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผู้เรียน


26. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ
รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม
และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ มีจิตสานึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม นึก
ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิปญ ั ญาของผู้เรียน ถึงประโยชน์ส่วนรวม/กลุ่ม
27. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้นจาก
สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพื่อให้
การดารงชีวิต หลุดพ้นจากความไม่รู้)

28. มีภูมิคมุ กันในตัวที่ดี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์

29. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง กฎหมายใน ความรอบรู้ เรื่อง กฎหมายใน


ชีวิตประจาวันที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความ ชีวิตประจาวัน กรณีทเี่ กิดงาน ปริมาณที่
รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา เกี่ยวข้อง สามารถนาความรูเ้ หล่านั้นมา
ให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน พิจารณาให้เชื่อมโยงกัน สามารถประยุกต์ใช้
การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับ ในชีวิตประจาวัน
ผู้เรียน
30. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร
ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต

กิจกรรม
ครู ผู้เรียน
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
หน่วยกฏหมายในชีวิตประจาวัน หน่วยกฏหมายในชีวิตประจาวัน หน่วยกฏหมายในชีวิตประจาวัน
- รวบรวมฐานข้อมูลโรงเรียน - รวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน - ลงมือปฏิบัติข้อมูลพันธุ์พืชในโรงเรียน

สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน


หน่วยกฏหมายในชีวิตประจาวัน หน่วยกฏหมายในชีวิตประจาวัน หน่วยกฏหมายในชีวิตประจาวัน
การเลือกใช้และรวบรวมพันธุ์พืชใน กระบวนการรวบรวมพันธ์พืชในโรงเรียน เสนอแนะการรวบรวมพันธุ์พืชในโรงเรียน
โรงเรียน

ลงชื่อ..................................................ผู้สอน
( นางณิภาทิพย์ มูลแก้ว )

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก


ตอนที่ 1

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนอ่านกรณีศกึ ษา แล้ วตอบคาถาม

กรณีศึกษำที่ 1

โจ้ อายุ 16 ปี จอย อายุ 15 ปี ทังสองรั


้ กใคร่กนั ไปมาหาสูก่ นั ต่อมาจอยมีปัญหาพ่อแม่ประสบอุบตั เิ หตุเสียชีวติ จอยไปอาศัยอยูก่ บั
ครอบครัวของโจ้ ต่อมาจอยตังครรภ์
้ จาเป็ นจะต้ องทาการสมรสเพือ่ บุตรจะได้ มีบิดาที่ถกู ต้ องตามกฎหมาย

คำถำม โจ้ และจอยควรปฏิบตั อิ ย่างไรจึงจะถูกต้ องตามกฎหมาย

กรณีศึกษาที่ 2

โดม อายุ 19 ปี รักใคร่ชอบพอกับดาว อายุ 18 ปี เมื่อทังคู


้ จ่ บการศึกษาขันพื
้ ้นฐานและมีงานทามีรายได้ พอ
เลี ้ยงตนเองได้ แล้ ว ต้ องการสมรสกับดาว

คำถำม โดมและดาวควรปฏิบตั ติ นอย่างไร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 3

ไกรและเก๋ตกลงใจจดทะเบียนสมรสกันหลังจากเรียนจบระดับปริญญาตรีแล้ว ไกรมีทรัพย์สินคือ รถยนต์ เงิน


สด 1 แสนบาท ที่ดิน 1 แปลง ส่วนเก๋มีแหวนเพชร 1 วง สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน โทรศัพท์มือถือ 1
เครื่อง เมื่อทั้งสองคนอยู่กินด้วยกันมา 15 ปี มีทรัพย์ร่วมกัน ดังนี้ เงินสด 5 ล้าน 1 แสนบาท พ่อแม่ของเก๋ให้ที่นาแก่เก๋
จานวน 10 ไร่ ต่อมาทั้งสองคนไม่ประสงค์จะอยู่ด้วยกัน จึงหย่ากัน

คาถาม 1. ไกรและเก๋มีทรัพย์สินส่วนตัว คืออะไรบ้าง


2. สินสมรสของไกรและเก๋ มีอะไรบ้าง

กรณีศึกษาที่ 4

โชติอายุ 35 ปี มีภรรยาชื่อแวว อายุ 28 ปี ทั้งสองคนต้องการรับเด็กหญิงเก๋ ซึ่งอายุ 14 ปี บุตรของนายสาย


และนางสวยมาเป็นบุตรบุญธรรม

คำถำม 1. โชติและแววสามารถรับเก๋เป็ นบุตรบุญธรรมได้ หรื อไม่ อธิบายเหตุผล

2. เก๋จะเป็ นบุตรบุญธรรมที่ชอบด้ วยกฎหมายของบุคคลผู้รับบุตรบุญธรรมได้ อย่างไร

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษำที่ 5

เกริ กสมรสกับดวง ทัง้ สองทามาหากินกันจนมีทรัพย์สินเป็ นที่ดิน 50 ไร่ เกริ กมีบิดาชื่อมั่น มารดาชื่อม้ วน


ดวงมีบดิ าชื่อเด่น มารดาชื่อดี เกริกและดวงมีบตุ ร 2 คน คือ แก้ วและก้ อย ต่อมาเกริกประสบอุบตั เิ หตุเสียชีวิต

คำถำม ถ้ าท่านเป็ นผู้มีหน้ าที่แบ่งสินสมรสและมรดกของเกริก จะแบ่งอย่างไร

ตอนที่ 2

คำชีแ้ จง ให้ นกั เรี ยนตอบคาถามต่อไปนี ้

1. บิดามารดามีหน้ าที่ตอ่ บุตรอย่างไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. สิทธิและหน้ าที่ของบุตรต่อบิดามารดา มีอะไรบ้ าง

3. ทายาทแบ่งเป็ นกี่ประเภท อะไรบ้ าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

