CB150R-K94A

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 138

à»ÅÕè¹·Ø¡æ 12,000 ¡Á.

à»ÅÕè¹·Ø¡æ 3 »‚ ËŒÒÁ·Ó¤ÇÒÁÊÐÍÒ´áÅÐ㪌«éÓ
à»ÅÕè¹·Ø¡æ 18,000 ¡Á.
คู่มือเล่มนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของรถจักรยานยนต์และควรจะเก็บไว้กับรถเมื่อขายต่อให้กับผู้ใช้รถคนต่อไป

คู่มือเล่มนี้ประกอบด้วยข้อมูลการผลิตครั้งล่าสุด ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงข้อมูลโดยไม่ต้อง


แจ้งให้ทราบล่วงหน้า

ห้ามกระทำ�การคัดลอกหรือจัดพิมพ์ข้อมูลส่วนใดของคู่มือนี้โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากทาง
บริษัทฯ ก่อน

ภาพประกอบของรถจักรยานยนต์ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือการใช้งานเล่มนี้อาจไม่ตรงกับรถจริงของท่าน
ยินดีต้อนรับ
ขอแสดงความยินดีที่ท่านได้เลือกซื้อรถจักรยานยนต์ • รหัสต่อไปนี้ในคู่มือเล่มนี้จะระบุถึงประเทศ
ฮอนด้าคันใหม่คันนี้่ การเลือกซื้อรถจักรยานยนต์ฮอนด้า • ภาพประกอบที่ปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้มีพื้นฐานมา
ของท่านครั้งนี้ทำ�ให้ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว จากรถรุ่น CBF150N TH
ฮอนด้าทั่วโลก ซึ่งเป็นลูกค้าที่มีความพึงพอใจและชื่นชม รหัสประเทศ
ในชื่อเสียงของฮอนด้าในการสร้างสรรค์ทุกผลิตภัณฑ์
รหัส ประเทศ
ให้มีคุณภาพ
CBF150N
เพื่อความปลอดภัยและความเพลิดเพลินในการขับขี่ TH ประเทศไทย
ของท่าน : CBF150NA
• กรุณาอ่านคู่มือการใช้งานเล่มนี้โดยละเอียด TH ประเทศไทย
• ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�และวิธีการปฏิบัติทั้งหมดที่ปรากฏ
อยู่ในคู่มือเล่มนี้
• กรุณาให้ความสนใจเป็นพิเศษกับข้อความเกี่ยวกับ
ความปลอดภัยซึ่งปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มนี้และที่ตัวรถ
จักรยานยนต์ด้วย
คำ�ที่ควรรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย
ความปลอดภัยของท่านและของผู้อื่นเป็นสิ่งสำ�คัญมากและ อันตราย
การขับขี่รถจักรยานยนต์รุ่นนี้อย่างปลอดภัยก็ถือเป็นความ ท่านอาจเป็นอันตรายร้ายแรงถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บ
รับผิดชอบที่สำ�คัญด้วยเช่นกัน เพื่อที่จะช่วยให้ท่านตัดสินใจ สาหัสหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
เกี่ยวกับความปลอดภัยได้เป็นอย่างดี ทางบริษัทฯ ได้ให้ข้อ-
มูลเกี่ยวกับวิธีการขับขี่และข้อมูลอื่นๆ แก่ท่านดังที่ปรากฏ คำ�เตือน
อยู่บนแผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัยที่ตัวรถและในคู่มือ ท่านอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บสาหัสหาก
เล่มนี้แล้ว ข้อมูลนี้จะเตือนท่านให้ระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้น ไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ทั้งกับตัวของท่านเองหรือผู้อื่น
อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติหรือโดยความเป็นไปได้แล้ว ทาง ข้อควรระวัง
บริษัทฯ ไม่สามารถที่จะเตือนให้ท่านระวังอันตรายทุกอย่าง ท่านอาจได้รับบาดเจ็บหากไม่ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�
ที่เกี่ยวเนื่องกับการขับขี่หรือการบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์
ได้ ดังนั้นท่านจึงต้องใช้วิจารณญาณที่ดีของท่านเองในการ ข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญอื่นๆ ได้แสดงไว้ภาย
ตัดสินใจด้วย ใต้หัวข้อต่อไปนี้ :
ท่านจะพบข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยที่สำ�คัญในหลาย ข้อสังเกต สัญลักษณ์นี้มุ่งหมายที่จะช่วยให้ท่านหลีกเลี่ยง
รูปแบบ ประกอบด้วย : ความเสียหายที่จะเกิดแก่รถจักรยานยนต์ของท่าน
• แผ่นป้ายเตือนเพื่อความปลอดภัย ซึ่งปรากฏอยู่ที่ตัวรถ ทรัพย์สินอื่นๆ หรือสภาพแวดล้อม
• ข้อความเกี่ยวกับความปลอดภัย ซึ่งนำ�หน้าด้วยสัญลักษณ์
เตือนด้านความปลอดภัย และหนึ่งในสามของคำ�สัญญาณ คำ�เตือน
เหล่านี้ได้แก่ : อันตราย คำ�เตือน หรือ ข้อควรระวัง อาจถึงตายหรือพิการ หากไม่สวมหมวกนิรภัย
โดยคำ�สัญญาณเหล่านี้หมายถึง : และไม่ควรให้เด็กที่เท้ายังไม่ถึงที่วางเท้าโดยสาร
การรับประกันคุณภาพ
บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด รับประกันคุณภาพของชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ เป็นระยะเวลา 3 ปี หรือ 30,000 กม. และ
ชิ้นส่วนระบบหัวฉีด ได้แก่ ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นของเครื่องยนต์, ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน, กล่อง
ECU, ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง, หัวฉีด, เรือนลิ้นเร่ง, ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ รับประกันเป็นระยะเวลา 5 ปี หรือ 50,000
กม. แล้วแต่ระยะใดมาถึงก่อน ถ้าเกิดการบกพร่องเสียหายอันเนื่องมาจากกรรมวิธีทางการผลิตไม่ดี หรือวัสดุไม่ได้
คุณภาพภายใต้การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาที่ถูกต้องตามที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือการใช้งาน การรับประกันคุณภาพ
จะมีผลตั้งแต่วันที่ที่ซื้อรถเป็นต้นไป
เมื่อรถของท่านเกิดปัญหาทางด้านคุณภาพ ท่านสามารถไปใช้สิทธิในการรับประกันโดยการน�ำรถและสมุดคู่มือ
รับประกันไปที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด โดยรถของท่านจะได้
รับการแก้ไข ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีความบกพร่องนั้นโดยไม่คิดราคาค่าอะไหล่และค่าแรงซ่อม
การรับประกันคุณภาพนี้จะใช้กับรถที่จ�ำหน่ายโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จ�ำกัด เท่านั้น ในกรณีที่มีการน�ำรถออก
นอกประเทศถือเป็นการสิ้นสุดการรับประกัน
กรณีที่มีการเปลี่ยนเจ้าของรถคนใหม่ กรุณาติดต่อ บริษัท เอ.พี.ฮอนด้า จ�ำกัด แผนกลูกค้าสัมพันธ์ 0-2725-4000
เพื่อแก้ไขชื่อที่อยู่ของผู้ครอบครองรถคนใหม่

ในกรณีที่รถจักรยานยนต์ของท่านเกิดปัญหาด้านคุณภาพ และตรวจพบว่ามีสาเหตุมาจากการ
ละเลยไม่น�ำรถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่ก�ำหนด กรณีเช่นนี้ท่านอาจเสียสิทธิในการรับ
ประกันคุณภาพได้ ดังนั้นจึงขอให้ท่านถือเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างยิ่งที่ต้องน�ำรถเข้ารับการบริการ
ตรวจเช็คตามก�ำหนดเวลาที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้า
เงื่อนไขการรับประกันชิ้นส่วนที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ
ชิ้นส่วนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลืองที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพ หากเกิดความบกพร่องเสียหาย อันเนื่องมาจากกรรมวิธี
ทางการผลิตไม่ดีหรือวัสดุไม่ได้คุณภาพ บริษัทฯ จะท�ำการรับประกันคุณภาพ แต่หากความเสียหายเกิดขึ้นมาจากการสึกหรอหรือเสื่อม
สภาพตามอายุการใช้งานปกติ บริษัทฯ ขอให้ท่านเป็นผู้ช�ำระค่าใช้จ่ายเอง
ชิ้นส่วนอะไหล่ที่มีการสึกหรอหรือเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน
หัวเทียน หลอดไฟต่างๆ ฟิวส์ สายไฟ แปรงถ่านมอเตอร์สตาร์ท สายควบคุมต่างๆ ผ้าเบรก ผ้าคลัทช์ ชุดโซ่สเตอร์ ปะเก็น
สายยาง ท่อยาง และชิ้นส่วนที่เป็นยาง ไส้กรอง ซีลกันน�้ำมัน ซีลกันฝุ่น น�้ำมันหล่อลื่น และสารหล่อลื่นทุกชนิด
หมายเหตุ รับประกันแบตเตอรี่ และ ยางนอก เป็นระยะเวลา 6 เดือน หรือ ระยะทาง 5,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
โดยมีผลตั้งแต่วันที่ซื้อรถเป็นต้นไป
ข้อปฏิบัติในการใช้รถในระยะรับประกัน
ข้อปฏิบัติต่อไปนี้เป็นสิ่งที่ท่านต้องให้ความส�ำคัญและปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นท่านอาจเสียสิทธิในการรับประกันคุณภาพในบาง
กรณีได้ หากตรวจพบว่าความเสียหายที่เกิดขึ้นกับรถมีสาเหตุมาจากการละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัตินี้
1. ปฏิบัติและใช้รถให้ถูกต้องตามค�ำแนะน�ำในคู่มือการใช้งานรถจักรยานยนต์ฮอนด้ารุ่นที่ท่านซื้อ
2. น�ำรถเข้ารับการบริการตรวจเช็คบ�ำรุงรักษาตามระยะเวลาที่ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ พร้อมกับลงบันทึกประวัติการซ่อมใน
คู่มือเล่มนี้ทุกครั้ง
3. การบ�ำรุงรักษาจะกระท�ำอย่างถูกต้องโดยศูนย์จ�ำหน่ายและบริการฮอนด้าที่ท่านซื้อรถ แต่อย่างไรก็ตามในกรณีที่จ�ำเป็น
ท่านสามารถน�ำรถเข้ารับบริการได้ที่ศูนย์จ�ำหน่ายและบริการที่ได้รับการแต่งตั้งจากฮอนด้าที่ใกล้ที่สุด
4. ไม่ดัดแปลงแก้ไขชิ้นส่วนต่างๆ ไปจากมาตรฐานการผลิตเดิม นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมตามข้อมูลของบริษัท เอ.พี.
ฮอนด้า จ�ำกัด
5. ไม่น�ำรถไปใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ที่มิใช่การใช้งานตามปกติ เช่น การแข่งขัน เป็นต้น
6. เมื่อมีการซ่อมบ�ำรุงรักษา ควรใช้แต่อะไหล่แท้และสารหล่อลื่นที่ฮอนด้าก�ำหนด เช่น น�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเบรก และน�้ำยา
หม้อน�้ำ เป็นต้น
รายการอะไหล่ระบบหัวฉีด ที่รับประกัน 5 ปี หรือ 50,000 กม. แล้วแต่ระยะใดถึงก่อน
1. ปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิง (ไม่รวมลูกลอยน�้ำมันเชื้อเพลิง)
2. หัวฉีด
3. เรือนลิ้นเร่ง
4. ชุดตัวตรวจจับสัญญาณ
5. กล่อง ECM
6. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นของเครื่องยนต์
7. ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน

1 2 3 4 5 6 7
สารบัญ
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย หน้า 2
คำ�แนะนำ�การใช้งาน หน้า 13
การบำ�รุงรักษา หน้า 44
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง หน้า 96
ข้อมูลที่ควรทราบ หน้า 114
ข้อมูลทางเทคนิค หน้า 126
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

ในส่วนนี้ประกอบด้วยข้อมูลสำ�คัญที่ควรทราบเพื่อให้ท่านสามารถขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านได้อย่างปลอดภัย
กรุณาอ่านข้อมูลส่วนนี้อย่างละเอียด

คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย.�����������������������..หน้า 3
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย................หน้า 6
ข้อควรระวังในการขับขี่.............................หน้า 7
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม
และการดัดแปลงสภาพรถ........................หน้า 11
การบรรทุก.................................................หน้า 12
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อช่วยเพิ่มความปลอดภัยใน ตรวจสอบด้วยว่าทั้งตัวท่านเองและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวม
การขับขี่ของท่าน : หมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณ-

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
• ตรวจสอบรถของท่านเป็นประจ�ำและตามระยะเวลาที่ ภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัย ท่านควรแนะน�ำให้ผู้ซ้อนท้าย
ก�ำหนดไว้ในคู่มือเล่มนี้ทั้งหมด ของท่านยึดหรือจับสายรัดเบาะหรือเอวของท่านไว้ให้แน่น
• ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากเปลวไฟและประกายไฟ เอียงตัวไปในทิศทางเดียวกันกับท่านในขณะเข้าโค้ง และ
ก่อนที่จะเติมน�้ำมันลงในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง วางเท้าทั้งสองข้างบนที่พักเท้าแม้แต่เมื่อหยุดรถก็ตาม
• อย่าติดเครื่องยนต์ในพื้นที่ปิดหรือพื้นที่ปิดเป็นบางส่วนเพราะ ศึกษาทำ�ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติ
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในไอเสียเป็นก๊าซที่ีมีพิษและอาจ
ท�ำให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ แม้ว่าท่านจะเคยขับขี่รถจักรยานยนต์อื่นๆ มาแล้วก็ตาม
สวมหมวกกันน็อกอยู่เสมอ ท่านก็ควรฝึกหัดขับขี่ในบริเวณที่ปลอดภัยเพื่อให้เกิดความ
คุ้นเคยกับการท�ำงาน การบังคับ และการควบคุมรถจักร-
เป็นข้อเท็จจริงที่พิสูจน์แล้วว่าหมวกกันน็อกและอุปกรณ์ป้อง- ยานยนต์รุ่นนี้ และยังเพื่อให้เกิดความเคยชินกับขนาดและ
กันภัยมีส่วนส�ำคัญในการช่วยลดจ�ำนวนและความรุนแรง น�้ำหนักของรถจักรยานยนต์อีกด้วย
ของการบาดเจ็บที่ศีรษะและการบาดเจ็บอื่นๆ ดังนั้นท่านควร
สวมหมวกกันน็อกส�ำหรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรอง การขับขี่อย่างปลอดภัย
คุณภาพและอุปกรณ์ป้องกันภัยเสมอ หน้า 6 ท่านควรให้ความสนใจกับยานพาหนะอื่นๆ ที่อยู่รอบตัวท่าน
ก่อนการขับขี่ เสมอ และอย่าคิดไปเองว่าผู้ขับขี่คนอื่นมองเห็นท่านอยู่ ท่าน
ต้องแน่ใจว่าท่านมีร่างกายแข็งแรง มีสภาพจิตใจและสมาธิดี ควรจะต้องเตรียมพร้อมอยู่ตลอดเวลาในการที่จะหยุดรถหรือ
และไม่ได้บริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และเสพยาเสพติด หลบหลีกอย่างฉับพลัน
3
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้อย่างชัดเจน ไปขับขี่รถจักรยานยนต์ และเพื่อความปลอดภัยอย่าให้ผู้-
โดยสารหรือเพื่อนของท่านดื่มสุราด้วยเช่นกัน
ท�ำให้ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถมองเห็นท่านได้ชัดเจนยิ่งขึ้นโดย
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลากลางคืน โดยสวมชุดที่มีสีสว่าง รักษารถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่านให้อยู่ในสภาพดี


หรือสีสะท้อนแสง ขับขี่บนเส้นทางที่ผู้ขับขี่คนอื่นสามารถ ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ของท่าน
มองเห็นท่านได้ ให้สัญญาณก่อนที่ท่านจะเลี้ยวหรือเปลี่ยน อย่างถูกวิธีและให้อยู่ในสภาพการขับขี่ที่ปลอดภัยด้วย
ช่องทาง และใช้แตรเมื่อจ�ำเป็น ตรวจสอบรถจักรยานยนต์ของท่านก่อนการขับขี่ทุกครั้งและ
ท�ำการบ�ำรุงรักษาตามที่ได้แนะน�ำไว้ทั้งหมด
ขับขี่ภายในขีดจ�ำกัดของท่าน อย่าบรรทุกของเกินกว่าขีดจ�ำกัดในการบรรทุก( หน้า 12)
อย่าขับขี่เกินกว่าความสามารถของท่านหรือขับขี่ด้วยความ และอย่าดัดแปลงสภาพรถหรือติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมซึ่งอาจ
เร็วสูงเกินกว่าที่ก�ำหนด ควรระลึกไว้ว่าความเมื่อยล้าและ ท�ำให้รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ ( หน้า 11)
การเพิกเฉยละเลยมีส่วนส�ำคัญที่จะลดความสามารถในการ หากท่านเกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
ใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจและการขับขี่อย่างปลอดภัยได้
ความปลอดภัยของตัวท่านเองเป็นสิ่งที่ท่านต้องค�ำนึงถึงเป็น
อย่าดื่มสุราในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ อันดับแรก หากท่านหรือบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บหรือได้รับ
ความเสียหาย ขอให้ท่านได้ใช้เวลาในการประเมินดูความ
ท่านไม่ควรดื่มสุราแล้วไปขับขี่รถจักรยานยนต์ เพราะแม้แต่
รุนแรงของการบาดเจ็บหรือความเสียหายนั้นและดูว่ามีความ
การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพียงแก้วเดียวก็อาจลดความ ปลอดภัยในการที่ท่านจะขับขี่รถต่อไปได้หรือไม่ ท่านควร
สามารถของท่านในการตอบสนองต่อสภาพการณ์ต่างๆ ที่ ร้องขอความช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินถ้าจ�ำเป็น และควรปฏิ-
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอได้ และการตอบสนองดังกล่าวจะยิ่ง บัติตามกฎหมายและกฎข้อบังคับต่างๆ ที่มีหากมีบุคคลอื่น
เลวร้ายลงหากท่านดื่มเพิ่มเข้าไปอีก ดังนั้นอย่าดื่มสุราแล้ว หรือยานพาหนะอื่นเข้ามาเกี่ยวพันกับการเกิดอุบัติเหตุ
4
คำ�แนะนำ�ความปลอดภัย
หากท่านตกลงใจแล้วว่าท่านสามารถที่จะขับขี่รถต่อไปได้ ถ้าหากท่านติดเครื่องยนต์ในบริเวณที่อับอากาศหรือแม้แต่
อย่างปลอดภัย ถ้าเครื่องยนต์ยังคงติดอยู่ ก่อนอื่นขอให้ท่าน พื้นที่ปิดเป็นบางส่วน อากาศที่ท่านหายใจเข้าไปนั้นอาจ