เฉลยใบงานที่ 1.1 เรื่อง ครอบครัวและมรดก

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

กรณีศึกษาที่ 1

โจ้อายุ 16 ปี จอย อายุ 15 ปี ทั้งสองรักใคร่กัน ไปมาหาสู่กัน ต่อมาจอยมีปัญหาพ่อแม่ประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต


จอยไปอาศัยอยู่กับครอบครัวของโจ้ ต่อมาจอยตั้งครรภ์ จาเป็นจะต้องทาการสมรสเพื่อบุตรจะได้มีบิดาที่ถูกต้องตาม
กฎหมาย

คาถาม โจ้และจอยควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้องตามกฎหมาย
จอยและโจ้ต้องร้องขออนุญาตต่อศาลเพื่อให้ศาลมีคาสั่งอนุญาตให้ทาการสมรสได้

กรณีศึกษาที่ 2

โดม อายุ 19 ปี รักใคร่ชอบพอกับดาว อายุ 18 ปี เมื่อทั้งคู่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานและมีงานทามีรายได้พอ


เลี้ยงตนเองได้แล้ว ต้องการสมรสกับดาว

คาถาม โดมและดาวควรปฏิบัติตนอย่างไร
โดมและดาวต้องได้รับความยินยอมจากบิดามารดาเสียก่อนจึงทาการสมรส หรือจดทะเบียนสมรส กัน
ได้

กรณีศึกษาที่ 3

ไกรและเก๋ตกลงใจจดทะเบียนสมรสกันหลังจากเรียนจบระดับปริญญาตรีแล้ว ไกรมีทรัพย์สินคือ รถยนต์ เงิน


สด 1 แสนบาท ที่ดิน 1 แปลง ส่วนเก๋มีแหวนเพชร 1 วง สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน โทรศัพท์มือถือ 1
เครื่อง เมื่อทั้งสองคนอยู่กินด้วยกันมา 15 ปี มีทรัพย์ร่วมกัน ดังนี้ เงินสด 5 ล้าน 1 แสนบาท พ่อแม่ของเก๋ให้ที่นาแก่เก๋
จานวน 10 ไร่ ต่อมาทั้งสองคนไม่ประสงค์จะอยู่ด้วยกัน จึงหย่ากัน
คาถาม 1. ไกรและเก๋มีทรัพย์สินส่วนตัว คืออะไรบ้าง

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

2. สินสมรสของไกรและเก๋ มีอะไรบ้าง
1. สินส่วนตัวของไกรและเก๋ มีดังนี้ ไกร
รถยนต์ เงินสด 1 แสนบาท ที่ดิน 1 แปลง เก๋
แหวนเพชร 1 วง สายสร้อยทอง 1 เส้น นาฬิกา 1 เรือน โทรศัพท์มือถือ 1 เครื่อง 2. สินสมรส
ของทั้งสอง คือ เงินสด 5 ล้าน 1 แสนบาท

กรณีศึกษาที่ 4

โชติอายุ 35 ปี มีภรรยาชื่อแวว อายุ 28 ปี ทั้งสองคนต้องการรับเด็กหญิงเก๋ ซึ่งอายุ 14 ปี บุตรของนายสาย


และนางสวยมาเป็นบุตรบุญธรรม

คาถาม 1. โชติและแววสามารถรับเก๋เป็นบุตรบุญธรรมได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล


2. เก๋จะเป็นบุตรบุญธรรมที่ชอบด้วยกฎหมายของบุคคลผู้รับบุตรบุญธรรมได้อย่างไร
1. โชติสามารถรับเก๋เป็นบุตรบุญธรรมได้ เพราะอายุไม่ต่ากว่า 25 ปี บริบูรณ์ และมีอายุแก่กว่าเก๋ เกินกว่า
15 ปี ส่วนแววอายุแก่กว่าเก๋ไม่ถึง 15 ปี จึงไม่สามารถรับเก๋เป็นบุตรบุญธรรมได้ 2. เก๋จะเป็นบุตรบุญ
ธรรมของโชติได้ต่อเมื่อโชติจดทะเบียนรับเก๋เป็นบุตรบุญธรรม และต้องให้ นายสายบิดาและนางสวยมารดาของ
เก๋ให้ความยินยอม

กรณีศึกษาที่ 5

เกริกสมรสกับดวง ทั้งสองทามาหากินกันจนมีทรัพย์สินเป็นที่ดิน 50 ไร่ เกริกมีบิดาชื่อมั่น มารดาชื่อม้วน ดวงมี


บิดาชื่อเด่น มารดาชื่อดี เกริกและดวงมีบุตร 2 คน คือ แก้วและก้อย ต่อมาเกริกประสบอุบัติเหตุเสียชีวิต

คาถาม ถ้าท่านเป็นผู้มีหน้าที่แบ่งสินสมรสและมรดกของเกริก จะแบ่งอย่างไร


1. เกริกและดวงได้สินสมรสเป็นที่ดินคนละ 25 ไร่ 2.
ผู้ได้รับมรดก คือ มั่น ม้วน แก้ว ก้อย และดวง ได้รับคนละ 5 ไร่

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้

1. บิดามารดามีหน้าที่ต่อบุตรอย่างไรบ้าง
1. อุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตรตามสมควรระหว่างบุตรเป็นผู้เยาว์
2. อุปการะเลี้ยงดูบุตรผู้ทุพพลภาพและหาเลี้ยงตนเองไม่ได้ ถึงแม้ว่าจะบรรลุนิติภาวะแล้ว
3. ใช้อานาจปกครองบุตร โดยมีสิทธิกาหนดที่อยู่ของบุตร ทาโทษบุตรตามสมควร หรือว่ากล่าว
สั่งสอนให้บุตรทางานตามความเหมาะสมแก่ความสามารถและฐานานุรูป

4. มีสิทธิเรียกบุตรคืนจากผู้อื่น ซึ่งกักบุตรไว้โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
5. เป็นผู้แทนโดยชอบธรรมของบุตรในการฟ้องคดี
6. มีสิทธิจัดการทรัพย์สินของบุตร ถ้าบุตรมีเงินได้ และมีสิทธินามาใช้เป็นค่าอุปการะเลี้ยงดู และ
การศึกษาของบุตร ส่วนที่เหลือเก็บรักษาไว้เพื่อมอบแก่บุตรภายหลัง

2. สิทธิและหน้าที่ของบุตรต่อบิดามารดา มีอะไรบ้าง
1. บุตรมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของบิดา เว้นแต่ไม่ปรากฏบิดาให้ใช้ชื่อสกุลของมารดา
2. บุตรมีสิทธิได้รับการอุปการะเลี้ยงดูและได้รับการศึกษาตามสมควรจากบิดามารดา
3. บุตรมีหน้าที่ต้องดูแลบิดามารดาของตนเป็นการตอบแทนบุญคุณ
4. บุตรจะฟ้องบิดามารดา รวมทั้งบุพการีอื่นของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาไม่ได้ ต้องให้พนักงาน
อัยการคดีขึ้นว่ากล่าวให้

3. ทายาทแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
มี 2 ประเภท คือ

1. ทายาทโดยธรรม ได้แก่ คู่สมรสและญาติ


2. ทายาทตามพินัยกรรม ได้แก่ ผู้มีสิทธิได้รับมรดกตามพินัยกรรมกาหนด ซึ่งเป็นหนังสือแสดงความ
ประสงค์สั่งการเผื่อตายของผู้ตายระบุไว้ อาจเป็นญาติของผู้ตายหรือไม่ใช่ก็ได้

แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

การร่วม
ชื่อ – สกุล การแสดง การรับฟัง การตั้งใจ รวม
ลาดับ ความร่วมมือ ปรับปรุง
ความคิดเห็น ความคิดเห็น ทางาน
ที่ ของผู้รับการ ผลงานกลุ่ม 20
ประเมิน คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
ดีมาก =4 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี =3 ............../.................../................
พอใช้ =2 17 – 20 ดีมาก
ปรับปรุง = 1 13 – 16 ดี
9 – 12 พอใช้ หมายเหตุ ครูอาจใช้วิธีการมอบหมายให้หัวหน้ากลุ่ม
5–8 ปรับปรุง เป็นผู้ประเมิน หรือให้ตัวแทนกลุ่มผลัดกันประเมิน
หรือให้มีการประเมินโดยเพื่อน โดยตัวนักเรียนเอง
ตามความเหมาะสมก็ได้

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรม


และสัญญา รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐนั้นสามารถทาได้โดยประชาชนและองค์กรอิสระตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1เข้าใจและปฏิบั ติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/4 เสนอแนวทางและมีสว่ นร่วมในการตรวจสอบการใช้ อานาจรัฐ
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถวิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญาได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายแนวทางการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบใช้อานาจรัฐได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )
- ประเมินรายงานการเสนอแนวทางและการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ครูนากรณีตัวอย่างเกี่ยวกับบุคคลที่ถูกเอาเปรียบ เช่น
- ชาวนาถูกนายทุนครอบครอง / ยึดที่นาที่นาไปขายฝากไว้
- คนจนยอมเสียดอกเบี้ยเงินกู้ให้แก่ผู้ให้เงินกู้ในอัตราร้อยละยี่สิบบาทต่อเดือน
- การเช่า ซื้อรถยนต์ แต่ไม่สามารถชาระค่าเช่าซื้อได้สองงวดติดต่อกัน แล้วถูกผู้ให้เช่าซื้อริบทรัพย์สิน คือ
รถยนต์
- การให้ผู้อื่นกู้ยืมเงินโดยไม่ได้ทาสัญญาเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อผู้รับผิด
- ขั้นสอน
1.ครูให้ นกั เรี ยนร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุของการถูกเอาเปรี ยบหรื อการเสียเปรี ยบผู้อื่นและ
แนวทางป้องกันแก้ ไข

2. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้ นกั เรี ยนเห็นความสาคัญของการมีความรู้กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรม


และสัญญา ในเรื่ อง ซื ้อขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซื ้อ กู้ยืมเงิน จานา จานอง

3. ครูแบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุม่ กลุม่ ละ 3 คน คละกันตามความสามารถ มีทงเก่


ั ้ ง ปานกลาง และอ่อน

เรี ยกว่า กลุม่ บ้ าน (Home Groups)ให้ สมาชิกในแต่ละกลุม่ เลือกหมายเลขประจาตัวตังแต่


้ หมายเลข
1, 2 และ 3 ตามลาดับ

4. นักเรี ยนจากกลุ่มบ้านแยกย้ายกันไปหาสมาชิกกลุ่มใหม่ที่มีหมายเลขเดียวกัน เรี ยกว่า กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ


(Expert Groups)
5. สมาชิกกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญแต่ละหมายเลข ร่ วมมือกันศึกษาความรู ้ในใบความรู ้ เรื่ อง นิ ติกรรมและ
สัญญา แล้วอธิ บายสรุ ปร่ วมกันจนมีความเข้าใจกระจ่างชัดเจน และร่ วมกันทาใบงาน ดังนี้
- หมายเลข 1 ศึกษาความรู ้ เรื่ อง ซื้ อขาย ขายฝาก และทาใบงานที่ 2.1 เรื่ อง ซื้ อขาย ขายฝาก
- หมายเลข 2 ศึกษาความรู ้ เรื่ อง เช่าทรัพย์ เช่าซื้ อ และทาใบงานที่ 2.2 เรื่ อง เช่าทรัพย์ เช่าซื้ อ
- หมายเลข 3 ศึกษาความรู ้ เรื่ อง กูย้ มื เงิน จานา จานอง และทาใบงานที่ 2.3 เรื่ อง กูย้ มื เงิน จานา
จานอง

ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันสรุปและวิเคราะห์ผลงานที่ได้จัดทารายงาน แนวทางและการมีส่วนร่วมใน
การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ครูสนทนาซักถามนักเรียนถึงความพร้อมของนักเรียนในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญแต่ละกลุ่ม ในการนา ความรู้ไปถ่ายทอดให้แก่