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (Off) ก่อนที่จะจับรถ ประกอบไปด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นอันตรายใน
ให้ตั้งขึ้น แล้วจึงประเมินดูสภาพของรถจักรยานยนต์ของ- ปริมาณมาก ดังนั้นอย่าติดเครื่องยนต์ภายในโรงเก็บรถหรือ
ท่าน และตรวจสอบดูว่ามีการรั่วซึมของน�้ำมันต่างๆ หรือไม่ พื้นที่ปิดอื่นๆ
ตรวจเช็คว่าน๊อตและโบ้ลท์ที่ส�ำคัญๆ ขันแน่นอยู่หรือไม่ และ
คำ�เตือน
ตรวจสอบดูด้วยว่าแฮนด์บังคับเลี้ยว คันบังคับต่างๆ เบรก
หน้า-หลัง และล้อหน้า-หลังอยู่ในสภาพที่มั่นคงและปลอดภัย การติดเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ของท่านในขณะ
หรือไม่ ขอให้ท่านขับขี่อย่างช้าๆ และโดยระมัดระวัง รถจักร- ที่อยู่ในพื้นที่ปิดหรือแม้แต่พื้นที่ปิดเป็นบางส่วนอาจ
ยานยนต์ของท่านอาจได้รับความเสียหายซึ่งเป็นความเสียหาย ทำ�ให้เกิดการก่อตัวขึ้นอย่างรวดเร็วของก๊าซคาร์บอน-
ที่ยังไม่ปรากฏให้เห็นอย่างเด่นชัดโดยทันทีหรือในขณะนั้น มอนอกไซด์ซึ่งเป็นก๊าซพิษได้
ดังนั้นท่านควรจะน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการ
ตรวจเช็คอย่างละเอียดที่ศูนย์ซ่อมที่ได้มาตรฐานที่ใกล้ที่สุด การหายใจเอาก๊าซที่ไม่มีสีและไม่มีกลิ่นนี้เข้าไปอาจ
ในทันทีที่เป็นไปได้ ทำ�ให้หมดสติโดยทันทีและอาจนำ�ไปสู่การเสียชีวิต
อันตรายจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ได้
ไอเสียประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ที่เป็นพิษซึ่งเป็น
ก๊าซที่ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น การหายใจเอาก๊าซคาร์บอนมอ- ติดเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ของท่านเมื่ออยู่ใน
นอกไซด์เข้าไปอาจท�ำให้หมดสติและอาจน�ำไปสู่การเสีย พื้นที่เปิดโล่งซึ่งมีอากาศถ่ายเทสะดวกเท่านั้น
ชีวิตได้
5
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย • หน้ากากสำ�หรับป้องกันใบหน้าซึ่งไม่ขัดขวางการมองเห็น
• ขับขี่อย่างระมัดระวัง ให้้มือทั้งสองข้างของท่านจับอยู่ที่ หรือใช้เครื่องป้องกันดวงตาที่ได้รับการรับรองคุณภาพอื่นๆ
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

แฮนด์บังคับเลี้ยวและวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่พักเท้า คำ�เตือน
• ให้มือทั้งสองข้างของผู้ซ้อนท้ายจับอยู่ที่สายรัดเบาะหรือ
ที่เอวของท่าน และวางเท้าทั้งสองข้างลงบนที่พักเท้าในขณะ การไม่สวมหมวกกันน็อกจะเพิ่มโอกาสในการได้รับ
ซ้อนท้าย บาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิต เนื่องจากการเกิด
• ขอให้ท่านคำ�นึงถึงความปลอดภัยของผู้ซ้อนท้ายของท่าน อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้มได้
รวมถึงผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์คันอื่นๆ เสมอ
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวก-
อุปกรณ์ป้องกันภัย กันน็อกที่ได้รับการรับรองคุณภาพและอุปกรณ์ป้อง-
ต้องแน่ใจว่าท่านและผู้ซ้อนท้ายของท่านสวมหมวกกันน็อก กันภัยอยู่เสมอในขณะที่ท่านขับขี่รถจักรยานยนต์
สำ�หรับรถจักรยานยนต์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ เครื่อง ถุงมือ
ป้องกันดวงตา และเครื่องแต่งกายที่ช่วยป้องกันภัยสะท้อน สวมถุงมือหนังแบบเต็มนิ้วซึ่งมีความทนทานต่อการเสียดสีสูง
แสง ขับขี่อย่างปลอดภัยเพื่อตอบสนองต่อสภาพถนนและ รองเท้าบู๊ทหรือรองเท้าสำ�หรับการขับขี่
สภาพอากาศต่างๆ สวมรองเท้าบู๊ทที่แข็งแรงมีพื้นรองเท้าที่ไม่ลื่นและมีส่วนที่
หมวกกันน็อก ช่วยป้องกันข้อเท้าของท่าน
หมวกกันน็อกที่ได้รับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัย มี เสื้อแจ็กเก้ตและกางเกงขายาว
สีสว่างสดใส และมีขนาดที่พอเหมาะกับศีรษะของท่าน ควรสวมเสื้อแจ็กเก้ตแขนยาวที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน
• ต้องสวมใส่ได้อย่างสบายแต่กระชับพอดีกับศีรษะของท่าน และสามารถป้องกันร่างกายของท่าน รวมทั้งกางเกงขายาว
พร้อมกับรัดสายรัดคางให้แน่น ที่ทนทานเพื่อการขับขี่ (หรือชุดป้องกันร่างกายทั้งตัว)
6
ข้อควรระวังในการขับขี่
ข้อควรระวังในการขับขี่ เบรก
ช่วงรัน-อิน ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ :

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันและรุนแรง และการ
ในระหว่างระยะ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) แรกของการขับขี่
เปลี่ยนเกียร์ลงสู่เกียร์ที่ต�่ำกว่าแบบทันทีทันใด
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เพื่อให้ท่านมั่นใจได้ การเบรกอย่างทันทีทันใดอาจท�ำให้รถเสียการทรงตัวได้
ว่าการใช้งานรถจักรยานยนต์ของท่านในอนาคตเชื่อถือได้ ถ้าเป็นไปได้ควรจะลดความเร็วของรถลงก่อนที่จะเลี้ยว
และมีประสิทธิภาพ มิฉะนั้นท่านอาจเสี่ยงต่อการลื่นไถลได้
• หลีกเลี่ยงการเร่งเครื่องยนต์จนสุดคันเร่งและการเร่งความ • ขอให้ท่านโปรดใช้ความระมัดระวังเมื่อต้องขับขี่ไปบนพื้น
เร็วอย่างกะทันหัน ผิวถนนที่มีแรงยึดเกาะต�่ำ
• หลีกเลี่ยงการเบรกอย่างกะทันหันหรืออย่างรุนแรง รวมทั้ง ยางจะลื่นไถลได้ง่ายยิ่งขึ้นหากขับขี่ไปบนพื้นถนนดังกล่าว
การเปลี่ยนเกียร์ลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งระยะการหยุดรถก็จะยาวขึ้นด้วย
• ขับขี่อย่างรอบคอบและระมัดระวัง • หลีกเลี่ยงการใช้เบรกอย่างต่อเนื่อง
การเบรกซ�้ำๆ หรือการย�้ำเบรก เช่น เมื่อขับขี่ลงทางลาด-
ชันเป็นระยะทางยาวๆ อาจท�ำให้เบรกร้อนเกินไป และ
ท�ำให้ประสิทธิภาพในการเบรกลดลง ใช้ก�ำลังอัดของ
เครื่องยนต์ช่วยในการเบรกพร้อมกับกดเบรกแล้วปล่อย
สลับกันไปเป็นระยะเพื่อลดความเร็วของรถ
• เพื่อประสิทธิภาพในการเบรกอย่างเต็มที่ ให้ใช้ทั้งเบรก
หน้าและเบรกหลังพร้อมกัน
7
ข้อควรระวังในการขับขี่
ระบบเบรกป้องกันล้อล๊อค (ระบบ ABS) การใช้กำ�ลังอัดของเครื่องยนต์ช่วยเบรก
CBF150NA เท่านั้น การใช้ก�ำลังอัดของเครื่องยนต์ช่วยเบรกจะช่วยท�ำให้
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

รถจักรยานยนต์รุ่นนี้ติดตั้งระบบเบรกป้องกันล้อล๊อค รถจักรยานยนต์ของท่านวิ่งช้าลงเมื่อท่านปล่อยคันเร่ง
(ระบบ ABS) ซึ่งออกแบบมาเพื่อช่วยป้องกันไม่ให้เกิด และเพื่อท�ำให้รถเคลื่อนตัวได้ช้าลงไปอีก ให้เปลี่ยนเกียร์
อาการล้อล๊อคในขณะเบรกอย่างกะทันหันและรุนแรง ลงสู่เกียร์ที่ต�่ำกว่า ใช้ก�ำลังอัดของเครื่องยนต์ช่วยใน
เบรก ABS จะท�ำงานร่วมกับข้อมูลที่ได้รับจาก IMU การเบรกพร้อมกับกดเบรกแล้วปล่อยสลับกันไปเป็น
(ตัวตรวจวัดแรงเฉื่อยของรถ) ระยะเพื่อลดความเร็วของรถเมื่อขับขี่ลงทางลาดชันเป็น
•ระบบ ABS ไม่ได้ท�ำให้ระยะการหยุดรถสั้นลง ในบาง ระยะทางยาวๆ
กรณีระบบ ABS อาจส่งผลให้ระยะการหยุดรถยาวขึ้น
•ระบบ ABS จะไม่ท�ำงานกับความเร็วที่ต�่ำกว่า 10 กิโลเมตร/ สภาพผิวถนนที่เปียกหรือมีฝนตก
ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง) ผิวถนนจะลื่นเมื่อเปียก และเบรกที่เปียกก็จะท�ำให้
•คันเบรกหน้าและคันเบรกหลังอาจจะมีการกระตุก ประสิทธิภาพในการเบรกลดลงไปอีก
เล็กน้อยเมื่อใช้เบรก ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติ ดังนั้นท่านต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษเมื่อจะเบรก
•ใช้ยางหน้า/ยางหลังและสเตอร์ที่ได้แนะน�ำไว้เสมอ ในสภาพผิวถนนที่เปียก
เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการท�ำงานของระบบ ABS จะเป็นไป ถ้าเบรกเปียก ควรย�้ำเบรกหลายๆ ครั้งในขณะที่ขับขี่ที่
อย่างถูกต้องเหมาะสม ความเร็วต�่ำเพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น

8
ข้อควรระวังในการขับขี่
การจอดรถ จอดรถโดยใช้ขาตั้งข้าง
• จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกัน 1. ดับเครื่องยนต์

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
• ในกรณีที่ท่านต้องจอดรถบนพื้นที่ลาดเอียงเล็กน้อย 2. ลดขาตั้งข้างลง
หรือจอดรถบนพื้นผิวถนนที่ไม่อัดแน่น ขอให้ท่านจอด 3. ค่อยๆ เอียงรถจักรยานยนต์มาทางด้านซ้ายอย่างช้าๆ
รถโดยไม่ให้ตัวรถเคลื่อนหรือล้มลงได้ จนกระทั่งน�้ำหนักของตัวรถอยู่ที่ขาตั้งข้าง
• ต้องแน่ใจว่าชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิสูงไม่สัมผัสกับวัสดุ 4. หมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวมาทางด้านซ้ายจนสุด
ที่ติดไฟได้ง่าย การหมุนแฮนด์บังคับเลี้ยวไปด้านขวาจะท�ำให้ความ
• อย่าสัมผัสเครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่ มั่นคงในการทรงตัวลดลงและอาจเป็นเหตุให้รถล้มได้
มีอุณหภูมิสูงอื่นๆ จนกว่าจะเย็นลง 5. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (​Lock) ดึงกุญแจ
• เพื่อลดโอกาสในการถูกขโมยรถ ให้ล๊อคแฮนด์บังคับ ออก หน้า 37
เลี้ยวเสมอและดึงกุญแจออกทุกครั้งเมื่อท่านจอด
รถทิ้งไว้หรืออยู่ห่างจากรถของท่านโดยไม่มีผู้ดูแล
ขอแนะนำ�ให้ท่านใช้อุปกรณ์กันขโมยด้วย

9
ข้อควรระวังในการขับขี่
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการ
เติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำเหล่านี้เพื่อเป็นการปกป้องเครื่อง-
ยนต์ ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง และอุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย :
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น
• ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนตามที่ได้แนะน�ำไว้
การใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทนที่ต�่ำกว่าจะส่งผล
ให้ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ลดลง
• อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ใน
ระดับความเข้มข้นสูง หน้า 124
• อย่าใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเก่าหรือสกปรก หรือน�้ำมันเบนซิน
ผสมกับน�้ำมันเครื่อง
• หลีกเลี่ยงอย่าให้มีสิ่งสกปรกหรือน�้ำในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

10
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลงสภาพรถ
การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและการดัดแปลง คำ�เตือน
สภาพรถ การติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมหรือการดัดแปลง

การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย
ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ว่าท่านไม่ควรติดตั้งอุปกรณ์เพิ่ม- สภาพรถที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
เติมใดๆ ซึ่งไม่ได้ออกแบบมาเป็นพิเศษโดยฮอนด้าเพื่อ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาด-
ใช้กับรถจักรยานยนต์ของท่าน หรือทำ�การดัดแปลงสภาพ เจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้
รถให้แตกต่างไปจากการออกแบบดั้งเดิม ซึ่งการกระทำ�
เช่นนั้นจะทำ�ให้ไม่ปลอดภัยในการขับขี่ ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ทั้งหมดในคู่มือการใช้งาน
การดัดแปลงสภาพรถจักรยานยนต์ของท่านอาจทำ�ให้ เล่มนี้เกี่ยวกับการติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมและ
การรับประกันคุณภาพเป็นโมฆะ อีกทั้งยังอาจทำ�ให้รถ- การดัดแปลงสภาพรถ
จักรยานยนต์ของท่านอยู่ในสภาพที่ผิดกฎหมายในการ ไม่ควรลากรถพ่วงด้วยรถจักรยานยนต์ของท่านหรือติด-
ที่จะขับขี่บนถนนสาธารณะและบนถนนทางหลวงได้ ตั้งรถพ่วงข้างเข้ากับรถจักรยานยนต์ของท่าน เพราะ
ดังนั้นก่อนที่ท่านจะพิจารณาติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมใดๆ รถของท่านไม่ได้ออกแบบมาเพื่อการติดรถพ่วงข้าง
เข้ากับรถจักรยานยนต์ของท่าน ต้องแน่ใจว่าการดัดแปลง หรือรถพ่วง และการกระทำ�เช่นนี้อาจก่อให้เกิดความ
สภาพรถนั้นๆ มีความปลอดภัยและถูกต้องตามกฎหมาย เสียหายร้ายแรงกับการบังคับรถได้ ซึ่งทำ�ให้ไม่ปลอด-
ภัยในการขับขี่

11
การบรรทุก
การบรรทุก
• การบรรทุกน�้ำหนักสัมภาระมากเกินไปจะมีผลเสียกับ คำ�เตือน
การขับขี่รถจักรยานยนต์อย่างปลอดภัย

การบังคับ การเบรก และการทรงตัวของรถจักรยาน- การบรรทุกเกินขนาดที่กฎหมายกำ�หนดหรือการ


ยนต์ของท่าน บรรทุกที่ไม่เหมาะสมอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น
ท่านควรขับขี่โดยใช้ความเร็วที่ปลอดภัยให้เหมาะสม การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัส
กับน�้ำหนักที่ท่านบรรทุกเสมอ หรือถึงแก่เสียชีวิตได้
• หลีกเลี่ยงการบรรทุกของที่มีน�้ำหนักมากเกินไป และ
ควรบรรทุกของให้อยู่ภายในขีดจ�ำกัดในการบรรทุก ปฏิบัติตามขีดจ�ำกัดในการบรรทุกทั้งหมดและค�ำ-
ที่ระบุไว้ แนะน�ำในการบรรทุกอื่นๆ ที่ปรากฏอยู่ในคู่มือ
อ้างอิง ความสามารถในการรับน�้ำหนักสูงสุด เล่มนี้
หน้า 126
• ผูกมัดสัมภาระทั้งหมดไว้อย่างแน่นหนา วางน�้ำหนัก
สัมภาระให้ได้สมดุลเท่ากันทั้งสองด้าน และให้ได้จุด
ศูนย์ถ่วงของรถเท่าที่จะเป็นไปได้
• อย่าวางสิ่งของไว้ใกล้ไฟสัญญาณต่างๆ หรือท่อไอเสีย

12
ตำ�แหน่งของชิ้นส่วนต่างๆ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ หน้า 43
คันคลัชท์ หน้า 90
กระปุกน�้ำมันเบรกหน้า หน้า 82