สมาชิกในกลุ่มบ้าน และตอบข้อสงสัยของนักเรียน

- ขั้นสอน
1. นักเรียนกลุ่มผู้เชี่ยวชาญของแต่ละกลุ่มกลับไปยังกลุ่มเดิม (กลุ่มบ้าน) สมาชิกแต่ละหมายเลข
นาความรู้ที่ได้ศึกษามาพร้อมผลงานในใบงานไปอธิบายให้สมาชิกหมายเลขอื่นฟัง ดังนี้
- สมาชิกหมายเลข 1 สรุปความรู้จากใบงานที่ 2.1 เรื่อง ซื้อขาย ขายฝาก
- สมาชิกหมายเลข 2 สรุปความรู้จากใบงานที่ 2.2 เรื่อง เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
- สมาชิกหมายเลข 3 สรุปความรู้จากใบงานที่ 2.3 เรื่อง กู้ยืมเงิน จานา จานอง
2. เมื่อสมาชิกทุกคนผลัดแลกเปลี่ยนความรู้กันและสร้างความกระจ่างในความรู้ที่ได้รับระหว่างกัน
แล้วครูสุ่มเรียกนักเรียนแต่ละกลุ่มออกไปเล่าความรู้ของตนในเรื่อง นิติกรรมและสัญญา
- ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนสรุปประเด็นสาคัญของนิติกรรมและสัญญา ในเรื่อง ซื้อขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ กู้ยืม จานา
จานอง
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้
รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ
1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถวิเคราะห์ ใบงานที่ 2.1-2.3 แบบใบงานที่ 2.1- ใบงานที่ 2.1-2.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
และปฏิบัติตนตาม 2.3
กฎหมายแพ่ง
เกี่ยวกับนิติกรรม
สัญญาได้
สามารถอธิบายแนว ใบงานที่ 2.1-2.3 แบบใบงานที่ 2.1- ใบงานที่ 2.1-2.3 ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน
ทางการมีส่วนร่วมใน 2.3 เกณฑ์
การตรวจสอบใช้
อานาจรัฐได้
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน
ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ซื้อขาย ขายฝาก

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 1

ธนาตกลงซื้อบ้านพร้อมที่ดินของประวัติ เป็นจานวนเงิน 5 ล้านบาท ธนาวางมัดจาให้ประวัติเป็นจานวนเงิน


หนึ่งหมื่นบาท โดยนัดจะไปทาสัญญาและจดทะเบียนกับเจ้าพนักงานที่ดินที่สานักงานที่ดินภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันทา
สัญญา ต่อมามีคนให้ราคาบ้านพร้อมที่ดินของประวัติเป็นจานวนเงิน 8 ล้านบาท ดังนั้นประวัติจึงไม่ยอมขายบ้าน
ให้กับธนา

คาถาม ธนาจะฟ้องบังคับให้ประวัติขายที่ดินพร้อมบ้านให้แก่ตนเองหรือเรียกค่าเสียหายได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล


คาตอบ

กรณีศึกษาที่ 2

ธารีทาสัญญาขายฝากรถยนต์ให้แก่มณีเป็นเวลา 3 ปี เป็นจานวนเงินแปดแสนบาท โดยทาสัญญากันเองไม่ได้


ไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อครบกาหนดเวลา 3 ปี ธารีไม่สามารถนาเงินไปคืนแก่ ธารีได้

คาถาม มณีมีกรรมสิทธิ์ในรถยนต์หรือไม่และธารีมีสิทธิไถ่รถยนต์คืนได้หรือไม่
คาตอบ

ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ซื้อขาย ขายฝาก

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 1

ธนาตกลงซื้อบ้านพร้อมที่ดินของประวัติ เป็นจานวนเงิน 5 ล้านบาท ธนาวางมัดจาให้ประวัติเป็นจานวนเงิน


หนึ่งหมื่นบาท โดยนัดจะไปทาสัญญาและจดทะเบียนกับเจ้าพนักงานที่ดินที่สานักงานที่ดินภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันทา
สัญญา ต่อมามีคนให้ราคาบ้านพร้อมที่ดินของประวัติเป็นจานวนเงิน 8 ล้านบาท ดังนั้นประวัติจึงไม่ยอมขายบ้าน
ให้กับธนา

คาถาม ธนาจะฟ้องบังคับให้ประวัติขายที่ดินพร้อมบ้านให้แก่ตนเองหรือเรียกค่าเสียหายได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล


คาตอบ ธนาสามารถฟ้องบังคับให้ประวัติขายที่ดินพร้อมบ้านหรือเรียกค่าเสียหายได้ เพราะเข้าองค์
ประกอบของสัญญาจะซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ไว้ว่าต้องตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร หรือมีการวางมัดจา
หรือมีการชาระหนี้บางส่วนไว้ จึงจะฟ้องร้องให้ทาตามสัญญากันได้ กรณีนี้ธนาได้มีการวางมัดจา
ไว้แล้ว

กรณีศึกษาที่ 2

ธารีทาสัญญาขายฝากรถยนต์ให้แก่มณีเป็นเวลา 3 ปี เป็นจานวนเงินแปดแสนบาท โดยทาสัญญากันเองไม่ได้


ไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อครบกาหนดเวลา 3 ปี ธารีไม่สามารถนาเงินไปคืนแก่ ธารีได้

คาถาม มณีมีกรรมสิทธิ์ในรถยนต์หรือไม่และธารีมีสิทธิไถ่รถยนต์คืนได้หรือไม่
คาตอบ มณีมีกรรมสิทธิ์ในรถยนต์เป็นไปตามสัญญาขายฝาก คือ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกเป็นของผู้ซื้อ
ตั้งแต่วันทาสัญญา แต่มีข้อตกลงว่าผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์คืนได้ภายในเวลาที่ตกลงกัน แต่ธารีไม่ได้ไถ่รถยนต์
คืนจากนายมณีภายในเวลาที่กาหนด นายธารีจึงไม่มีสิทธิไถ่คืน