ปลอกคันเร่ง หน้า 93

ฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้านวัด หน้า 80

หัวเทียน หน้า 72

ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
หน้า 76

กระปุกน�้ำมันเบรกหลัง หน้า 82

13
แบตเตอรี่ หน้า 61
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 41
เบาะหน้า หน้า 64
เบาะหลัง หน้า 69

ซองเก็บเอกสาร หน้า 43
กล่องฟิวส์ หน้า 112
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ หน้า 94
คันเปลี่ยนเกียร์ หน้า 40

โซ่ขับเคลื่อน หน้า 86
โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง หน้า 78
ขาตั้งข้าง หน้า 85

14
คำ�แนะนำ�การใช้งาน
15
เครื่องวัดต่างๆ มาตรวัดรอบ
ข้อสังเกต
อย่าเร่งเครื่องยนต์จนความเร็วรอบเครื่องยนต์ถึงแถบสีแดง
ของมาตรวัดรอบ ความเร็วรอบเครื่องยนต์ที่มากเกินไปอาจมี
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ผลเสียต่ออายุการใช้งานของเครื่องยนต์ได้
แถบสีแดงของมาตรวัดรอบ
(ช่วงที่ความเร็วรอบเครื่องยนต์
ปุ่ม สูงเกินกว่าที่กำ�หนด)

ปุ่ม

การตรวจสอบการแสดงผลข้อมูลในหน้าจอ
เมื่อหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On) โหมดการทำ�งานและแถบแสดงสถานะดิจิตอลทั้งหมดจะปรากฏ
ขึ้น ถ้าหากส่วนหนึ่งส่วนใดของการแสดงผลเหล่านี้ไม่ปรากฏขึ้นเมื่อถึงเวลาที่ควรจะปรากฏ กรุณานำ�รถ-
จักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คปัญหาโดยศูนย์บริการฮอนด้า
16
นาฬิกา (แสดงผลแบบ 12 ชั่วโมง)
การตั้งเวลานาฬิกา : หน้า 26
มาตรวัดระยะทาง (TOTAL) และมาตร-
วัดระยะการเดินทาง [TRIP A/B] และ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
นาฬิกาจับเวลา หน้า 18
สัญญาณไฟบอกตำ�แหน่งเกียร์
ตำ�แหน่งเกียร์จะปรากฏขึ้นที่สัญญาณไฟบอก
ตำ�แหน่งเกียร์
“-” จะปรากฏขึ้นเมื่อไม่ได้เปลี่ยนเกียร์อย่างถูกต้อง
มาตรวัดความเร็ว
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ณ ปัจจุบัน อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง
เฉลี่ย [AVG] ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง และความเร็วเฉลี่ย [AVG] หน้า 22

เกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่เหลืออยู่เมื่อแถบแสดงสถานะล�ำดับที่ 1 (E) เท่านั้นเริ่มต้น
กะพริบ : 1.9 ลิตร โดยประมาณ
ถ้าหากสัญญาณไฟของเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิงกะพริบในรูปแบบ
ซ�้ำๆ หรือดับลง : หน้า 101

17
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ)
มาตรวัดระยะทาง [TOTAL] และมาตรวัดระยะการเดินทาง [TRIP A/B] และนาฬิกาจับเวลา
กดปุ่ม เพื่อเลือกสลับระหว่างมาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง A มาตรวัดระยะการ-
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

เดินทาง B และนาฬิกาจับเวลา
มาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะการเดิน มาตรวัดระยะการเดิน นาฬิกาจับเวลา
ทาง A ทาง B

18
มาตรวัดระยะทาง [TOTAL] นาฬิกาจับเวลา
แสดงระยะทางรวมที่รถวิ่ง หากสัญลักษณ์ “ “ แสดงระยะเวลาที่ผ่านมา เมื่อเริ่มกดปุ่ม เพื่อเริ่ม
ปรากฏขึ้นกรุณานำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับ การจับเวลา

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
บริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า ระยะการแสดงผลบนหน้าจอ :
0H00M00.0S - 9H59M59.9S
มาตรวัดระยะการเดินทาง [TRIP A/B] • ถ้าเวลามากกว่า 9H59M59.9S จะวนกลับไปที่
แสดงระยะทางที่รถวิ่งตั้งแต่ที่มาตรวัดระยะการเดินทาง 0H00M00.0S
ได้รับการปรับตั้งใหม่แล้ว หากสัญลักษณ์” ” การใช้นาฬิกาจับเวลา หน้า 21
ปรากฏขึ้นกรุณานำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริ-
การตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
การปรับตั้งมาตรวัดระยะการเดินทางใหม่
หน้า 18

19
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ) การปรับตั้งค่ามาตรวัดระยะการเดินทาง B อัตราการใช้
การปรับตั้งค่ามาตรวัดระยะการเดินทาง [TRIP A/B] น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเฉลีย่ B ปริมาณน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง B และ
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย [AVG] ปริมาณน�้ำมัน- ความเร็วเฉลี่ย B (ค่าเหล่านี้จะยึดค่าจากมาตรวัดระยะ-
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

เชื้อเพลิง และความเร็วเฉลี่ย [AVG] การเดินทาง B) ให้กดปุ่ม ค้างไว้ในขณะทีม่ าตรวัด


การปรับตั้งค่ามาตรวัดระยะการเดินทาง A อัตราการใช้ ระยะการเดินทาง B ปรากฏขึ้น
น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย A ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง A และ
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง
ความเร็วเฉลี่ย A (ค่าเหล่านี้จะยึดค่าจากมาตรวัดระยะ เฉลี่ย B เฉลี่ย B ความเร็วเฉลี่ย B
การเดินทาง A เป็นหลัก) ใหม่พร้อมกันให้กดปุ่ม
ค้างไว้ในขณะที่มาตรวัดระยะการเดินทาง A ปรากฏขึน้ หรือ หรือ

ปริมาณน�้ำมัน- มาตรวัดระยะการ
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้่อเพลิง เดินทาง B
เฉลี่ย A เชื้อเพลิงเฉลี่ย A ความเร็วเฉลี่ย A
หรือ หรือ
หรือ หรือ

มาตรวัดระยะการเดิน
ทาง A
หรือ หรือ

20
นาฬิกาจับเวลา ปุ่ม
การจับเวลา
1. เลือกนาฬิกาจับเวลา หน้า 18

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
2. การเริ่มจับเวลา ให้กดปุ่ม
การจับเวลาจะดำ�เนินต่อไปถ้าท่านเปลี่ยนไปรายการ
อื่นในระหว่างการจับเวลา
3. การหยุดจับเวลา ให้กดปุ่ม ปุ่ม นาฬิกาจับเวลา
การจับเวลาสามารถหยุดได้เมื่อท่านหมุนสวิทช์จุด-
ระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off) การเริ่มการจับเวลาใหม่
กดปุ่ม อีกครั้ง นาฬิกาจับเวลาจะเริ่มจับเวลาใหม่
การปรับตั้งค่านาฬิกาจับเวลา
กดปุ่ม ค้างไว้เมื่อนาฬิกาจับเวลาปรากฏอยู่บน
จอแสดงผลและการจับเวลาก็จะสิ้นสุดด้วย

21
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ)
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ณ ปัจจุบัน อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย [AVG] ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง
และความเร็วเฉลี่ย [AVG]
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

กดปุ่ม เพื่อเลือกสลับระหว่างอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ณ ปัจจุบัน อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย


ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง และความเร็วเฉลี่ย

อัตราการใช้น�้ำมัน- อัตราการใช้น�้ำมัน- ปริมาณน�้ำมัน-


เชื้อเพลิง ณ ปัจจุบัน เชื้อเพลิง ความเร็วเฉลี่ย
เชื้อเพลิงเฉลี่ย

22
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ณ ปัจจุบัน อัตราการใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงเฉลีย่ จะถูกค�ำนวณโดยอ้างอิง
แสดงอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ณ ปัจจุบันหรือใน จากค่าทีป่ รากฏอยูบ่ นมาตรวัดระยะการเดินทาง (A หรือ
ขณะนั้น B) ที่ได้เลือกไว้

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ระยะการแสดงผลบนหน้าจอ : 0.0 ถึง 299.9 กิโลเมตร/ลิตร อีกทัง้ อัตราการใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงเฉลีย่ ส�ำหรับมาตรวัด
• ถ้ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความเร็วน้อยกว่า 6 ระยะการเดินทาง A จะแสดงเมือ่ ได้เลือกมาตรวัดระยะ-
กิโลเมตร/ชั่วโมง (4 ไมล์/ชั่วโมง) สัญลักษณ์ “---.-” ทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง A และนาฬิกาจับเวลา
จะปรากฏขึ้น ระยะการแสดงผลบนหน้าจอ : 0.0 ถึง 299.9 กิโลเมตร/ลิตร
• ถ้าอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงมากกว่า 299.9 กิโลเมตร/ • ถ้าอัตราการใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงมากกว่า 299.9 กิโลเมตร/
ลิตร : จอแสดงผลจะแสดงค่า “299.9” ลิตร : จอแสดงผลจะแสดงค่า ”299.9”
• เมือ่ มาตรวัดระยะการเดินทาง A หรือ B ถูกตัง้ ค่าใหม่
หากสัญลักษณ์ “---.-” ปรากฏขึ้นในกรณีอื่นๆ กรุณา สัญลักษณ์ “---.-” จะปรากฏขึน้
นำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็ค
ที่ศูนย์์บริการฮอนด้า หากสัญลักษณ์ “---.-” ปรากฏขึ้นในกรณีอื่นๆ กรุณานำ�
อัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย [AVG] รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่
แสดงอัตราการใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงเฉลีย่ ตัง้ แต่ทมี่ าตรวัด ศูนย์บริการฮอนด้า
ระยะการเดินทางได้รบั การปรับตัง้ ค่าใหม่แล้ว การปรับตั้งค่าอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ยใหม่
หน้า 20
23
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ) ความเร็วเฉลี่ย
แสดงความเร็วเฉลี่ยตั้งแต่ที่มาตรวัดระยะการเดินทาง
ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิง
ได้รับการปรับตั้งค่าใหม่
แสดงปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงทั้งหมด ตั้งแต่ที่มาตรวัด-
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

ความเร็วเฉลี่ยจะถูกคำ�นวณโดยอ้างอิงจากค่าที่ปรากฏอยู่
ระยะการเดินทางได้รับการปรับตั้งค่าใหม่แล้ว
บนมาตรวัดระยะการเดินทาง (A หรือ B) ที่ได้เลือกไว้
ปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงจะถูกค�ำนวณโดยอ้างอิงจาก
อีกทั้งความเร็วเฉลี่ยสำ�หรับมาตรวัดระยะการเดินทาง A
ค่าที่ปรากฏอยู่บนมาตรวัดระยะการเดินทาง (A หรือ B)
จะแสดงเมื่อได้เลือกมาตรวัดระยะทาง มาตรวัดระยะ-
ที่ได้เลือกไว้ อีกทั้งปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงส�ำหรับมาตรวัด-
การเดินทาง A และนาฬิกาจับเวลา
ระยะการเดินทาง A จะแสดงเมื่อได้เลือกมาตรวัด-
ระยะการแสดงผลบนหน้าจอ : 0.0 ถึง 199 กิโลเมตร/ลิตร
ระยะทาง มาตรวัดระยะการเดินทาง A และนาฬิกาจับเวลา
• การแสดงผลบนหน้าจอเบื้องต้น “---”
ระยะการแสดงผลบนหน้าจอ : 0.0 ถึง 299.9 กิโลเมตร/ลิตร
• เมือ่ รถจักรยานยนต์ของท่านมีระยะทางขับขีน่ อ้ ยกว่า
• ถ้าอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงมากกว่า 299.9 กิโลเมตร/
0.2 กิโลเมตร (0.12 ไมล์) นับตัง้ แต่เริม่ สตาร์ทเครือ่ งยนต์
ลิตร : จอแสดงผลจะแสดงค่า “299.9”
สัญลักษณ์ “---” จะปรากฏขึน้
• เมือ่ รถจักรยานยนต์ของท่านใช้งานน้อยกว่า 30 วินาที
หากสัญลักษณ์ “---.-” ปรากฏขึ้น กรุณานำ�รถจักรยานยนต์
นับตั้งแต่สตาร์ทเครื่องยนต์ สัญลักษณ์ “---” จะปรากฏขึ้น
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
การปรับตั้งค่าปริมาณน�้ำมันเชื้อเพลิงใหม่ หน้า 20

24
หากสัญลักษณ์ “---” ปรากฏขึ้นในกรณีอื่นๆ กรุณานำ�
รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดย
การตัง้ ค่าการแสดงผล
ศูนย์บริการฮอนด้า การตั้งค่าโหมด A
กดปุ่มเพื่อที่จะวนรอบตัวเลือกการตั้งค่าต่างๆ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
การปรับตั้งค่าความเร็วเฉลี่ยใหม่ หน้า 20
ต่อไปนี้ หน้า 26
• การตั้งเวลานาฬิกา
• การปรับความสว่างของแสงพื้นหลังของจอแสดงผล

การตั้งค่าโหมด B
กดปุ่มเพื่อที่จะวนรอบตัวเลือกการตั้งค่าต่างๆ
ต่อไปนี้ หน้า 28
• การตั้งค่าสัญญาณไฟ REV (รอบเครื่องยนต์)
(การตั้งค่าไฟ RPM (ความเร็วรอบต่อนาที) การตั้งค่า-
ไฟช่วง RPM (ช่วงความเร็วรอบ) และการปรับตั้ง
ความสว่าง)
• การตั้งค่าโหมดของมาตรวัดรอบ

25
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ) 1.การตั้งเวลานาฬิกา :
การตั้งค่าโหมด A หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่งเปิด (On)
ถ้าหากไม่ได้กดปุ่ม ภายในเวลาประมาณ 30 วินาที กดปุ ่ม และปุ่ม พร้อมกันค้างไว้จนกระทั่ง
ตัวเลขบอกชั่วโมงเริ่มต้นกะพริบ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

จอแสดงผลจะเปลี่ยนโดยอัตโนมัติจากโหมดการตั้งค่า
ไปเป็นการแสดงผลแบบปกติ

ถ้าหากไม่ได้กดปุ่ม ภายในเวลา 30 วินาทีรายการ


กดปุ่ม จนกระทั่งตัวเลขบอกชั่วโมงที่ต้องการ
ต่างๆ ที่อยู่ในขั้นตอนการตั้งค่าจะถูกยกเลิก ส่วนรายการ
ปรากฏขึ้น
ที่มีการตั้งค่าเสร็จสมบูรณ์เท่านั้นที่จะถูกนำ�ไปใช้ รายการ กดปุ่ม ค้างไว้เพือ่ ให้ชั่วโมงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ที่อยู่ในขั้นตอนการตั้งค่าและรายการที่ได้ตั้งค่าเสร็จสม-
บูรณ์เหล่านั้นจะถูกนำ�ไปใช้ก็ต่อเมื่อได้หมุนสวิทช์จุดระเบิด
ไปที่ตำ�แหน่ง (Off)

กดปุ่ม ตัวเลขบอกนาทีจะเริ่มต้นกะพริบ

26
2. การปรับความสว่างของแสงพื้นหลังของจอแสดงผล
กดปุ่ม จนกระทั่งตัวเลขบอกนาทีที่ต้องการ ท่านสามารถปรับตั้งความสว่างไปที่ระดับใดระดับหนึ่ง
ปรากฏขึ้น ใน 5 ระดับ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
กดปุ่ม ค้างไว้เพือ่ ให้นาทีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กดปุ่ม เพื่อเลือกระดับความสว่าง

กดปุ่ม นาฬิกาได้ตั้งเวลาเรียบร้อยแล้ว และ


จากนั้นการแสดงผลจะเปลี่ยนไปสู่การปรับความ กดปุ่ม แสงพื้นหลังของจอแสดงผลจะถูกตั้งค่า
สว่างของแสงพื้นหลังของจอแสดงผล และจากนั้นการแสดงผลจะเปลี่ยนไปเป็นการแสดง-
ผลแบบปกติ

27
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ) 1. การตั้งค่าสัญญาณไฟ REV
การตั้งค่าโหมด B ท่านสามารถเปลี่ยนการตั้งค่าสัญญาณไฟ REV สัญ-
ถ้าหากไม่ได้กดปุ่ม ภายในเวลาประมาณ 30 วินาที ญาณไฟ REV จะกะพริบในระหว่างการตั้งค่า
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

จอแสดงผลจะเปลี่ยนโดยอัตโนมัติจากโหมดการตั้งค่า ปุ่ม สัญญาณไฟ REV


ไปเป็นการแสดงผลแบบปกติ

ถ้าหากไม่ได้กดปุ่ม ภายในเวลา 30 วินาทีรายการ


ต่างๆ ที่อยู่ในขั้นตอนการตั้งค่าจะถูกยกเลิก ส่วนรายการ
ที่มีการตั้งค่าเสร็จสมบูรณ์เท่านั้นที่จะถูกนำ�ไปใช้ รายการ
ที่อยู่ในขั้นตอนการตั้งค่าและรายการที่ได้ตั้งค่าเสร็จสม-
บูรณ์เหล่านั้นจะถูกนำ�ไปใช้ก็ต่อเมื่อได้หมุนสวิทช์จุดระเบิด ปุ่ม มาตรวัดรอบแสดงผล
มาตรวัดรอบ เป็นตัวเลข
ไปที่ตำ�แหน่ง (Off)

28
การเปลีย่ นการตัง้ ค่าโหมด B หมุนสวิทชจุดระเบิด การกดปุ่ม แต่ละครั้ง การตั้งค่าไฟ RPM จะ
ไปทีต่ �ำ แหน่ง (ON) ในขณะทีก่ ดปุม่ ไว้จน เพิ่มขึ้นทีละ 250 รอบ/นาที (RPM) (​หนึ่งแถบ)
กว่าการแสดงผลบนหน้าจอจะสำ�เร็จ การกะพริบ เมื่อการตั้งค่าเกินระยะที่กำ�หนดไว้ การตั้งค่า RPM

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ของแถบแสดงสถานะในมาตรวัดรอบจะแสดงถึง จะกลับมาที่ 4,000 รอบ/นาที โดยอัตโนมัติ
สัญญาณไฟ REV แสดงความเร็วรอบ ณ ปัจจุบัน กดปุ่มค้างไว้เพื่อให้การตั้งค่าสัญญาณไฟ R​ EV
และมาตรวัดรอบแสดงผลเป็นตัวเลข เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
แถบแสดงสถานะของมาตรวัดรอบจะแสดงเป็น
การแสดงผลแบบปกติ ไม่ว่าจะตั้งค่าการแสดงผล การตั้งค่าช่วงความเร็วรอบที่สามารถตั้งได้ 4,000
ไว้เป็นแบบใดก็ตาม ถึง 10,500 รอบ/นาที (rpm)

29
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ)
กดปุ่ม สัญญาณไฟ REV ไฟ RPM จะถูกตั้งค่า
หลังจากนั้นการแสดงผลจะเปลี่ยนไปสู่การตั้งค่า
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สัญญาณไฟ REV ไฟแสดงช่วง RPM (ช่วงความเร็วรอบ/ มาตรวัดรอบ


นาที) ในขณะเดียวกัน การกะพริบของแถบแสดงสถานะ
จะแสดงการตั้งค่าเริ่มต้นในปัจจุบันของสัญญาณไฟ REV
ไฟ RPM และจอแสดงผลมาตรวัดรอบแสดงผลเป็น มาตรวัดรอบแสดงผลเป็นตัวเลข
ตัวเลขจะแสดงสัญญาณไฟ REV ไฟแสดงช่วง RPM
(ช่วงความเร็วรอบ/นาที)
การกดปุ่ม แต่ละครั้งตัวเลขของสัญญาณไฟ
REV ไฟแสดงช่วง RPM (ช่วงความเร็วรอบ/นาที)
จะสลับระหว่าง 0 รอบต่อนาที 250 รอบต่อนาที
และ 500 รอบต่อนาที

30
ตัวอย่าง เมื่อสัญญาณไฟ REV ไฟ RPM ตั้งค่าไว้ที่ กดปุม่ สัญญาณไฟ REV ไฟแสดงช่วง RPM
10,000 รอบ/นาที (rpm) และสัญญาณไฟ REV ไฟแสดง- จะถูกตัง้ ค่าและจากนั้นการแสดงผลจะเปลี่ยนไปสู่
ช่วง RPM คือ 250 รอบ/นาที (rpm) การปรับความสว่างของสัญญาณไฟ REV สัญญาณไฟ

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
สัญญาณไฟ REV รอบ/นาที (rpm) REV จะเปลี่ยนจากกะพริบเป็นติดค้าง
กะพริบ กดปุ่ม เพื่อเลือกระดับความสว่าง
9,250 รอบ/นาที (rpm) ท่านสามารถปรับความสว่างไปที่ระดับใดระดับหนึ่ง
(2 ครั้ง/วินาที)
กะพริบ ใน 5 ระดับ
9,500 รอบ/นาที (rpm)
(5 ครั้ง/วินาที)
กะพริบ
9,750 รอบ/นาที (rpm)
(10 ครั้ง/วินาที)
สัญญาณไฟติดค้าง 10,000 รอบ/นาที (rpm) กดปุ่ม ความสว่างของสัญญาณไฟ REV จะถูก
ตั้งค่า และจากนั้นการแสดงผลจะเปลี่ยนไปสู่การ-
เมื่อสัญญาณไฟ REV ไฟแสดงช่วง RPM แสดงค่าเป็น 0 ตั้งค่ามาตรวัดรอบ
สัญญาณไฟ REV จะเริ่มติดก็ต่อเมื่อถึงค่า RPM ที่ตั้งไว้

31
เครื่องวัดต่างๆ (ต่อ) ตัวอย่าง รอบการหมุนของเครื่องยนต์ต่อนาที 10,500
2 การเปลี่ยนโหมดการแสดงผลของมาตรวัดรอบ : รอบ/นาที (rpm)
ท่านสามารถเปลี่ยนโหมดการแสดงผลของมาตรวัดรอบ การแสดงผลแบบ แถบแสดงสถานะ
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

กดปุ่ม เพื่อเปลี่ยนไปยังโหมดการแสดงผลของ ปกติ มาตรวัดรอบ


มาตรวัดรอบ
กดปุ่ม โหมดการแสดงผลปัจจุบันจะถูกตั้งค่า
และการควบคุมจะเปลี่ยนไปเป็นการแสดงผลแบบปกติ
การแสดงผลหน่วง
การแสดงผลแบบปกติ ความเร็วรอบสูงสุด
แสดงแถบแสดงสถานะความเร็วรอบของเครือ่ งยนต์
ต่อนาทีบนมาตรวัดรอบ
การแสดงผลหน่วงความเร็วรอบสูงสุด
แสดงความเร็วรอบเครื่องยนต์บนแถบแสดงสถานะของ แถบแสดงสถานะ แถบแสดงค่าหน่วง
มาตรวัดรอบและแถบหน่วงความเร็วรอบสูงสุด มาตรวัดรอบ ความเร็วรอบสูงสุด
แถบหน่วงความเร็วรอบสูงสุดจะแสดงความเร็วรอบ
เครื่องยนต์ที่สูงสุดไว้ชั่วคราว

32
สัญญาณไฟต่างๆ
ถ้าหนึ่งในสัญญาณไฟเหล่านี้ไม่ติดขึ้นเมื่อถึงเวลาที่ควรจะติด กรุณานำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้า
รับบริการตรวจเช็คปัญหาโดยศูนย์บริการฮอนด้า

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
สัญญาณไฟเตือนระบบ ABS
สัญญาณไฟจะติดเมื่อหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง
(On) และจะดับลงเมื่อท่านขับขี่รถจักรยานยนต์ไปจน
ได้ความเร็วประมาณ 10 กิโลเมตร/ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง)
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นในขณะขับขี่ หน้า 100

สัญญาณไฟ PGM-FI สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูง


สัญญาณไฟจะติดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อหมุนสวิทช์จุด สัญญาณไฟจะติดขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อสวิทช์จุดระเบิด
ระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On) และสวิทช์ดับเครื่องยนต์อยู่ที่ อยูท่ ี่ตำ�แหน่ง (On)
ตำ�แหน่ง (Run) ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะขับขี่ หน้า 98
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นขณะเครื่องยนต์กำ�ลังทำ�งาน
หน้า 99
33
สัญญาณไฟต่างๆ (ต่อ)
สัญญาณไฟเกียร์ว่าง
สัญญาณไฟ REV
หน้า 35 สัญญาณไฟจะติดเมื่ออยู่ในตำ�แหน่งเกียร์ว่าง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

สัญญาณไฟสูง
สัญญาณไฟเลี้ยวซ้าย สัญญาณไฟเลี้ยวขวา

สัญญาณไฟเตือนระดับน�้ำมันเชื้อเพลิงต�่ำ
สัญญาณไฟจะติดเมื่อเหลือเพียงน�้ำมันเชื้อเพลิงส�ำรอง
ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิงเท่านั้น สัญญาณไฟเตือนระดับ
น�้ำมันเชื้อเพลิงต�่ำจะติดขึ้นเมื่อน�้ำมันเชื้อเพลิงเหลือ
อยู่ :1.9 ลิตร
34
สัญญาณไฟ REV
• สัญญาณไฟติดจะขึ้นเป็นช่วงเวลาสั้นๆ เมื่อหมุน
สวิชท์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On)

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
การตั้งค่าเริ่มต้น
ไฟ RPM : 8,000 รอบ/นาที (rpm)
ช่วง RPM : 250 รอบ/นาที (rpm)
สัญญาณไฟ ​REV รอบ/นาที (rpm)
กะพริบ
7,250 รอบ/นาที (rpm)
(2 ครั้ง/วินาที)
กะพริบ 7,500 รอบ/นาที (rpm)
(5 ครั้ง/วินาที)
กะพริบ
7,750 รอบ/นาที (rpm)
(10 ครั้ง/วินาที)
สัญญาณไฟติดค้าง 8,000 รอบ/นาที (rpm)

การตั้งค่าสัญญาณไฟ REV หน้า 28

35
สวิทช์ต่างๆ
สวิทช์ไฟสูง-ต�่ำ
• : ไฟสูง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

• : ไฟต�่ำ

ปุ่มแตร ปุ่มสตาร์ท
สวิทช์ดับเครื่องยนต์
สวิทช์ไฟเลี้ยว
กดปุ่มสวิทช์ลงเมื่อต้องการยกเลิกสัญญาณ ควรให้อยู่ในตำ�แหน่งการใช้งานปกติคือตำ�แหน่ง
(Run)
สวิทช์ไฟขอทาง ในกรณี ฉุกเฉิน ให้เปลี่ยนไปที่ตำ�แหน่ง (Stop)
ไฟสูงจะกะพริบตามจังหวะการกด (มอเตอร์สตาร์ทจะไม่ทำ�งาน) เพื่อดับเครื่องยนต์

36
สวิทช์จุดระเบิด (On)
เปิด/ปิดระบบไฟฟ้า หรือล๊อคคอรถ เปิดระบบไฟฟ้าเพื่อการสตาร์ท/
สามารถดึงกุญแจออกได้ เมื่อสวิทช์จุดระเบิด การขับขี่
อยู่ที่ต�ำแหน่ง (Off) หรือต�ำแหน่ง (Lock)

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
(Off)
ดับเครื่องยนต์

(Lock)
ล๊อคคอรถ

37
สวิทช์ต่างๆ (ต่อ) การล๊อคคอ
การล๊อคคอรถ หมุนแฮนด์รถไปด้านซ้ายจนสุด
ควรล๊อคคอรถไว้เมื่อจอดรถจักรยานยนต์เพื่อช่วยป้องกัน กดกุญแจลง และหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

การขโมย (Lock)
ขอแนะน�ำให้ท่านใช้ตัวล๊อคล้อกันขโมยรูปตัวยู หรืออุปกรณ์ ให้ขยับแฮนด์ซ้าย-ขวา ถ้าหมุนกุญแจไปที่ตำ�แหน่ง
กันขโมยที่มีลักษณะใกล้เคียงกันอีกด้วย (Lock) ได้ยาก
กุญแจจุดระเบิด ดึงกุญแจออก
กดลง
การปลดล๊อคคอ
เสียบกุญแจ กดลงและหมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�-
หมุน แหน่ง (Off)

38
การสตาร์ทเครื่องยนต์ ต้องแน่ใจว่าสวิชท์ดับเครื่องยนต์อยู่ที่ตำ�แหน่ง
สตาร์ทเครื่องยนต์โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้โดย (Run)
ไม่คำ�นึงถึงว่าเครื่องยนต์จะอุ่นหรือเย็นก็ตาม หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On)

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
เปลี่ยนเป็นเกียร์ว่าง (สัญญาณไฟรูปตัว ติด)
กดปุ่มสตาร์ทโดยไม่ต้องบิดคันเร่ง
ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ค่อยๆ บิดคันเร่ง
(ประมาณ 3 มม. (0.1 นิ้ว) ไม่มีระยะฟรี และ
กดปุ่มสตาร์ท
ประมาณ 3 มม. (0.1 นิ้ว) ไม่มีระยะฟรี

ข้อสังเกต
• ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติดภายใน 5 วินาที ให้หมุนสวิทช์จุด-
ระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off) และรอเป็นเวลา 10 วินาที ก่อนจะ
ลองสตาร์ทเครื่องยนต์อีกครั้งเพื่อฟื้นฟูแรงเคลื่อนไฟฟ้าของ
แบตเตอรี่
• การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานและการเร่งเครื่องยนต์อยู่กับ
ที่อาจทำ�ให้เครื่องยนต์และระบบไอเสียเกิดความเสียหายได้

39
การสตาร์ทเครื่องยนต์ (ต่อ) การเปลี่ยนเกียร์
ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด :
1 บิดคันเร่งจนสุดและกดปุ่มสตาร์ทเป็นเวลา 5 วินาที ระบบส่งก�ำลังของรถจักรยานยนต์ของท่านเป็นแบบ 6
เกียร์เดินหน้า โดยมีรูปแบบการเปลี่ยนเกียร์ คือ เปลี่ยน
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

2 ปฏิบัติซ�้ำตามขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ปกติ
3 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทติด ให้บิดคันเร่งเล็กน้อยหาก เกียร์ลง 1 ระดับ และเปลี่ยนเกียร์ขึ้น 5 ระดับ
รอบเดินเบาไม่สม�่ำเสมอ
4 ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด ให้รอเป็นเวลา 10 วินาที
ก่อนที่จะปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 ใหม่อีก
ครั้ง
ถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด หน้า 97

40
การเติมน�้ำมันเชื้อเพลิง
กุญแจ
การเปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
เปิดฝาปิดออก จากนั้นเสียบกุญแจจุดระเบิดเข้าไป แล้วหมุน
แผ่นวัดระดับที่ขอบปาก กุญแจจุดระเบิดตามเข็มนาฬิกาเพื่อเปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อ-
จุดระเบิด ฝาปิด ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
เพลิงออก

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
การปิดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
1 หลังจากเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงแล้ว กดฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อ-
เพลิงเข้าไปเพื่อปิดจนกระทั่งล๊อคเข้าที่
ดึงกุญแจจุดระเบิดออกและปิดฝาปิด
กุญแจจุดระเบิดจะไม่สามารถดึงออกได้ถ้าฝาปิดถัง-
ฝาปิดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำมันเชื้อเพลิงไม่ถูกล๊อค
อย่าเติมน�้ำมันเชื้อเพลิงจนล้นเกินจากแผ่นวัดระดับที่ขอบ
ปากถังน�้ำมันเชื้อเพลิง คำ�เตือน
ประเภทของน�้ำมันเชื้อเพลิง : น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่ว น�้ำมันเชื้อเพลิงมีความไวต่อการติดไฟและการระเบิด
เท่านั้น สูง ท่านอาจได้รับอันตรายหรือบาดเจ็บสาหัสอันเนื่อง
ค่าออกเทนของน�้ำมันเชื้อเพลิง : รถจักรยานยนต์ของท่าน มาจากน�้ำมันเชื้อเพลิงได้
ได้รับการออกแบบมาให้ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีค่าออกเทน 91 • ดับเครื่องยนต์และอยู่ให้ห่างจากความร้อน ประกายไฟ
และเปลวไฟ
หรือสูงกว่า • เติมน�้ำมันในที่โล่งแจ้งเท่านั้น
ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง : 8.5 ลิตร • เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงและการเติม
น�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 10
41
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ การถอดเบาะหลัง หน้า 69
ที่แขวนหมวกกันน็อกและสายคล้องหมวกกันน็อก คำ�เตือน
คำ�แนะนำ�การใช้งาน

(ที่อยู่ในชุดเครื่องมือประจำ�รถ) อยู่ใต้เบาะหลัง การขับขี่ในขณะที่หมวกกันน็อกยังแขวนติดอยู่กับที่แขวน-


หมวกกันน็อกจะกีดขวางการท�ำงานของล้อหลังหรือชุดกัน-
สายคล้องหมวกกันน็อก สะเทือนและอาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

ที่แขวนหมวกกันน็อกออกแบบมาเพื่อใช้แขวนหมวกกัน-
น็อกในขณะที่จอดรถเท่านั้น ไม่ควรขี่รถจักรยานยนต์ใน
ที่แขวนหมวกกันน็อก แหวนรูปตัวดี ขณะที่หมวกกันน็อกยังแขวนอยู่กับที่แขวนหมวกกันน็อก

สายคล้องหมวกกันน็อก

ใช้ที่แขวนหมวกกันน็อกเมื่อจอดรถเท่านั้น

42
อุปกรณ์ส�ำหรับการจัดเก็บ (ต่อ) ซองเก็บเอกสาร
ซองเก็บเอกสารอยู่ส่วนล่างของเบาะหลังโดยใช้สายยาง
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ รัดไว้
ชุดเครื่องมือประจำ�รถอยู่ใต้เบาะหลังโดยใช้สายยาง

คำ�แนะนำ�การใช้งาน
ซองเก็บเอกสาร
รัดไว้ สายยางรัด
สายยางรัด

ชุดเครื่องมือ
ประจ�ำรถ

การถอดเบาะหลัง หน้า 69

43
การบำ�รุงรักษา
โปรดอ่าน “ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา” และ “หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา”
โดยละเอียดก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ ขอให้อ้างถึง “ข้อมูลทางเทคนิค” ในส่วนของ
ข้อมูลบริการ

ความส�ำคัญของการบ�ำรุงรักษา....................... หน้า 45 หัวเทียน......................................................... หน้า 72