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 1
สมเจตน์ทาสัญญาเช่าห้องแถวของวาเรศ เป็นเวลา 4 ปี ทั้งสองคนทาสัญญาเป็นหนังสือที่บ้านของวาเรศ โดยมี
เก่งและก้านลงลายมือชื่อเป็นพยาน ต่อมาเมื่อสัญญาครบ 3 ปี วาเรศเปลี่ยนใจไม่ยอมให้สมเจตน์เช่าต่อ

คาถาม สมเจตน์จะฟ้องบังคับให้วาเรศเช่าต่อให้ครบ 4 ปีได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล


คาตอบ

กรณีศึกษาที่ 2

สันติทาสัญญาเช่าซื้อรถจักรยานยนต์จากธาดาเป็นจานวนเงิน 3 หมื่นบาท โดยมีข้อตกลงว่าสันติจะชาระค่า


เช่าซื้อจานวน 30 งวด งวดละ 1 พันบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี ถ้าสันติผิดนัดไม่ชาระสองงวดติดต่อกัน ธาดา
มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ สันตินารถจักรยายนต์ไปใช้ในการทางานและส่งเงินชาระค่าเช่าซื้อให้แก่ธาดาอย่างสม่าเสมอ
เมื่อสันติส่งค่าเช่าซื้อไปได้ 25 งวด แต่สันติประสบอุบัติเหตุไม่สามารถชาระค่าเช่าซื้อติดต่อกัน 3 งวด

คาถาม ธาดาสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อต่อสันติได้หรือไม่ และจะริบเงินพร้อมเอารถจักรยานยนต์คืนได้หรือไม่


อธิบายเหตุผล
คาตอบ

ใบงานที่ 2.2 เรื่อง เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 1
สมเจตน์ทาสัญญาเช่าห้องแถวของวาเรศ เป็นเวลา 4 ปี ทั้งสองคนทาสัญญาเป็นหนังสือที่บ้านของวาเรศ โดยมี
เก่งและก้านลงลายมือชื่อเป็นพยาน ต่อมาเมื่อสัญญาครบ 3 ปี วาเรศเปลี่ยนใจไม่ยอมให้สมเจตน์เช่าต่อ

คาถาม สมเจตน์จะฟ้องบังคับให้วาเรศเช่าต่อให้ครบ 4 ปีได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล


คาตอบ สมเจตน์จะฟ้องบังคับให้วาเรศเช่าต่อให้ครบ 4 ปี ไม่ได้ เพราะการเช่าอสังหาริมทรัพย์นาน
เกินกว่า 3 ปีนั้นจะต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อของฝ่ายที่ต้องรับผิดตามสัญญาและจด
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ แต่สมเจตน์และวาเรศไม่ได้นาไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

กรณีศึกษาที่ 2

สันติทาสัญญาเช่าซื้อรถจักรยานยนต์จากธาดาเป็นจานวนเงิน 3 หมื่นบาท โดยมีข้อตกลงว่าสันติจะชาระค่า


เช่าซื้อจานวน 30 งวด งวดละ 1 พันบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี ถ้าสันติผิดนัดไม่ชาระสองงวดติดต่อกัน ธาดา
มีสิทธิบอกเลิกสัญญาได้ สันตินารถจักรยายนต์ไปใช้ในการทางานและส่งเงินชาระค่าเช่าซื้อให้แก่ธาดาอย่างสม่าเสมอ
เมื่อสันติส่งค่าเช่าซื้อไปได้ 25 งวด แต่สันติประสบอุบัติเหตุไม่สามารถชาระค่าเช่าซื้อติดต่อกัน 3 งวด

คาถาม ธาดาสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อต่อสันติได้หรือไม่ และจะริบเงินพร้อมเอารถจักรยานยนต์คืนได้หรือไม่


อธิบายเหตุผล
คาตอบ ธาดาสามารถบอกเลิกสัญญาเช่าซื้อได้ เพราะสันติผิดนัดไม่ชาระค่าเช่าซื้อสองงวดติดต่อกัน
และธาดาสามารถกลับเข้าครอบครองรถจักรยานยนต์รวมทั้งริบเงินที่สันติชาระมาแล้วได้

ใบงานที่ 2.3 เรื่อง กู้ยืมเงิน จานา จานอง

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 1

ธาริดากู้ยืมเงินอุษามณี เป็นจานวนเงินห้าหมื่นบาท ระบุดอกเบี้ยร้อยละสิบต่อปีมีกาหนดเวลาชาระคืนภายใน


เวลา 2 ปี โดยเขียนบันทึกเป็นข้อความพร้อมลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน แต่อุษามณีไม่ได้ลงลายมือชื่อ เมื่อครบ
กาหนดเวลาชาระเงิน ธาริดาไม่ยอมชดใช้เงินกู้พร้อมดอกเบี้ย

คาถาม อุษามณีสามารถฟ้องร้องให้ธาริดาชาระหนี้เงินกู้ได้หรือไม่ และถ้าฟ้องได้จะสามารถเรียกให้ชาระหนี้เท่าไร


คาตอบ

กรณีศึกษาที่ 2

นิดเอานาฬิกาข้อมือไปจานาไว้กับน้อย และเอาเงินจากน้อยไปห้าพันบาท มีกาหนดชาระหนี้ภายใน 1 ปี แต่


ไม่ได้ทาสัญญาจานาเป็นหนังสือไว้ ต่อมาเมื่อครบกาหนด 1 ปีแล้ว นิดไม่ได้ชาระเงินให้แก่น้อย ดังนั้นน้อยจึงเขียน
จดหมายไปบอกนิดให้ชาระหนี้ภายในเวลา 1 เดือน มิฉะนั้นน้อยจะนานาฬิกาไปขายทอดตลาด

คาถาม 1. นิดและน้อยทาถูกต้องตามสัญญาจานาหรือไม่ อธิบายเหตุผล


2. น้อยจะนานาฬิกาของนิดไปขายทอดตลาดได้หรือไม่ เมื่อน้อยบอกกล่าวให้นิดชาระหนี้ภายใน 1 เดือน แต่
นิดไม่ได้ชาระหนี้ให้แก่น้อยอธิบายเหตุผล
คาตอบ

กรณีศึกษาที่ 3

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ทนงนาเครื่องจักรผลิตอะไหล่รถจักรยานยนต์ไปทาสัญญาจานองกับสมยศ เพื่อเป็นการประกันหนี้ที่ทนงกู้ยืม
เงินสมยศไปจานวนห้าแสนบาท มีกาหนดชาระหนี้คืนภายใน 2 ปี โดยไปทาหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ แต่เครื่องจักรยังอยู่ที่โรงงานผลิตอะไหล่รถจักรยานยนต์ เมื่อถึงกาหนดเวลาชาระหนี้ ทนงไม่นาเงินที่กู้ยืม
พร้อมดอกเบี้ยไปชาระให้แก่สมยศ

คาถาม สมยศควรปฏิบัติต่อทนงอย่างไรจึงจะสามารถบังคับจานองได้
คาตอบ

หมายเหตุ อุทาหรณ์ข้อเท็จจริงไม่เข้าหลักเกณฑ์ตาม ม.729 จึงให้ทรัพย์จานองหลุดเป็นสิทธิไม่ได้

ใบงานที่ 2.3 เรื่อง กู้ยืมเงิน จานา จานอง

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 1

ธาริดากู้ยืมเงินอุษามณี เป็นจานวนเงินห้าหมื่นบาท ระบุดอกเบี้ยร้อยละสิบต่อปีมีกาหนดเวลาชาระคืนภายใน


เวลา 2 ปี โดยเขียนบันทึกเป็นข้อความพร้อมลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน แต่อุษามณีไม่ได้ลงลายมือชื่อ เมื่อครบ
กาหนดเวลาชาระเงิน ธาริดาไม่ยอมชดใช้เงินกู้พร้อมดอกเบี้ย

คาถาม อุษามณีสามารถฟ้องร้องให้ธาริดาชาระหนี้เงินกู้ได้หรือไม่ และถ้าฟ้องได้จะสามารถเรียกให้ชาระหนี้เท่าไร


คาตอบ อุษามณีสามารถฟ้องร้องให้ธาริดาชาระหนี้เงินกู้ได้ เพราะมีหลักฐานเป็นหนังสือ แสดงว่า
มีการกู้ยืมเงินกันจริง ลงลายมือชื่อผู้กู้เป็นหลักฐานตามกฎหมาย และระบุดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปีกาหนดร้อย
ละสิบ ดังนั้นจึงสามารถเรียกให้ชาระหนี้เงินต้นห้าหมื่นบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ 10 ต่อปี นับตั้งแต่วันกู้ยืมจนกว่าธาริ
ดาจะชาระหนี้เสร็จ

กรณีศึกษาที่ 2

นิดเอานาฬิกาข้อมือไปจานาไว้กับน้อย และเอาเงินจากน้อยไปห้าพันบาท มีกาหนดชาระหนี้ภายใน 1 ปี แต่


ไม่ได้ทาสัญญาจานาเป็นหนังสือไว้ ต่อมาเมื่อครบกาหนด 1 ปีแล้ว นิดไม่ได้ชาระเงินให้แก่น้อย ดังนั้นน้อยจึงเขียน
จดหมายไปบอกนิดให้ชาระหนี้ภายในเวลา 1 เดือน มิฉะนั้นน้อยจะนานาฬิกาไปขายทอดตลาด

คาถาม 1. นิดและน้อยทาถูกต้องตามสัญญาจานาหรือไม่ อธิบายเหตุผล


2. น้อยจะนานาฬิกาของนิดไปขายทอดตลาดได้หรือไม่ เมื่อน้อยบอกกล่าวให้นิดชาระหนี้ภายใน 1 เดือน แต่
นิดไม่ได้ชาระหนี้ให้แก่น้อยอธิบายเหตุผล
คาตอบ 1. นิดและน้อยทาถูกต้องตามสัญญาจานา คือการจานาไม่ต้องมีหลักฐานหรือทาตามแบบแต่อย่างใด
2. น้อยจะนานาฬิกาของนิดไปขายทอดตลาดได้ เพราะนิดผิดนัดไม่ชาระหนี้ เมื่อครบกาหนดน้อย
จึงมีสิทธิบังคับจานา โดยบอกกล่าวเป็นหนังสือให้นิดชาระหนี้ภายในเวลา 1 เดือน ซึ่งถือว่าเป็นเวลา
อันสมควร แต่เมื่อนิดไม่ชาระหนี้ น้อยจึงมีสิทธิเอานาฬิกาที่จานาออกขายทอดตลาดได้

กรณีศึกษาที่ 3

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ทนงนาเครื่องจักรผลิตอะไหล่รถจักรยานยนต์ไปทาสัญญาจานองกับสมยศ เพื่อเป็นการประกันหนี้ที่ทนงกู้ยืม
เงินสมยศไปจานวนห้าแสนบาท มีกาหนดชาระหนี้คืนภายใน 2 ปี โดยไปทาหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ แต่เครื่องจักรยังอยู่ที่โรงงานผลิตอะไหล่รถจักรยานยนต์ เมื่อถึงกาหนดเวลาชาระหนี้ ทนงไม่นาเงินที่กู้ยืม
พร้อมดอกเบี้ยไปชาระให้แก่สมยศ

คาถาม สมยศควรปฏิบัติต่อทนงอย่างไรจึงจะสามารถบังคับจานองได้
คาตอบ สมยศควรมีหนังสือบอกกล่าวให้ทนงชาระหนี้พร้อมดอกเบี้ยภายในเวลาสมควร หลังจากนั้น
หากทนงไม่ชาระหนี้ สมยศสามารถฟ้องทนงต่อศาลเพื่อให้พิพากษาสั่งให้ยึดเครื่องจักรนั้นและให้ขาย
ทอดตลาดก็ได้