ตารางการบ�ำรุงรักษา....................................... หน้า 46 น�้ำมันเครื่อง................................................... หน้า 76
หลักการเบื้องต้นในการบ�ำรุงรักษา.................. หน้า 49 น�้ำหล่อเย็น. .................................................. หน้า 80
ชุดเครื่องมือประจ�ำรถ..................................... หน้า 60 เบรก.............................................................. หน้า 82
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง.. หน้า 61 ขาตั้งข้าง........................................................ หน้า 85
แบตเตอรี่....................................................... หน้า 61 โซ่ขับเคลื่อน.................................................. หน้า 86
คลิ๊ป............................................................... หน้า 63 คลัทช์............................................................ หน้า 90
เบาะหน้า. ...................................................... หน้า 64 คันเร่ง............................................................ หน้า 93
ชุดฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิง........................... หน้า 65 ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ....................... หน้า 94
ต�ำแหน่งการบ�ำรุงรักษาถังน�้ำมันเชื้อเพลิง......... หน้า 67 การปรับตั้งอื่นๆ............................................. หน้า 95
เบาะหลัง........................................................ หน้า 69 การปรับตั้งระดับไฟหน้า................................ หน้า 95
ฝาครอบหม้อน�้ำ.............................................. หน้า 70
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา
ความสำ�คัญของการบำ�รุงรักษา ความปลอดภัยในการบำ�รุงรักษา
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์ของท่านเป็นอย่างดีเป็นสิ่ง อ่านคำ�แนะนำ�สำ�หรับการบำ�รุงรักษาก่อนที่ท่านจะเริ่มต้น
จำ�เป็นอย่างยิ่งต่อความปลอดภัยของท่าน อีกทั้งยังเพื่อปก- งานบำ�รุงรักษาแต่ละงานเสมอ และต้องแน่ใจว่าท่านมีเครื่อง-
ป้องการลงทุนของท่านให้มีความคุ้มค่า เกิดประสิทธิภาพ มือ ชิ้นส่วนอะไหล่ต่างๆ และทักษะความชำ�นาญที่จำ�เป็น
สูงสุด หลีกเลี่ยงกรณีการเกิดรถเสียหรือชิ้นส่วนของรถชำ�รุด ทางบริษัทฯ ไม่สามารถเตือนท่านให้ระวังอันตรายทุกอย่าง

การบำ�รุงรักษา
กะทันหัน และช่วยลดมลพิษทางอากาศด้วย ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการปฏิบัติการบำ�รุงรักษา ดังนั้น
การบำ�รุงรักษารถจักรยานยนต์ถือเป็นความรับผิดชอบที่ ขอให้ท่านตัดสินใจด้วยตัวท่านเองว่าควรจะกระทำ�การบำ�รุง
สำ�คัญของท่านเจ้าของรถ ต้องแน่ใจว่าท่านได้ทำ�การตรวจ รักษาที่ให้ไว้หรือไม่
สอบรถจักรยานยนต์ของท่านก่อนการขับขี่ทุกครั้ง และนำ�
รถเข้ารับการตรวจเช็คตามระยะที่กำ�หนดไว้ในตารางการ ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�เหล่านี้เมื่อทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ
บำ�รุงรักษา หน้า 46 • ดับเครื่องยนต์และดึงกุญแจออก
คำ�เตือน • จอดรถบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับเสมอกันด้วยขา-
การบ�ำรุงรักษารถจักรยานยนต์ของท่านอย่างไม่ถูก- ตั้งข้างหรือขาตั้งที่ใช้ในงานบริการเพื่อที่จะตั้งรถให้มั่นคง
ต้องเหมาะสม หรือการละเลยในการแก้ไขปัญหาก่อน • ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มีอุณหภูมิ
การขับขี่ อาจท�ำให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม สูงต่างๆ เย็นลงก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ เนื่องจากท่าน
ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ อาจได้รับบาดเจ็บจากความร้อนหรือการเผาไหม้ได้
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในการตรวจสอบและการบ�ำรุง • ติดเครื่องยนต์เมื่อได้รับการแนะนำ�ไว้เท่านั้น และกระทำ�
รักษาและตารางการบ�ำรุงรักษาในคู่มือการใช้งาน เช่นนั้นเมื่ออยู่ในที่ที่มีการระบายอากาศที่ดี
เล่มนี้เสมอ
45
ตารางการบำ�รุงรักษา
ตารางการบำ�รุงรักษาจะระบุถึงรายการบำ�รุงรักษาที่ การบำ�รุงรักษาตามระยะเวลาที่กำ�หนดไว้ทั้งหมดจะถือ
จำ�เป็นเพิื่อรับรองว่ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความ เป็นค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการตามปกติที่เจ้าของรถ
ปลอดภัยในการขับขี่ มีประสิทธิภาพเชื่อถือได้ และมี ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ และจะถูกเรียกเก็บค่าดำ�เนินการ
การควบคุมไอเสียที่เหมาะสม ดังกล่าวจากศูนย์บริการฮอนด้า กรุณาเก็บรักษาใบเสร็จ
การบำ�รุงรักษา

งานบำ�รุงรักษาควรกระทำ�ตามมาตรฐานของฮอนด้า ทุกใบไว้ หากท่านขายรถจักรยานยนต์นี้ ท่านควรจะส่ง


และข้อมูลทางเทคนิค โดยช่างเทคนิคที่ได้รับการฝึก มอบใบเสร็จเหล่านี้ให้แก่เจ้าของรถคนใหม่พร้อมกับรถ-
อบรมอย่างถูกต้องและมีเครื่องมือครบครัน ซึ่งศูนย์ จักรยานยนต์
บริการฮอนด้ามีคุณสมบัติตรงตามข้อกำ�หนดดังกล่าว
ทั้งหมดข้างต้น จดบันทึกประวัติการบำ�รุงรักษาอย่าง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
ถูกต้องและแม่นยำ�เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่ารถจักรยาน- ทำ�การทดสอบขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านหลังจาก
ยนต์ของท่านจะได้รับการบำ�รุงรักษาอย่างเหมาะสม ได้ทำ�การบำ�รุงรักษาแต่ละรายการแล้ว
ต้องแน่ใจว่าช่างเทคนิคผู้ซึ่งได้ทำ�การบำ�รุงรักษารถ-
จักรยานยนต์ให้แก่ท่านได้ลงบันทึกประวัติการบำ�รุง
รักษาอย่างครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว

46
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 6 12 18 24 30 36 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม อ้างอิง
หน้า 49 x 1,000 ไมล์ 0.6 4 8 12 16 20 24 ประจำ�ปี กำ�หนด หน้า
สายน�้ำมันเชื้อเพลิง -
ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง -
การท�ำงานของคันเร่ง 93

การบำ�รุงรักษา
ไส้กรองอากาศ *2 59
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ *3 94
หัวเทียน 72
ระยะห่างวาล์ว -
น�้ำมันเครื่อง 76
ตะแกรงกรองน�้ำมันเครื่อง -
รอบเดินเบา -
น�้ำหล่อเย็น *4 3 ปี 80
ระบบระบายความร้อน -
ระดับของการบำ�รุงรักษา คำ�อธิบายสัญลักษณ์เพื่อการบำ�รุงรักษา
: ทักษะระดับกลาง ทางบริษัทฯ ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้ารับบริการที่ศูนย์ : ตรวจเช็ค (ทำ�ความสะอาด ปรับตั้ง หล่อลื่น หรือเปลี่ยนใหม่ถ้าจำ�เป็น)
บริการฮอนด้า นอกเสียจากท่านจะมีเครื่องมือที่จำ�เป็นและมีฝีมือทางช่างด้วย : ทำ�ความสะอาด
ขั้นตอนการบำ�รุงรักษาต่างๆ มีอยู่ในคู่มือการซ่อมของฮอนด้า
: หล่อลื่น
: ทักษะด้านเทคนิคที่สูงขึ้น เพื่อความปลอดภัย ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถไปเข้า : เปลี่ยน
รับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้าเท่านั้น

47
ตารางการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็ค ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์ *1 การ การ
อ้างอิง
รายการ ก่อนการขับขี่ x 1,000 กม. 1 6 12 18 24 30 36 ตรวจเช็ค เปลี่ยนตาม หน้า
หน้า 49 x 1,000 ไมล์ 0.6 4 8 12 16 20 24 ประจำ�ปี กำ�หนด
โซ่ขับเคลื่อน ทุกๆ 500 กิโลเมตร (300 ไมล์) : 86
น�้ำมันเบรก *4 2 ปี 82
การสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก 83
การบำ�รุงรักษา

ระบบเบรก 82
สวิทช์ไฟเบรก 84
ไฟหน้า 95
ไฟแสงสว่าง/แตร -
สวิทช์ดับเครื่องยนต์ -
ระบบคลัทช์ 90
ขาตั้งข้าง -
ระบบกันสะเทือน -
น๊อต โบ้ลท์ และสกรู -
ล้อ/ยาง 56
ลูกปืนคอ -
หมายเหตุ :
*1 : กรณีที่ระยะทางที่อ่านได้บนเรือนไมล์มีระยะทางเกินกว่า 36,000 กม. ให้ทำ�การบำ�รุงรักษาต่อไปทุกๆ 6,000 กม. โดยเริ่มดูรายการบำ�รุงรักษาตาม
คู่มือตรงช่อง 6,000 กม., 12,000 กม., 18,000 กม., 24,000 กม., 30,000 กม., และ 36,000 กม. ตามลำ�ดับ
*2 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่เปียกหรือมีฝุ่นมาก
*3 : ควรตรวจเช็คบำ�รุงรักษาให้บ่อยขึ้นถ้าขับขี่ในพื้นที่ที่ฝนตกหรือการใช้งานหนัก
*4 : เปลี่ยนโดยช่างผู้ชำ�นาญ
48
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การตรวจเช็คก่อนการขับขี่ • น�้ำหล่อเย็น - เติมน�้ำหล่อเย็นถ้าจ�ำเป็น เช็คการรั่วซึม
เพื่อให้มั่นใจในความปลอดภัยถือเป็นความรับผิดชอบ หน้า 80
ของท่านในการท�ำการตรวจเช็คก่อนการขับขี่และต้อง • โซ่ขับเคลื่อน - เช็คสภาพของโซ่และความหย่อนของ
แน่ใจว่าปัญหาใดๆ เกี่ยวกับรถของท่านที่ตรวจพบนั้น โซ่ ปรับตั้งและหล่อลื่นถ้าจ�ำเป็น หน้า 86

การบำ�รุงรักษา
ได้รับการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว การตรวจเช็คก่อนการขับ- • เบรก - เช็คการท�ำงาน :
ขี่นั้นถือเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต้องท�ำ เพราะไม่เพียงแต่เพื่อให้ เบรกหน้าและหลัง : ตรวจสอบระดับน�้ำมันเบรกและ
เกิดความปลอดภัยเท่านั้น แต่เป็นเพราะการที่มีชิ้นส่วน การสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก หน้า 82, 83
ของรถเสียหายกะทันหันหรือแม้กระทั่งยางแบนก็อาจ • อุปกรณ์ไฟแสงสว่างและแตร - ตรวจสอบการท�ำงาน
เป็นสิ่งที่น�ำพาความยากล�ำบากมาให้แก่ท่านอย่างยิ่ง ของไฟแสงสว่าง สัญญาณไฟต่างๆ และแตรว่าเป็น
ในระหว่างการขับขี่
ไปอย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่
ตรวจเช็ครายการดังต่อไปนี้ก่อนที่ท่านจะขับขี่รถจักรยานยนต์ : • สวิทช์ดับเครื่องยนต์ - ตรวจสอบการท�ำงานว่าเป็นไป
• ระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง - เติมน�้ำมันเชื้อเพลิงเมื่อจ�ำเป็น อย่างถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ หน้า 36
หน้า 41 • คลัทช์ - ตรวจสอบการท�ำงาน
• คันเร่ง - ตรวจสอบการท�ำงานตั้งแต่เริ่มแรกจนถึงบิด ปรับตั้งระยะฟรีถ้าจ�ำเป็น หน้า 90
สุดในสภาพมุมเลี้ยวต่างๆ หน้า 93 • ล้อและยาง - ตรวจเช็คสภาพและแรงดันลมยาง
• ระดับน�้ำมันเครื่อง - เติมน�้ำมันเครื่องถ้าจ�ำเป็น เช็ค หน้า 56
การรั่วซึม หน้า 76
49
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การเปลี่ยนชิ้นส่วนต่างๆ คำ�เตือน
ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่เทียบเท่า การประกอบชิ้นส่วนที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจท�ำให้
เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่ารถจักรยานยนต์ของท่านมีความ รถของท่านอยู่ในสภาพไม่ปลอดภัยได้ และ
น่าเชื่อถือและปลอดภัย อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม
การบำ�รุงรักษา

ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสีย
ชีวิตได้

ควรใช้แต่อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่ที่
เทียบเท่าซึ่งได้รับการออกแบบและรับรองคุณ-
ภาพว่าเหมาะสมกับรถจักรยานยนต์ของท่าน

50
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
แบตเตอรี่ ควรปฏิบัติอย่างไรในกรณีฉุกเฉิน
รถจักรยานยนต์ของท่านใช้แบตเตอรี่แบบไม่ต้องบ�ำรุง ถ้าเกิดกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้เกิดขึ้นให้รีบไปพบ
รักษา ท่านไม่ต้องตรวจเช็คระดับน�้ำยาแบตเตอรี่หรือ แพทย์ทันที
ไม่ต้องเติมน�้ำกลั่นลงไป ท�ำความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ •น�้ำยาแบตเตอรี่กระเด็นเข้าตา :
ถ้าสกปรกหรือมีสนิมขึ้น ล้างตาของท่านด้วยน�้ำเย็นหลายๆ ครั้งเป็นเวลา

การบำ�รุงรักษา
อย่าถอดซีลของฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก การชาร์จ อย่างน้อยที่สุด 15 นาที การใช้น�้ำภายใต้แรงดันอาจ
แบตเตอรี่ไม่จ�ำเป็นต้องถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำยาออก ท�ำให้ตาของท่านได้รับอันตรายได้
• น�้ำยาแบตเตอรี่กระเด็นถูกผิวหนัง :
ข้อสังเกต
ถอดเสื้อผ้าที่เปื้อนออกและล้างท�ำความสะอาด
แบตเตอรี่ของท่านเป็นแบบไม่ต้องบ�ำรุงรักษา และ
ผิวหนังของท่านด้วยน�้ำอย่างทั่วถึง
อาจได้รับความเสียหายได้ถ้าซีลของฝาปิดช่องเติม
• น�้ำยาแบตเตอรี่กระเด็นเข้าปาก :
น�้ำยาถูกถอดออกมา
ล้างปากให้สะอาดด้วยน�้ำอย่างทั่วถึง และอย่ากลืน
ข้อสังเกต ลงไป
แบตเตอรี่ที่ถูกก�ำจัดหรือทิ้งอย่างไม่เหมาะสม อาจเป็น
อันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ ท่าน
ควรปฏิบัติตามข้อก�ำหนดของท้องถิ่นที่มีเสมอส�ำหรับ
ค�ำแนะน�ำในการก�ำจัดหรือทิ้งแบตเตอรี่ที่เหมาะสม
51
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
คำ�เตือน 3. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ถูกกัดกร่อนมากหรือมีคราบสีขาวๆ เกาะ
อยู่มาก ให้ทำ�ความสะอาดและขัดขั้วแบตเตอรี่ด้วยแปรง-
แก๊สที่ระเหยจากแบตเตอรี่เป็นแก๊สไฮโดรเจนซึ่ง ลวดหรือกระดาษทราย ควรสวมแว่นตานิรภัยเพื่อความ
ท�ำให้เกิดระเบิดได้ระหว่างการปฏิบัติงานตามปกติ ปลอดภัยของท่าน
หลีกเลี่ยงการเกิดเปลวไฟหรือประกายไฟเพราะแก๊ส
การบำ�รุงรักษา

ที่ระเหยจากแบตเตอรี่สามารถท�ำให้เกิดระเบิดได้
ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้

สวมเสื้อผ้าและหน้ากากป้องกัน หรือเข้ารับบริการ
จากช่างที่มีความช�ำนาญในการบ�ำรุงรักษาแบตเตอรี่ 4. หลังจากทำ�ความสะอาด ให้ประกอบแบตเตอรี่กลับเข้าที่
แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานจำ�กัด ดังนั้นท่านควรปรึกษากับ
การทำ�ความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ ทางศูนย์บริการฮอนด้าว่าเมื่อไรที่ท่านควรจะต้องเปลี่ยน
1. ถอดแบตเตอรี่ออก หน้า 61 แบตเตอรี่ใหม่ และควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ลูกใหม่ด้วยแบต-
2. ถ้าขั้วแบตเตอรี่ก�ำลังเริ่มที่จะถูกกัดกร่อนและมีคราบ เตอรี่แบบไม่ต้องบำ�รุงรักษาชนิดเดียวกัน
สีขาวๆ หรือคราบซัลเฟตเกาะอยู่ ให้ล้างออกโดยใช้ ข้อสังเกต
น�้ำอุ่นและเช็ดให้สะอาด การประกอบอุปกรณ์เสริมระบบไฟฟ้าที่ไม่ใช่ของฮอนด้าอาจ
ท�ำให้ระบบไฟฟ้าท�ำงานเกินก�ำลัง ท�ำให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟ
ออกจนหมด และอาจเป็นไปได้ว่าจะท�ำให้ระบบไฟฟ้าได้รับ
ความเสียหายได้
52
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา

ฟิวส์ ถ้าฟิวส์ขาดบ่อย อาจเป็นไปได้ว่าวงจรไฟฟ้าภายในรถจักร-


ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันวงจรไฟฟ้าภายในรถจักรยานยนต์ ยานยนต์ของท่านเกิดบกพร่อง ดังนั้นควรน�ำรถเข้ารับบริการ
ตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
ของท่าน ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆ ในรถหยุดการทำ�งาน ให้ตรวจ-
เช็คและเปลี่ยนฟิวส์ใดๆ ที่ขาด หน้า 112 น�้ำมันเครื่อง
อัตราการสิ้นเปลืองของน�้ำมันเครื่องจะแตกต่างกันและคุณ-