หมายเหตุ อุทาหรณ์ข้อเท็จจริ งไม่เข้าหลักเกณฑ์ตาม ม.729 จึงให้ทรัพย์จานองหลุดเป็ นสิ ทธิ ไม่ได้

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน แผนจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง กฏหมายอาญา
รายวิชา หน้าที่พลเมืองฯ รหัสวิชา ส 31101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนักเวลาเรียน 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/สัปดาห์
เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 ชั่วโมง
..........................................................................................................................................................
1. สาระสาคัญ (ความเข้าใจที่คงทน)
การปฏิบัติตนอย่างถูกต้องตามหลักกฎหมายอาญา ย่อมทาให้ไม่พลาดพลั้งในการกระทาความผิดทางอาญา ซึ่ง
เป็นผลดีต่อตนเองและสังคม
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 2.1เข้าใจและปฏิบั ติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษา
ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ม.4-6/1 วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และ
สังคมโลก
3. สาระการเรียนรู้
3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (นักเรียนต้องรู้อะไร)
นักเรียนสามารถวิเคราะห์การกระทาตามหลักกฏหมายอาญาในความผิดต่อชีวิตและร่างกายและ
ความผิดต่อทรัพย์สินได้
3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (นักเรียนสามารถปฏิบัติอะไรได้)
นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะการกระทาผิดทางอาญาและความรับผิดชอบทางอาญาได้
3.3 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (นักเรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรียนอะไรบ้าง)
นักเรียนมีความสนใจ ใฝ่รู้ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด
4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. คุณลักษณะของวิชา
- ความรับผิดชอบ
- กระบวนการรายบุคคล /กลุ่ม

6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : (ให้สอดคล้อง กับตัวชี้วัด /ผลการเรียนรู้ ในแผนการเรียนรู้นี้ )


ใบงานที่ 3.1 กฎหมายอาญาที่ควรรู้

ภาระงาน – ให้นักเรียนศึกษาความรู้ จากหนังสือเรียน


8. กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้เวลา 2 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 1 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / เทคนิคการสืบค้น)
- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ให้ นกั เรี ยนดูภาพข่าว / วีซีดี เกี่ยวกับการประกอบอาชญากรรมในประเภทต่างๆ เช่น

- โจรปล้ นร้ านทองกวาดทรัพย์สินไปมูลค่ากว่าสิบล้ านบาท

- หญิงชราถูกคนร้ ายกระชากสร้ อยและทาร้ ายร่างกาย

- วัยรุ่นยกพวกตีกนั ผลปรากฏว่าได้ รับบาดเจ็บหลายสิบคน

- คนขับรถโดยสารขับรถด้ วยความเร็วสูงชนกับรถไฟ มีคนตายและบาดเจ็บสาหัส

- พนักงานธนาคารยักยอกเงินของธนาคารหลายสิบล้ านแล้ วหนีไป

- ขั้นสอน
ครูให้ นกั เรี ยนช่วยกันวิเคราะห์วา่ การกระทาผิดดังกล่าวมีผลเสียต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ
อย่างไร

ครูอธิบายเชื่อมโยงให้ นกั เรี ยนเข้ าใจว่าการกระทาผิดของบุคคลในข้ อ 1 นัน้ เป็ นการกระทาผิด


กฎหมายอาญา ซึง่ ผู้กระทาผิดจะต้ องถูกลงโทษ

ครูอธิบายให้ นกั เรี ยนเข้ าใจความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายอาญา ในหัวข้ อต่อไปนี ้

1) ความหมายและลักษณะของกฎหมายอาญา

2) ความรับผิดทางอาญา

- กระทาโดยเจตนา

- กระทาโดยไม่เจตนา

- กระทาโดยประมาท

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

3) ความผิดต่อชีวิตและต่อร่างกาย และความผิดต่อทรัพย์สิน

นักเรี ยนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ 5-6 คน ตามความสมัครใจ ให้ แต่ละกลุม่ ศึกษาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ

กฎหมายอาญา จากหนังสือเรี ยน และจากหนังสืออื่นๆ ในห้ องสมุด

ครูให้ นกั เรี ยนแต่ละกลุม่ ช่วยกันทาใบงานที่ 3.1 เรื่ อง กฎหมายอาญาที่ควรรู้ เสร็จแล้ วนักเรี ยนและ

ครูชว่ ยกันเฉลยคาตอบในใบงาน ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติม

ครูมอบหมายให้ นกั เรี ยนแต่ละกลุม่ ไปหาข่าวอาชญากรรมจากหนังสือพิมพ์ / วิทยุ / อินเทอร์ เน็ต


แล้ ววิเคราะห์ตามประเด็นต่อไปนี ้

- ข่าวเกี่ยวกับอะไร

- ผู้กระทาความผิดเข้ าองค์ประกอบความผิดในฐานใด

ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปกฏหมายอาญา

ชั่วโมงที่ 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ช่วยกันคิดช่วยกันเรียน)


- ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน/ขั้นตั้งคาถาม
ครูสนทนากับนักเรียนถึงความพร้อมในการเตรียมงานการนาเสนอผลงานเกี่ยวกับการกระทาผิดทางอาญา

- ขั้นสอน
1. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ออกมาแสดงบทบาทสมมุติ เมื่อแสดงจบให้ นกั เรี ยนกลุม่ อื่นที่เป็ น

ผู้ชมการแสดงตอบคาถามว่า การกระทาในบทบาทสมมุตเิ ข้ าองค์ประกอบความผิดฐานใด ผู้นาเสนอ


ผลงานเป็ นผู้เฉลย โดยมีครูผ้ สู อนเป็ นผู้ตรวจสอบความถูกต้ อง

2. นักเรี ยนแต่ละกลุม่ ผลัดเปลี่ยนกันตอบคาถาม ดังนี ้

- กลุม่ ที่ 1 แสดงบทบาทสมมุตแิ ละตังค


้ าถาม กลุม่ ที่ 2 เป็ นผู้ตอบ

- กลุม่ ที่ 2 แสดงบทบาทสมมุตแิ ละตังค


้ าถาม กลุม่ ที่ 3 เป็ นผู้ตอบ
โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

- กลุม่ ที่ 3 แสดงบทบาทสมมุตแิ ละตังค


้ าถาม กลุม่ ที่ 4 เป็ นผู้ตอบ

- กลุม่ ที่ 4 แสดงบทบาทสมมุตแิ ละตังค


้ าถาม กลุม่ ที่ 1 เป็ นผู้ตอบ

- ขั้นสรุป
ครูและนักเรี ยนช่วยกันสรุปสาระสาคัญของกฎหมายอาญา
9. สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้
รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ
1. สื่อหน้าที่พลเมืองppt. 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ
2. หนังสือเรียน 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

10. การวัดผลและประเมินผล

เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/


วิธีวัด เครื่องมือวัดฯ
การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้คะแนน
สามารถวิเคราะห์ ใบงานที่ 3.1 แบบใบงานที่ 3.1 ใบงานที่ 3.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การกระทาตามหลัก
กฏหมายอาญาใน
ความผิดต่อชีวิตและ
ร่างกายและความผิด
ต่อทรัพย์สินได้

สามารถอธิบาย การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน


ลักษณะการกระทา เกณฑ์
ผิดทางอาญาและ
ความรับผิดชอบทาง
อาญาได้
มีความสนใจ ใฝ่รู้ มี การสังเกต แบบสังเกต แบบสังเกต ระดับคุณภาพ2ผ่าน
ความรับผิดชอบต่องาน เกณฑ์
ที่ได้รับมอบหมายตาม
เวลาที่กาหนด

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

ใบงานที่ 3.1 เรื่อง กฎหมายอาญาที่ควรรู้

คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่านกรณีศึกษา แล้วตอบคาถาม

กรณีศึกษาที่ 1

นายก้อนใช้มีดปลายแหลมแทงนายก้านในเวลากลางวัน โดยเลือกแทงเข้าที่ช่องท้องถูกอวัยวะภายในของนาย
ก้อน นายก้อนตายในวันนั้นเอง

คาถาม นายก้อนมีความผิดฐานใด
คาตอบ ฆ่าคนตายโดยเจตนา

กรณีศึกษาที่ 2

นายมั่นสนทนากับนายแมนเกี่ยวกับข่าวอาชญากรรม
มั่น : ฉันฟังวิทยุวันนี้ว่ากลุ่มวัยรุ่นชุมชนบางบอนรุมกันเตะต่อยนายหมึกซึ่งเป็นคู่แค้นได้รับบาดเจ็บ
ศีรษะแตก เย็บหลายเข็ม หน้าบวมปูด
แมน : หนังสือพิมพ์วันนี้ลงข่าวการล้างแค้นของช่างก่อสร้างชื่อนายจอมกับพวกรุมซ้อมนายเจิด หมดสติไป
พอฟื้นขึ้นมาแพทย์วินิจฉัยว่าหูหนวก

คาถาม ผู้ใดกระทาความผิด และผิดฐานใด


คาตอบ นายจอมกับพวกกระทาความผิด มีความผิดฐานทาให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส

กรณีศึกษาที่ 3

นายมากกับนายมีซื้อรถยนต์บรรทุกร่วมกัน 1 คัน โดยนายมากมอบให้นายมีเป็นผู้นาไปขับรถรับจ้างบรรทุก


ของ ให้รถอยู่ในความดูแลของนายมี นายมากจะได้รับส่วนแบ่ง ซึ่งเป็นผลประโยชน์ร่วมกันจากนายมี ต่อมานายมากได้
แอบเอารถยนต์คันดังกล่าวไปจากบ้านของนายมี โดยที่นายมีไม่รู้เรื่อง ไม่ได้อนุญาต

คาถาม นายมากมีความผิดฐานใดหรือไม่
คาตอบ นายมากมีความผิดฐานลักทรัพย์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม


แผนการจัดการเรี ยนรู้ รายวิชาหน้ าที่พลเมืองฯ ชันมั
้ ธยมศึกษาปี ที่ 4

กรณีศึกษาที่ 4

นายจ้อนเห็นนางสาวหวานนั่งรอรถเมล์โดยเอากระเป๋าถือคล้องไหล่ไว้ นายจ้อนกระชากกระเป๋าถือของ
นางสาวหวานแล้วเดินไปขับรถจักรยานยนต์หนีไป

คาถาม นายจ้อนมีความผิดฐานใด
คาตอบ นายจ้อนมีความผิดฐานวิ่งราวทรัพย์

กรณีศึกษาที่ 5

นายนนท์ล้วงปากกาจากกระเป๋าของนายศักดิ์ นายศักดิ์จะตามจับนายนนท์ นายเดชเดินเข้ามาชนกระแทกไหล่


นายศักดิ์จนเซไป ไม่สามารถตามจับนายนนท์ได้

คาถาม ใครมีความผิดและผิดฐานใด
คาตอบ นายนนท์และนายเดชมีความผิดฐานชิงทรัพย์

กรณีศึกษาที่ 6

นายฟ้า นายดา นายแดง ชวนกันไปที่ร้านขายทอง นายฟ้าเตะนางจันทร์เจ้าของร้านล้มลง นายดาหยิบ


สายสร้อยคอทองคาออกมา 10 เส้น ส่งให้นายแดง นายแดงหยิบสร้อยใส่ในกระเป๋า นายฟ้าขี่รถจักรยานยนต์มีนายดา
และนายแดงนั่งซ้อนท้าย แล้วพากันหลบหนีไปด้วยกัน

คาถาม นายฟ้า นายดา นายแดง มีความผิดฐานใด


คาตอบ มีความผิดฐานปล้นทรัพย์

โดย นางณิภาทิพย์ มูลแก้ ว กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

You might also like