การบำ�รุงรักษา
การตรวจสอบและการเปลี่ยนฟิวส์ ภาพของน�้ำมันเครื่องจะเสื่อมไปตามสภาพการขับขี่และระยะ
หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off) เพื่อที่จะถอด เวลาในการใช้งาน
และตรวจสอบฟิวส์ ถ้าฟิวส์ขาดให้เปลี่ยนใหม่โดยใช้ฟิวส์ ตรวจสอบระดับน�้ำมันเครื่องเป็นประจ�ำและเติมน�้ำมันเครื่อง
ที่มีขนาดเดียวกับฟิวส์เดิม สำ�หรับขนาดของฟิวส์ให้ดูได้ ที่แนะน�ำถ้าจ�ำเป็น น�้ำมันเครื่องที่สกปรกหรือเก่าควรจะเปลี่ยน
ใหม่ทันทีที่เป็นไปได้
จาก “ข้อมูลทางเทคนิค” หน้า 128
การเลือกใช้น�้ำมันเครื่อง
ฟิวส์ขาด ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค”
หน้า 127
ถ้าท่านใช้น�้ำมันเครื่องที่ไม่ใช่ของฮอนด้า ให้ตรวจสอบป้าย
ที่ข้างภาชนะบรรจุน�้ำมัน เพื่อให้แน่ใจว่าน�้ำมันเครื่องนั้นมี
คุณสมบัติตรงตามมาตรฐานทั้งหมดดังต่อไปนี้ :
ข้อสังเกต
•มาตรฐาน JASO T 903*1 : MA
•มาตรฐาน SAE*2 : 10W-30
การเปลี่ยนฟิวส์โดยใช้ฟิวส์ที่มีเบอร์สูงกว่ามาตรฐานที่ก�ำหนด
•การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API*3 : SG
จะยิ่งเพิ่มโอกาสของความเสียหายที่จะเกิดแก่ระบบไฟฟ้า
หรือสูงกว่า
53
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
*1.
มาตรฐาน JASO T 903 เป็นดัชนีส�ำหรับน�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเบรก
ส�ำหรับเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ 4 จังหวะ โดยแบ่งน�้ำมัน- อย่าเติมหรือเปลี่ยนน�้ำมันเบรกยกเว้นในกรณีฉุกเฉิน ขอให้
เครื่องออกเป็น 2 ประเภทคือ MA และ MB ยกตัวอย่าง ใช้น�้ำมันเบรกใหม่ที่บรรจุอยู่ในภาชนะที่ปิดมิดชิดเท่านั้น ถ้า
เช่น ป้ายต่อไปนี้แสดงน�้ำมันประเภท MA ท่านได้เติมน�้ำมันเบรกเข้าไป ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์
รหัสน�้ำมัน
ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คระบบเบรกโดยศูนย์บริการ
การบำ�รุงรักษา

ฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้
ประเภทของน�้ำมัน
ข้อสังเกต
*2.
มาตรฐาน SAE แบ่งเกรดของน�้ำมันเครื่องตามความหนืด น�้ำมันเบรกอาจท�ำให้เกิดความเสียหายกับพื้นผิวพลาสติก
*3.
การแบ่งประเภทน�้ำมันเครื่องตามมาตรฐาน API จะระบุ และพื้นผิวที่มีการทาสีได้
ถึงคุณภาพและสมรรถนะของน�้ำมันเครื่อง ขอให้ใช้น�้ำมัน- เช็ดน�้ำมันเบรกที่หกออกให้หมดโดยทันทีและล้างด้วยน�้ำ
เครื่องซึ่งมีระดับสมรรถนะ SG หรือสูงกว่า โดยไม่รวมถึง ให้สะอาด
น�้ำมันที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอันได้แก่ “Energy น�้ำมันเบรกที่แนะน�ำ :
Conserving” หรือ “Resource Conserving” ปรากฏอยู่ น�้ำมันเบรกฮอนด้า DOT 3 หรือ DOT 4 หรือเทียบเท่า
ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน API บริเวณครึ่งวงกลมส่วนล่าง
โซ่ขับเคลื่อน
ท่านจ�ำเป็นต้องตรวจสอบและหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนเป็นประจ�ำ
ตรวจสอบโซ่ขับเคลื่อนให้บ่อยขึ้นถ้าท่านมักจะขับขี่ีไปบน
สภาพถนนที่ไม่ดี ขับขี่ด้วยความเร็วสูง หรือขับขี่โดยเร่งเครื่อง
ไม่แนะน�ำให้ใช้ แนะน�ำให้ใช้ อย่างรวดเร็วอยู่บ่อยครั้ง หน้า 86
54
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
ถ้าโซ่ขับเคลื่อนหมุนติดขัดไม่ราบรื่น มีเสียงดังแปลกๆ เกิด การท�ำความสะอาดและการหล่อลื่น
ขึึ้น มีลูกกลิ้งเสียหาย มีสลักหลวม หรือมีข้อต่อบิดงอ ขอให้ หลังการตรวจสอบความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน ให้ท�ำ
ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโซ่ ความสะอาดโซ่ขับเคลื่อน สเตอร์หน้า และสเตอร์หลัง พร้อม
ขับเคลื่อนโดยศูนย์บริการฮอนด้า กับหมุนล้อหลังตามไปด้วย
ใช้ผ้าแห้งชุบตัวท�ำละลายที่มีจุดวาบไฟสูงในการท�ำความ

การบำ�รุงรักษา
นอกจากนี้ท่านควรตรวจสอบสเตอร์หน้าและสเตอร์หลังด้วย สะอาดโซ่ขับเคลื่อน
ถ้าหากฟันสเตอร์สึกหรอหรือเสียหาย ขอให้ท่านนำ�รถจักร- ใช้แปรงขนนุ่มท�ำความสะอาดหากโซ่ขับเคลื่อนสกปรก
ยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยนสเตอร์ใหม่โดยศูนย์ หลังการท�ำความสะอาด เช็ดให้แห้ง และหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน
บริการฮอนด้า ด้วยสารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนที่แนะน�ำ
สารหล่อลื่นที่แนะนำ� :
สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน แต่หากไม่สามารถหาได้ก็ขอ
ให้ท่านใช้น�้ำมันเครื่อง SAE 80 หรือ 90
ปกติ สึกหรอ เสียหาย
(ดี) (เปลี่ยนใหม่) (เปลี่ยนใหม่)

ข้อสังเกต
การใช้โซ่เส้นใหม่กับสเตอร์ที่สึกหรออาจท�ำให้โซ่สึกหรอ
อย่างรวดเร็วได้
55
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
อย่าใช้น�้ำมันเบนซินหรือตัวท�ำละลายที่มีจุดวาบไฟต�่ำในการ ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
ท�ำความสะอาดโซ่ขับเคลื่อน
อาจเกิดไฟไหม้หรือระเบิดได้ ควรรับบริการให้บ่อยขึ้นเมื่อขับขี่ในขณะฝนตก ขับขี่
หลีกเลี่ยงอย่าให้สารหล่อลื่นหยดลงบนเบรกหรือยาง ด้วยความเร็วสูง หรือหลังจากล้างรถหรือรถล้ม ควรรับ
หลีกเลี่ยงอย่าใช้สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนมากเกินไป เพื่อ บริการเมื่อระดับเขม่าสะสมในท่อระบายมีมากจน
การบำ�รุงรักษา

ป้องกันไม่ให้สารหล่อลื่นส่วนเกินกระเด็นติดเสื้อผ้าของท่าน สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน
และรถจักรยานยนต์ได้ ถ้าท่อระบายเรือนเครื่องยนต์มีน�้ำมันเครื่องล้นออกมา
ไส้กรองอากาศอาจปนเปื้อนไปด้วยน�้ำมันเครื่องซึ่งจะ
น�้ำหล่อเย็นที่แนะน�ำ
ท�ำให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานของเครื่องยนต์ต�่ำ
ใช้น�้ำหล่อเย็นแท้แบบผสมแล้วของฮอนด้า โดยไม่ต้องเอา หน้า 94
น�้ำเจือลงไป น�้ำหล่อเย็นแท้แบบผสมแล้วของฮอนด้านี้มี
คุณสมบัติดีเด่นในการป้องกันสนิมภายในเครื่องยนต์ และ ยาง (การตรวจสอบ/การเปลี่ยน)
ป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป
ควรตรวจสอบและเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็นอย่างเหมาะสมโดย การตรวจเช็คแรงดันลมยาง
ปฏิบัติตามตารางการบ�ำรุงรักษา หน้า 46 ตรวจสอบสภาพของยางด้วยสายตาและใช้เกจวัดแรง-
ข้อสังเกต ดันลมยางเพื่อวัดแรงดันลมยางอย่างน้อยที่สุดเดือนละ
การใช้น�้ำหล่อเย็นที่ไม่ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อใช้ ครั้งหรือเมื่อใดก็ตามที่ท่านเห็นว่ายางอ่อน ตรวจเช็ค
กับชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ที่เป็นอะลูมิเนียม หรือการใช้น�้ำประปา/ แรงดันลมยางเสมอในขณะที่ยางเย็น
น�้ำแร่อาจท�ำให้เกิดสนิมได้
56
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
การตรวจสอบความเสียหาย การตรวจสอบความสึกของดอกยาง
ตรวจสอบยางว่ามีรอยฉีกขาด ตรวจสอบต�ำแหน่งความสึกของดอกยาง ถ้าสามารถ
รอยแยก หรือรอยแตก จนสามารถ มองเห็นได้ชัดเจนให้เปลี่ยนยางใหม่ทันที
มองเห็นโครงสร้างของชั้นผ้าใบ เพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัย ท่านควรเปลี่ยนยางใหม่เมื่อถึง
หรือเส้นลวด หรือมีตะปูหรือวัตถุ

การบำ�รุงรักษา
ค่าความสึกของดอกยางต�่ำสุด
แปลกปลอมอื่นๆ ติดฝังในด้าน
ข้างของยางหรือดอกยางหรือไม่
ตรวจสอบดูด้วยว่ายางมีรอยบวมหรือส่วนที่นูนออกมา หรือ TWI
จากบริเวณแก้มยางหรือไม่
การตรวจสอบการสึกหรอผิดปกติ จุดสังเกตความสึกของดอกยาง
ตรวจสอบสภาพของยางว่า
มีอาการสึกหรอผิดปกติที่
บริเวณหน้ายางที่สัมผัสพื้น
ผิวถนนหรือไม่

57
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
คำ�เตือน กรุณาน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการเปลี่ยนยาง
โดยศูนย์บริการฮอนด้า ส�ำหรับยางที่แนะน�ำ แรงดันลมยาง
การขับขี่รถจักรยานยนต์ที่มีสภาพยางสึกหรอ
และค่าความสึกของดอกยางต�่ำสุด ให้ดูได้จาก “ข้อมูลทาง
มากหรือเติมลมยางไม่เหมาะสม อาจก่อให้เกิด เทคนิค” หน้า 127
อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจ เมื่อใดก็ตามที่ท่านเปลี่ยนยางให้ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำดังต่อ
การบำ�รุงรักษา

ได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแก่เสียชีวิตได้ ไปนี้
• ใช้ยางที่แนะน�ำหรือยางเทียบเท่า ซึ่งมีขนาดยาง โครงสร้าง
ปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำทั้งหมดในคู่มือการใช้งานเล่มนี้ ของยาง อัตราความเร็วสูงสุดที่ยางรับได้ และความสามารถ
เกี่ยวกับการเติมลมยางและการบ�ำรุงรักษายาง ในการรับน�้ำหนักเหมือนกับยางดั้งเดิมของท่าน
• ท�ำการถ่วงล้อด้วยตุ้มถ่วงล้อแท้ของฮอนด้าหรือเทียบเท่า
หลังจากที่ได้ประกอบยางแล้ว
• อย่าใส่ยางในเข้าในยางชนิดไม่มียางในของรถจักรยานยนต์
รุ่นนี้ เพราะเมื่อมีความร้อนจัดอาจเป็นเหตุให้ยางในเกิด
การระเบิดได้
• ใช้ยางชนิดไม่มียางในกับรถจักรยานยนต์รุ่นนี้เท่านั้น เนื่อง
จากขอบล้อได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้กับยางชนิดไม่มี
ยางใน และในระหว่างการเร่งความเร็วหรือการเบรกอย่าง
กะทันหัน ยางชนิดมียางในอาจหลุดออกจากขอบล้อและ
เป็นเหตุให้ยางแฟบลงอย่างรวดเร็ว
58
หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา
คำ�เตือน ไส้กรองอากาศ
การประกอบยางที่ไม่เหมาะสมเข้ากับรถจักรยานยนต์ รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีไส้กรองอากาศเป็นแบบกระดาษ
ของท่าน อาจมีผลเสียต่อการบังคับรถและการทรงตัว เปียก
ของรถได้ และสิ่งนี้เองอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุเช่น การ การทำ�ความสะอาดโดยการใช้ลมเป่าหรือการทำ�ความ
ชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือถึง

การบำ�รุงรักษา
สะอาดด้วยวิธีการอื่นใด จะทำ�ให้ประสิทธิภาพของไส้-
แก่เสียชีวิตได้ กรองอากาศแบบกระดาษเปียกลดลง และทำ�ให้มีฝุ่น
เข้าไปด้านในได้
ใช้ยางให้ถูกต้องตามชนิดและขนาดของยางตามที่ได้
อย่าทำ�การบำ�รุงรักษาใดๆ กับไส้กรองอากาศ
แนะน�ำไว้ในคู่มือการใช้งานเล่มนี้เสมอ
การบริการไส้กรองอากาศควรกระทำ�โดยศููนย์บริการ
ฮอนด้า

59
ชุดเครื่องมือประจำ�รถ
ชุดเครื่องมือประจำ�รถจัดเก็บอยู่ที่ใต้เบาะหลัง หน้า 69

ท่านสามารถซ่อมรถระหว่างทาง ปรับแต่งเล็กๆ น้อยๆ


และเปลี่ยนชิ้นส่วนได้โดยใช้เครื่องมือที่อยู่ในชุดเครื่อง-
มือนี้
การบำ�รุงรักษา

• ประแจปากตาย 8 x 10 มม.
• ประแจขันหัวเทียน
• ประแจหกเหลี่ยม 5 มม.
• สายคล้องหมวกกันน็อก
• ไขควงแบน/ไขควงแฉก
• ด้ามไขควง

60
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง
แบตเตอรี่ 1. ยกถังน�้ำมันเชื้อเพลิงด้านหน้าขึ้น หน้า 67
การถอด 2. ปลดขั้วลบแบตเตอรี่ ออกจากแบตเตอรี่
ต้องแน่ใจว่าสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง (Off) 3. ถอดขั้วลบแบตเตอรี่ ออกจากตัวล๊อค
4. ถอดโบ้ลท์ออก
สายรัดแบตเตอรี่
5. เลื่อนสายรัดแบตเตอรี่และถอดออก

การบำ�รุงรักษา
โบ้ลท์
ตัวล๊อค ขั้วลบแบตเตอรี่

61
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง แบตเตอรี่
การประกอบ
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ
ขั้วบวก
ถอด ต่อขั้วบวก แบตเตอรี่ก่อนเสมอ ต้องแน่ใจว่า
แบตเตอรี่
โบ้ลท์และน๊อตต่างๆ ขันแน่นอยู่
ต้องแน่ใจว่าข้อมูลนาฬิกาถูกต้องหลังจากที่ต่อขั้วของ
การบำ�รุงรักษา

แบตเตอรี่กลับเข้าไปใหม่แล้ว หน้า 26
แบตเตอรี่ สำ�หรับการจัดการกับแบตเตอรี่ที่เหมาะสม ให้ดูได้จาก
“หลักการเบื้องต้นในการบำ�รุงรักษา” หน้า 51
“แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ” หน้า 109

6. ปลดขั้วบวก แบตเตอรี่ออกจากแบตเตอรี่
7. ถอดแบตเตอรี่ออกและระวังอย่าทำ�น๊อตยึดขั้วสาย
หล่น

62
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง คลิ๊ป

คลิ๊ป การประกอบ
การถอด

การบำ�รุงรักษา
แกนกลาง
1. ดันส่วนปลายของแกนกลางของคลิ๊ปไปทางด้านหน้า
1. กดแกนกลางของคลิ๊ปลงเพื่อปลดล๊อคอออก 2. สอดคลิ๊ปลงไปในรู
2. ดึงคลิ๊ปออกจากรู 3. ค่อยๆ กดแกนกลางของคลิ๊ปลงให้เสมอกับแนวระดับ
เพื่อล๊อคคลิ๊ป

63
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง เบาะหน้า

เบาะหน้า การประกอบ
การถอด 1. สอดเขี้ยวของเบาะหน้าเข้าไปในหูยึดเบาะ
2. ประกอบปลอกรองและโบ้ลท์ยึด
1. ถอดเบาะหลังออก หน้า 69 3. ขันโบ้ลท์ยึดให้แน่น
2. ถอดโบ้ลท์ยึดและปลอกรองออกแล้วยกเบาะหน้า
การบำ�รุงรักษา

อัตราการขันแน่น : 10 นิวตัน-เมตร (1.0 กก.-ม, 7 ฟุต-ปอนด์)


ขึ้นแล้วจึงดึงถอยมาทางด้านหลัง
เบาะหน้า โบ้ลท์ยึด ต้องแน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อบแล้วโดยการดึง
เขี้ยวของ เบาะหน้าขึ้นเล็กน้อย
เบาะหน้า
4. ประกอบเบาะหลัง หน้า 69
ปลอกรอง

หูยึดเบาะ

64
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ชุดฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

ชุดฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิง 3. ถอดโบ้ลท์ B และ โบ้ลท์ C


การถอด โบ้ลท์ C โบ้ลท์ B

1. ถอดเบาะหน้าออก หน้า 64
2. ถอดโบ้ลท์ A สกรู และคลิ๊ป

การบำ�รุงรักษา
โบ้ลท์ A โบ้ลท์ C
คลิ๊ป สกรู

คลิ๊ป

สกรู

65
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ชุดฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

4. ถอดขอเกี่ยวออกจากยางรองทั้งสองข้าง การประกอบ
1. ประกอบฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิงโดยท�ำย้อนล�ำ-
ขอเกี่ยว ยางรอง ดับขั้นตอนการถอด
2. ประกอบและขันโบ้ลท์ C ให้แน่น
การบำ�รุงรักษา

อัตราการขันแน่น : 4.2 นิวตัน-เมตร (0.4 กก.-ม, 3.1 ฟุต-ปอนด์)


3. ประกอบและขันโบ้ลท์ B ให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 10 นิวตัน-เมตร (1.0 กก.-ม, 7 ฟุต-ปอนด์)
4. ประกอบและขันโบ้ลท์ A ให้แน่น
ยางรอง อัตราการขันแน่น : 4.2 นิวตัน-เมตร (0.4 กก.-ม, 3.1 ฟุต-ปอนด์)
5. ประกอบและขันสกรูให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 0.9 นิวตัน-เมตร (0.1 กก.-ม, 0.7 ฟุต-ปอนด์)
6. ประกอบคลิ๊ป
7. ประกอบเบาะหน้าและเบาะหลัง หน้า 64,69

66
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ต�ำแหน่งการบ�ำรุงรักษาถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

ต�ำแหน่งการบ�ำรุงรักษาถังน�้ำมันเชื้อเพลิง 4. ถอดโบ้ลท์ยึดและปลอกรองทั้งสองด้านออก
ส่วนหน้าของถังน�้ำมันเชื้อเพลิงสามารถยกขึ้นเพื่อท�ำการ
บ�ำรุงรักษา ไม่ต้องถ่ายน�้ำมันเชื้อเพลิงออกจากถังน�้ำมัน- ปลอกรอง
เชื้อเพลิง

การบำ�รุงรักษา
โบ้ลท์ยึด
การยกถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งข้างบนพื้นที่มั่นคงและมี
ระดับเสมอกันโดยเข้าเกียร์ว่างแล้วหมุนสวิทช์จุด-
ระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (Off) ตรวจสอบว่าฝาปิดถัง-
น�้ำมันเชื้อเพลิงถูกปิดอยู่
2. จัดให้แฮนด์บังคับเลี้ยวตรงไปข้างหน้า 5. ยกส่วนหน้าของถังน�้ำมันเชื้อเพลิงขึ้น
3. ถอดชุดฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิงออก หน้า 65

67
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ต�ำแหน่งการบ�ำรุงรักษาถังน�้ำมันเชื้อเพลิง

6. ดึงเขี้ยวล๊อคของฝาครอบแบตเตอรี่และเปิดออก 7. ยกถังน�้ำมันเชื้อเพลิงบนฐานของฝาครอบแบตเตอรี่ขึ้น
หลังจากเปิดฝาครอบแบตเตอรี่ ให้กดส่วนที่เป็น
บานพับเพื่อล๊อคฝาครอบแบตเตอรี่
ฝาครอบแบตเตอรี่ เขี้ยว
การบำ�รุงรักษา

ล๊อค

ฐานของฝาครอบ
ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง แบตเตอรี่
การประกอบ
ล๊อค 1. ประกอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิงโดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอน
การถอด
2. ประกอบปลอกรอง และโบ้ลท์ยึด
3. ขันโบ้ลท์ยึดให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 12 นิวตัน-เมตร (1.2 กก.-ม, 9 ฟุต-ปอนด์)

68
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง เบาะหลัง

เบาะหลัง การถอด
ขอเกี่ยวด้านหน้า เบาะหลัง
1. เสียบกุญแจจุดระเบิดเข้ากับที่ล๊อคเบาะ
2. หมุนกุญแจจุดระเบิดตามเข็มนาฬิกาจากนั้นดึงเบาะ
หลังขึ้นแล้วจึงดึงถอยมาทางด้านหลัง

การบำ�รุงรักษา
การประกอบ
1. สอดขอเกี่ยวด้านหน้าเข้าไปในหูยึดเบาะด้านหน้าที่
ตัวถัง
2. กดส่วนหลังของเบาะหลังลงจนกระทั่งล๊อคเข้าที่
ต้องให้แน่ใจว่าล๊อคเบาะเรียบร้อยแล้วโดยการดึง
ที่ล๊อคเบาะ เบาะนั่งขึ้นเล็กน้อย
หูยึดเบาะด้านหน้า
กุญแจจุดระเบิด เบาะนั่งจะล๊อคโดยอัตโนมัติเมื่อปิดเบาะลงแล้ว ดังนั้น
ขอให้ท่านระวังอย่าลืมกุญแจของท่านไว้ในช่องเก็บของ
ใต้เบาะหลัง

69
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ฝาครอบหม้อน�้ำ

ฝาครอบหม้อน�้ำ 3. ถอดแหวนรองและโบ้ลท์ B
4. ถอดร่องออกจากหูยึด
การถอดฝาครอบหม้อน�้ำด้านซ้ายและด้านขวาสามารถ
5. ถอดขอเกี่ยวออกจากยางรอง จากนั้นถอดฝาครอบ-
ท�ำได้ในลักษณะเดียวกัน
การถอด หม้อน�้ำออก
การบำ�รุงรักษา

ขอเกี่ยว
1. ถอดโบ้ลท์ A
2. ถอดฝาครอบหม้อน�้ำด้านนอกออกโดยการปลดเขี้ยว- ฝาครอบหม้อน�้ำ
ล๊อค A และเขี้ยวล๊อค B ออกจากร่อง ยางรอง
ร่อง เขี้ยวล๊อค A หูยึด
โบ้ลท์ A
โบ้ลท์ B

ร่อง
ร่อง แหวนรอง
โบ้ลท์ A
เขี้ยวล๊อค B ฝาครอบหม้อน�้ำ
ด้านนอก

70
การถอดและการประกอบส่วนประกอบตัวถัง ฝาครอบหม้อน�้ำ
การประกอบ
1. ประกอบฝาครอบหม้อน�้ำโดยท�ำย้อนล�ำดับขั้นตอน
การถอด
ต้องแน่ใจว่าร่องอยู่ในตำ�แหน่งที่เหมาะสมของหูยึด

การบำ�รุงรักษา
บนตัวถัง
2. ประกอบแหวนรองเข้ากับโบ้ลท์ B และขันโบ้ลท์ B
ให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 10 นิวตัน-เมตร (1.0 กก.-ม, 7 ฟุต-ปอนด์)
3. ประกอบฝาครอบด้านนอกโดยสอดเขี้ยวล๊อค A และ
เขี้ยวล๊อค B เข้าไปในร่อง
4. ประกอบและขันโบ้ลท์ A ให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 4.2 นิวตัน-เมตร (0.4 กก.-ม, 3.1 ฟุต-ปอนด์)

71
หัวเทียน
การตรวจเช็คหัวเทียน เดือยล๊อค

สำ�หรับหัวเทียนที่แนะนำ�ให้ดูได้จาก “ข้อมูลทางเทคนิค”
หน้า 127
ยางรอง
การบำ�รุงรักษา

ใช้หัวเทียนชนิดที่แนะนำ�ไว้เท่านั้นซึ่งมีเบอร์หัวเทียน
ตามที่ได้แนะนำ�ไว้
หม้อน�้ำ
ข้อสังเกต
การใช้หัวเทียนผิดเบอร์อาจทำ�ให้เกิดความเสียหาย โบ้ลท์ยึด ปลอกรอง
แก่เครื่องยนต์ได้ หม้อน�้ำ

1. ถอดชุดฝาครอบถังน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 65
2. ถอดฝาครอบหม้อน�้ำทั้งสองข้างออก หน้า 70
3. ถอดโบ้ลท์ยึดหม้อน�้ำและปลอกรอง
4. เลื่อนหม้อน�้ำไปทางต�ำแหน่ง A และถอดยางรอง
ออกจากเดือยล๊อค

72
หัวเทียน การตรวจเช็คหัวเทียน

5. ปลดปลั๊กหัวเทียนออกจากหัวเทียน 8. ถอดหัวเทียนออกด้วยประแจขันหัวเทียนที่มีให้
6. ทำ�ความสะอาดเอาสิ่งสกปรกออกจากรอบๆ ฐานหัว- หน้า 60
เทียน ใช้ประแจปากตายที่อยู่ในชุดเครื่องมือประจำ�รถเพื่อ
7. สอดประแจขันหัวเทียนเข้าไปในรูหัวเทียน ถอดหัวเทียนออก
ใส่ประแจขันหัวเทียนผ่านเข้าไปตรงช่องว่างของตัวถัง

การบำ�รุงรักษา
ประแจขันหัวเทียน

ปลั๊กหัวเทียน
รูหัวเทียน

ประแจปากตาย
ปลั๊กหัวเทียน 8x10 มม.
9. เช็คสภาพของเขี้ยวและขั้วแกนกลางว่ามีคราบเขม่า
ประแจขันหัวเทียน สะสมหรือสึกหรอหรือไม่
ถ้าสึกหรอหรืือมีคราบเขม่าสะสมมากควรเปลี่ยนหัว-
เทียนใหม่
ทำ�ความสะอาดเขม่าหรือสิ่งสกปรกโดยใช้ที่ล้างหัว-
เทียนหรือแปรงลวด
73
หัวเทียน การตรวจเช็คหัวเทียน

10. เช็คระยะห่างของเขี้ยวหัวเทียนโดยใช้ฟิลเลอร์เกจ 13. ขันหัวเทียน


ชนิดที่เป็นลวด • ถ้าหัวเทียนเก่าอยู่ในสภาพที่ดี
ถ้าจำ�เป็นจะต้องปรับตั้งให้ค่อยๆ ดัดเขี้ยวหัวเทียน ขันเข้าไป 1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
อย่างระมัดระวัง • ถ้าใช้หัวเทียนใหม่ ให้ขันหัวเทียน 2 ครั้งเพื่อป้องกัน
การบำ�รุงรักษา

ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน : 0.8 - 0.9 มิลลิเมตร (0.03 - 0.04 นิ้ว) การคลาย :


A) ในครั้งแรก ให้ขันหัวเทียน :
เขี้ยวหัวเทียน ​ NGK : 1/2 รอบ หลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
DENSO : 3/4 รอบ หลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
B) จากนั้นให้คลายหัวเทียนออก
ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน แหวนรองหัวเทียน C) ขันหัวเทียนอีกครั้ง :
1/8 รอบหลังจากหัวเทียนเข้าที่แล้ว
ข้อสังเกต
11. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแหวนรองหัวเทียนอยู่ในสภาพ การขันหัวเทียนอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสมอาจทำ�ให้้เครื่องยนต์
ที่ดี เสียหายได้ ถ้าหัวเทียนหลวมเกินไปลูกสูบอาจได้รับความ
12. ใส่หัวเทียนเข้ากับฝาสูบโดยใช้มือหมุนนำ�เข้าไป เสียหายได้ และถ้าหากหัวเทียนแน่นเกินไป เกลียวของหัวเทียน
ก่อนให้สุดเกลียวเพื่อป้องกันเกลียวหัวเทียนเสียหาย อาจได้รับความเสียหายได้

74
หัวเทียน การตรวจเช็คหัวเทียน

14. ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอน


การถอด
เมื่อประกอบปลั๊กหัวเทียนเข้ากับหัวเทียน ระวังอย่า
ทำ�ให้สายเคเบิลหรือสายไฟใดๆ บิดงอ

การบำ�รุงรักษา
75
น�้ำมันเครื่อง
การตรวจเช็คน�้ำมันเครื่อง ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด
1. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็น ขีดบอกระดับสูงสุด
เวลา 3-5 นาที
2. หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off) และรอ
การบำ�รุงรักษา

เป็นเวลา 2-3 นาที


3. ตั้งรถจักรยานยนต์ของท่านบนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและ ขีดบอกระดับต�่ำสุด
มีระดับเสมอกัน
4. ถอดฝาปิดช่องเติมน�ำ้ มันเครือ่ ง/ก้านวัดออก เช็ดน�ำ้ มัน
ออกจากก้านวัด
5. ใส่ฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่แต่
ยังไม่ต้องขันเกลียว
6. ตรวจสอบระดับน�ำ้ มันเครือ่ งว่าอยูร่ ะหว่างขีดบอกระดับ
สูงสุดและขีดบอกระดับต�่ำสุดบนฝาปิดช่องเติมน�้ำมัน-
เครื่อง/ก้านวัดหรือไม่
7. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้า
ที่เดิมให้แน่นหนา
76
น�้ำมันเครื่อง การเติมน�้ำมันเครื่อง

การเติมน�้ำมันเครื่อง ข้อสังเกต
การเติมน�้ำมันเครื่องจนล้นหรือติดเครื่องยนต์ในขณะที่มีน�้ำมัน
ถ้าหากระดับน�้ำมันเครื่องอยู่ต�่ำกว่าหรือใกล้ถึงขีดบอก เครื่องไม่เพียงพออาจท�ำให้เกิดความเสียหายแก่เครื่องยนต์ของ
ระดับต�่ำสุด ให้เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ หน้า 53,127 ท่านได้ อย่าน�ำน�้ำมันเครื่องต่างยี่ห้อและต่างเกรดมาผสมกัน
1. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดออก เติมน�้ำมัน เพราะอาจมีผลกระทบต่อการหล่อลื่นและการท�ำงานของคลัทช์ได้

การบำ�รุงรักษา
เครื่องที่แนะน�ำจนกระทั่งถึงขีดบอกระดับสูงสุด ส�ำหรับน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำและค�ำแนะน�ำในการ
ตั้งรถจักรยานยนต์บนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับ เลือกใช้น�้ำมันเครื่องให้ดูได้จาก “หลักการเบื้องต้นใน
เสมอกันเมื่อท�ำการตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่อง การบ�ำรุงรักษา” หน้า 49
อย่าเติมน�้ำมันเครื่องจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูงสุด
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่อง
เติมน�้ำมันเครื่อง
เช็ดน�้ำมันที่หกให้แห้งทันที
2. ประกอบฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัดกลับเข้าที่
เดิมให้แน่นหนา

77
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง
การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง แหวนรองกันรั่ว
การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่องจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือพิเศษ
ทางบริษัทขอแนะน�ำให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่าน
ไปเข้ารับบริการโดยศูนย์บริการฮอนด้า
การบำ�รุงรักษา

1. ถ้าเครื่องยนต์เย็น ปล่อยให้เครื่องยนต์เดินเบาเป็น
เวลา 3-5 นาที
โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมัน
2. หมุนสวิทช์จดุ ระเบิดไปทีต่ �ำ แหน่ง (Off) และรอ เครื่อง
เป็นเวลา 2-3 นาที 5. ถอดฝาปิดช่องเติมน�้ำมันเครื่อง/ก้านวัด โบ้ลท์ถ่าย
3. ตั้งรถจักรยานยนต์บนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับ น�้ำมันเครื่องและแหวนรองออกเพื่อที่จะถ่ายน�้ำมัน-
เสมอกัน เครื่อง
4. วางถาดรองรับน�้ำมันไว้ใต้โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง น�ำน�้ำมันเครื่องไปก�ำจัดที่ศูนย์รีไซเคิลที่ได้รับการ
รับรอง

78
น�้ำมันเครื่อง การเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง
6. ประกอบแหวนรองกันรัว่ อันใหม่เข้ากับโบ้ลท์ถา่ ยน�ำ้ มัน-
เครื่อง ขันโบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่องให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม,18 ฟุต-ปอนด์)

7. เติมน�้ำมันเครื่องที่แนะน�ำ (หน้า 53,126) และประกอบ

การบำ�รุงรักษา
ฝาปิดช่องเติมน�ำ้ มันเครือ่ ง/ก้านวัด
น�้ำมันเครื่องที่ก�ำหนด
เมื่อเปลี่ยนน�้ำมันเครื่อง : 1.3 ลิตร
8. ตรวจเช็คระดับน�้ำมันเครื่อง หน้า 76
9. ตรวจสอบดูว่าไม่มีน�้ำมันเครื่องรั่วซึม

79
น�้ำหล่อเย็น
การตรวจเช็คน�้ำหล่อเย็น ฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/
ก้านวัด
ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรองในขณะที่
เครื่องยนต์เย็น
ขีดบอกระดับ
1. ตั้งรถจักรยานยนต์บนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับ สูง
การบำ�รุงรักษา

เสมอกัน
2. จัดให้รถจักรยานยนต์อยู่ในตำ�แหน่งตั้งตรง
ขีดบอก
3. ถอดฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้านวัดออกมาและเช็ดให้สะอาด ระดับต�่ำ
4. ใส่ฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้านวัดกลับเข้าที่แต่ยังไม่ต้อง
ขันเกลียว
5. ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรองว่าอยู่ระ-
การเติมน�้ำหล่อเย็น
หว่างขีดบอกระดับสูง (UPPER) และขีดบอกระดับต�่ำ ถ้าหากระดับน�้ำหล่อเย็นอยู่ในระดับต�่ำกว่าขีดบอกระ-
(LOWER) บนก้านวัดหรือไม่ ดับต�่ำ (LOWER) ให้เติมน�้ำหล่อเย็นที่แนะน�ำ หน้า 56
จนระดับน�้ำหล่อเย็นถึงขีดบอกระดับสูง (UPPER)
ถ้าหากระดับน�้ำหล่อเย็นลดต�่ำลงอย่างเห็นได้ชัดหรือไม่มี เติมน�้ำหล่อเย็นเข้าทางฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้านวัด
น�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรอง เป็นไปได้ว่าท่านอาจจะมีปัญหา เท่านั้นและไม่ต้องถอดฝาปิดหม้อน�้ำออก
การรั่วซึมอย่างมากในระบบหล่อเย็น ดังนั้นขอให้ท่านน�ำรถจักร-
ยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการ
80
น�้ำหล่อเย็น การเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็น
1. ถอดฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้านวัดออกและเติมน�้ำหล่อ- ฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้าน
เย็นในขณะที่คอยสังเกตดูระดับน�้ำหล่อเย็นด้วย วัด
อย่าเติมน�้ำหล่อเย็นจนเกินกว่าขีดบอกระดับสูง
(UPPER)
ต้องแน่ใจว่าไม่มีสิ่งแปลกปลอมใดๆ เข้าไปในช่อง

การบำ�รุงรักษา
เติมน�้ำหล่อเย็นของถังน�้ำส�ำรอง
2. ประกอบฝาปิดถังน�้ำส�ำรอง/ก้านวัดกลับเข้าที่เดิมให้
แน่นหนา
คำ�เตือน การเปลี่ยนน�้ำหล่อเย็น
การถอดฝาปิดหม้อน�้ำในขณะที่เครื่องยนต์ก�ำลังร้อนอยู่
อาจเป็นเหตุให้ท่านได้รับอันตรายจากไอน�้ำที่พุ่งออกมา ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการ
เปลี่ยนน�้ำหล่อเย็นโดยศูนย์บริการฮอนด้า นอกเสียจาก
ปล่อยให้เครื่องยนต์และหม้อน�้ำเย็นลงเสมอก่อนการเปิด ท่านจะมีเครื่องมือที่เหมาะสมและมีฝีมือทางช่าง
ฝาปิดหม้อน�้ำ

81
เบรก
การตรวจเช็คน�้ำมันเบรก ถ้าหากระดับน�้ำมันเบรกในกระปุกน�้ำมันเบรกอันใดอัน
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ของท่านให้ตรงบนพื้นที่มั่นคงแข็ง- หนึ่งอยู่ในระดับต�่ำกว่าขีดบอกระดับต�่ำ (LWR หรือ LOWER)
แรงและมีระดับเสมอกัน หรือถ้าหากระยะฟรีของคันหน้าหรือคันเบรกหลังมาก
2. เบรกหน้า ตรวจเช็คว่ากระปุกน�้ำมันเบรกอยู่ในแนวขนาน เกินไป ให้ตรวจสอบการสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก ถ้าผ้าดิสก์-
การบำ�รุงรักษา

กับพื้นและระดับน�้ำมันเบรกอยู่เหนือต�ำแหน่งขีดบอกระ- เบรกยังไม่สึกหรอ เป็นไปได้มากที่สุดว่าท่านอาจจะ


ดับต�่ำ (LWR) หรือไม่ ก�ำลังมีปัญหาการรั่วซึมในระบบเบรก ดังนั้นขอให้ท่าน
เบรกหลัง ตรวจเช็คว่ากระปุกน�้ำมันเบรกอยู่ในแนวขนาน น�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับการตรวจเช็คโดยศูนย์
กับพื้นและระดับน�้ำมันเบรกอยู่ระหว่างต�ำแหน่งขีดบอก- บริการฮอนด้า
ระดับต�่ำ (LOWER) และขีดบอกระดับสูง (UPPER)หรือไม่
เบรกหน้า เบรกหลัง กระปุกน�้ำมันเบรกหลัง
กระปุกน�้ำมันเบรกหน้า

ขีดบอกระดับสูง (UPPER)

ขีดบอกระดับต�่ำ (LWR) ขีดบอกระดับต�่ำ (LOWER)

82
เบรก การตรวจสอบผ้าดิสก์เบรก

การตรวจสอบผ้าดิสก์เบรก เบรกหน้า เบรกหลัง

ตรวจเช็คสภาพของร่องแสดงการสึกหรอของผ้าดิสก์เบรก ผ้าดิสก์เบรก ผ้าดิสก์เบรก


เบรกหน้า ท่านจำ�เป็นต้องเปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่ ถ้า
หากผ้าดิสก์เบรกสึกหรอจนถึงส่วนล่างของร่องแสดง

การบำ�รุงรักษา
การสึกหรอ
เบรกหลัง ท่านจำ�เป็นต้องเปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่ ถ้า
หากผ้าดิสก์เบรกสึกหรอจนถึงร่องแสดงการสึกหรอ
1. เบรกหน้า ตรวจเช็คผ้าดิสก์เบรกจากด้านหน้าของ
คาร์ลิปเปอร์เบรก จานดิสก์เบรก
2. เบรกหลัง ตรวจเช็คผ้าดิสก์เบรกจากด้านหลังทางขวา จานดิสก์เบรก ร่องแสดงการสึกหรอ
ของรถจักรยานยนต์ ร่องแสดงการสึกหรอของ ของผ้าดิสก์เบรก ร่องแสดงการสึกหรอของ
ผ้าดิสก์เบรก ผ้าดิสก์เบรก
ถ้าจำ�เป็น ขอให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ไปเข้ารับบริการ
เปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า

เปลี่ยนผ้าดิสก์เบรกทั้งด้านขวาและด้านซ้ายใหม่พร้อมๆ
กันเสมอ
83
เบรก การปรับตั้งสวิทช์ไฟเบรก

การปรับตั้งสวิทช์ไฟเบรก
เช็คการทำ�งานของสวิทช์ไฟเบรก สวิทช์ไฟเบรก
จับสวิทช์ไฟเบรกไว้และหมุนน๊อตปรับตั้งตามทิศทาง
การหมุน A ถ้าสวิทช์ทำ�งานช้าเกินไป หรือหมุนน๊อตปรับ
การบำ�รุงรักษา

ตั้งตามทิศทางการหมุน B ถ้าสวิทช์ทำ�งานเร็วเกินไป

น๊อตปรับตั้ง

84
ขาตั้งข้าง
การตรวจเช็คขาตั้งข้าง

การบำ�รุงรักษา
สปริงขาตั้งข้าง
1. ตรวจเช็คว่าขาตั้งข้างทำ�งานได้อย่างราบรื่นหรือไม่ ถ้า
ขาตัง้ ข้างฝืดหรือมีเสียงดัง ให้ท�ำ ความสะอาดบริเวณ
จุดหมุนขาตัง้ ข้าง และหล่อลืน่ โบ้ลท์ยดึ จุดหมุนด้วย
จาระบีทส่ี ะอาด
2. เช็คความเสียหายหรือการเสียความยืดหยุน่ ของสปริง
ขาตั้งข้าง

85
โซ่ขับเคลื่อน
การตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
เช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนหลายๆ จุดตลอดแนวโซ่
ถ้าโซ่มีความตึงหย่อนไม่สม�่ำเสมอในทุกจุด ข้อต่อโซ่บางข้อ
อาจติดขัดและบิดงอ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของ
การบำ�รุงรักษา

ท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโซ่ขับเคลื่อนโดยศูนย์
บริการฮอนด้า
1. เข้าเกียร์วา่ ง ดับเครือ่ งยนต์
2. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งข้างบนพื้นที่มั่นคงแข็ง-
แรงและมีระดับเสมอกัน 4. หมุนล้อหลังไปข้างหน้าและตรวจสอบว่าโซ่ขับเคลื่อน
3. เช็คความตึงหย่อนของโซ่ขบั เคลือ่ นบริเวณครึง่ ล่าง หมุนได้อย่างราบรื่นหรือไม่
ของโซ่ทจี่ ดุ กึง่ กลางระหว่างสเตอร์หน้าและสเตอร์หลัง 5. ตรวจสอบสเตอร์หน้าและสเตอร์หลัง หน้า 55
ความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน : 6. ท�ำความสะอาดและหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน หน้า 55
30 - 40 มม. (1.2 - 1.6 นิ้ว)
อย่าขับขี่รถจักรยานยนต์ของท่านถ้าความตึงหย่อน
ของโซ่มากกว่า 50 มม.(2.0 นิ้ว)

86
โซ่ขับเคลื่อน การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน

การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน CBF150NA เท่านั้น


วงแหวนพัลซ์เซอร์ CBF150NA เท่านั้น
การปรับตัง้ ความตึงหย่อนของโซ่ขบั เคลือ่ นจำ�เป็นต้อง ตัวตรวจจับความ
ใช้เครือ่ งมือพิเศษ ขอแนะนำ�ให้ทา่ นนำ�รถจักรยานยนต์ เร็วของล้อ
ของท่านไปเข้ารับบริการปรับตัง้ ความตึงหย่อนของโซ่ขบั - น๊อตปรับตั้ง

การบำ�รุงรักษา
เคลือ่ นโดยศูนย์บริการฮอนด้า
น๊อตยึดเพลาล้อหลัง
CBF150NA เท่านั้น
น๊อตล๊อค
เมื่อทำ�การปรับตัั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนควร
ควรระมัดระวังอย่าทำ�ให้เกิดความเสียหายแก่ตัวตรวจ-
จับความเร็วของล้อและวงแหวนพัลซ์เซอร์ มาร์คปรับตั้ง

1. เข้าเกียร์วา่ ง ดับเครือ่ งยนต์


2. ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งข้างบนพื้นที่มั่นคงแข็ง-
แรงและมีระดับเสมอกัน ขอบหลังของช่อง
3. คลายน๊อตยึดเพลาล้อหลังออก ปรับตั้ง
4. คลายน๊อตล๊อคที่อยู่บนสวิงอาร์มทั้งสองด้านออก
น๊อตปรับตั้ง น๊อตล๊อค

87
โซ่ขับเคลื่อน การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน
5. หมุนน๊อตปรับตัง้ ทัง้ สองข้างให้ได้จ�ำ นวนรอบทีเ่ ท่า 8. ค่อยๆ ขันน๊อตปรับตั้งโซ่ขับเคลื่อนเบาๆ จากนั้นยึดน๊อต-
กันจนกว่าจะได้ความตึงหย่อนของโซ่ที่เหมาะสม ปรับตั้งไว้และขันน๊อตล๊อคให้แน่น
หมุนน๊อตปรับตั้งตามเข็มนาฬิกาเพื่อทำ�ให้โซ่ตึง 9. ตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่อีกครั้ง
หมุนน๊อตปรับตั้งทวนเข็มนาฬิกาเพื่อทำ�ให้โซ่หย่อน
ปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อนที่จุดกึ่งกลาง ถ้าไม่ได้ใช้ประแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้า
การบำ�รุงรักษา

ระหว่างสเตอร์หน้าและสเตอร์หลัง ศูนย์บริการฮอนด้าทันทีทเ่ี ป็นไปได้เพือ่ ตรวจเช็คอัตรา


ตรวจเช็คความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน หน้า 86 การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ การ
6. ตรวจศูนย์ของเพลาล้อหลังโดยเช็คให้มน่ั ใจว่ามาร์ค ประกอบทีไ่ ม่ถกู ต้องอาจทำ�ให้สญ ู เสียประสิทธิภาพ
ปรับตัง้ ตรงกับขอบหลังของช่องปรับตัง้ ทัง้ ด้านซ้าย ในการเบรกได้
และด้านขวาควรจะตรงกัน ถ้าเพลาไม่ได้ศูนย์ให้
หมุนน๊อตปรับตั้งด้านซ้ายหรือด้านขวาจนกว่า
มาร์คปรับตั้งจะตรงกับขอบหลังของช่องปรับตั้ง
และเช็คความตึงหย่อนของโซ่อีกครั้ง
7. ขันน๊อตยึดเพลาล้อหลังให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 88 นิวตัน-เมตร (9.0 กก.-ม, 65 ฟุต-ปอนด์)

88
โซ่ขับเคลื่อน การปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน

การตรวจสอบความสึกหรอของโซ่ขับเคลื่อน
ถ้าความตึงหย่อนของโซ่ขบั เคลือ่ นมากเกินปกติ เมือ่
เพลาล้อหลังเลื่อนไปจนสุดระยะการปรับตั้งแล้วแสดง
ว่าโซ่สึกหรอมากและต้องเปลี่ยนใหม่

การบำ�รุงรักษา
โซ่ที่แนะนำ� :
DID 428HDS3

ถ้าจำ�เป็น ขอให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับ
บริการเปลี่ยนโซ่ขับเคลื่อนใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า

89
คลัทช์
การตรวจเช็คคลัทช์ เช็คการติดขัดหรือสึกหรอของสายคลัทช์ ถ้าจ�ำเป็นขอให้
การตรวจเช็คระยะฟรีคันคลัทช์ ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการเปลีย่ น
ตรวจเช็คระยะฟรีคันคลัทช์ สายคลัทช์ใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้า
หล่อลืน่ สายคลัทช์ดว้ ยสารหล่อลืน่ สายเคเบิลซึง่ สามารถ
ระยะฟรีที่คันคลัทช์ :
หาซือ้ ได้ทวั่ ไปเพือ่ ป้องกันการสึกหรอก่อนก�ำหนดและ
การบำ�รุงรักษา

10-20 มม. (0.4-0.8 นิ้ว)


การเกิดสนิม
คันคลัทช์ ข้อสังเกต
การปรับตั้งระยะฟรีคันคลัทช์ที่ไม่เหมาะสมอาจเป็นสาเหตุให้
คลัทช์สึกหรอก่อนกำ�หนดได้

ระยะฟรี

90
คลัทช์ การปรับตั้งระยะฟรีคันคลัชท์

การปรับตั้งระยะฟรีคันคลัทช์ ตัวปรับตั้งสายคลัทช์ตัวบน
น๊อตล๊อคตัวบน
การปรับตั้งด้านบน
ขอให้ท่านทดลองทำ�การปรับตั้งด้วยตัวปรับตั้งสายคลัชท์
ตัวบนก่อน

การบำ�รุงรักษา
1. ดึงฝาครอบกันฝุ่นออก
2. คลายน๊อตล๊อคตัวบน
3. หมุนตัวปรับตั้งสายคลัชท์ตัวบนจนกระทั่งระยะฟรี ฝาครอบกันฝุ่น
คันคลัทช์มีค่าอยู่ระหว่าง 10 - 20 มม. (0.4 - 0.8 นิ้ว)
4. ขันน๊อตล๊อคตัวบนให้แน่นและเช็คระยะฟรีคันคลัทช์
อีกครั้ง
5. ประกอบฝาครอบกันฝุ่น

91
คลัทช์ การปรับตั้งระยะฟรีคันคลัชท์
การปรับตั้งด้านล่าง น๊อตปรับตั้งตัวล่าง
ถ้าตัวปรับตั้งสายคลัทช์ตัวบนออกนอกขอบเข้าใกล้ขีด
จำ�กัดของการปรับตั้งหรือไม่สามารถปรับตั้งระยะฟรีได้
โดยปรับตัวปรับตั้งสายคลัทช์ ขอให้ท่านทดลองทำ�การ
ปรับตั้งด้วยน๊อตปรับตั้งตัวล่าง
การบำ�รุงรักษา

1. คลายน๊อตล๊อคตัวบนและหมุนตัวปรับตั้งสายคลัทช์
ตัวบนเข้าไปให้สุด (เพื่อทำ�ให้มีระยะฟรีสูงสุด) จากนั้น
ขันน๊อตล๊อคตัวบนให้แน่น น๊อตล๊อคตัวล่าง
2. คลายน๊อตล๊อคตัวล่าง หากท่านปรับตั้งด้วยวิธีดังกล่าวแล้วไม่ได้ผลหรือคลัทช์
3. หมุนน๊อตปรับตัง้ ตัวล่างจนกระทัง่ ระยะฟรีคนั คลัทช์มี ทำ�งานผิดปกติ ขอให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ไปเข้ารับ
ค่าอยู่ระหว่าง 10-20 มม. (0.4-0.8 นิ้ว) บริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
4. ขันน๊อตล๊อคตัวล่างให้แน่นและตรวจเช็คระยะฟรีคันคลัทช์
5. สตาร์ทเครื่องยนต์ บีบคันคลัทช์และลองเข้าเกียร์
ดู ต้องแน่ใจว่าเครื่องยนต์ไม่สะดุดดับ และรถจักรยาน-
ยนต์ไม่เคลื่อนที่ ค่อยๆ ปล่อยคันคลัทช์ออกและ
บิดคันเร่ง รถจักรยานยนต์ของท่านควรจะวิง่ ได้อย่าง
ราบรืน่ และค่อยๆ เร่งความเร็วขึน้ ทีละน้อย
92
คันเร่ง
การตรวจเช็คคันเร่ง
ในขณะที่ดับเครื่องยนต์ ตรวจสอบว่าปลอกคันเร่งหมุน
ได้อย่างราบรื่นจากตำ�แหน่งปิดสุดถึงตำ�แหน่งเปิดสุด
และในทุกตำ�แหน่งการเลีย้ ว รวมทัง้ ระยะฟรีคนั เร่งมีคา่

การบำ�รุงรักษา
ถูกต้องหรือไม่ ถ้าคันเร่งหมุนไม่คล่องตัว ไม่คืนกลับโดย
อัตโนมัติ หรือถ้าสายคันเร่งเสียหาย ขอให้ท่านนำ�รถ-
จักรยานยนต์ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการ
ฮอนด้า
ระยะฟรีที่ริมขอบของปลอกคันเร่ง
2 - 6 มม. (0.1 - 0.2 นิ้ว)

ระยะฟรี
ริมขอบของปลอก
คันเร่ง

93
ท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
การท�ำความสะอาดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ
1. วางภาชนะที่เหมาะสมไว้ใต้ท่อระบายเรือนไส้กรอง-
อากาศ
2. ถอดจุกปิดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศออกจาก
การบำ�รุงรักษา

ท่อระบาย
3. เทเขม่าสะสมลงในภาชนะที่เหมาะสม
4. ประกอบจุกปิดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ

จุกปิดท่อระบายเรือนไส้กรองอากาศ

94
การปรับตั้งอื่นๆ
การปรับตั้งระดับไฟหน้า
ท่านสามารถปรับตั้งระดับไฟหน้าในแนวดิ่งเพื่อให้ไฟ
หน้าอยู่ในระดับที่เหมาะสม หมุนเฟืองปรับตั้งไฟหน้า
โดยใช้ไขควงแฉกเข้าหรือออกถ้าจำ�เป็น

การบำ�รุงรักษา
ปฏิบัติตามกฎหมายและกฏข้อบังคับที่กำ�หนด

เฟืองปรับตั้ง
ไฟหน้า

ลดต�่ำลง ยกสูงขึ้น

95
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด……....................................หน้า 97 ปัญหาระบบไฟฟ้า..................................................หน้า 109


เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป...............................หน้า 98 แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ...............................................หน้า 109
(สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด) หลอดไฟขาด............................................................หน้า 109
สัญญาณไฟเตือนต่างๆติดหรือกะพริบ.....................หน้า 99 ฟิวส์ขาด..................................................................หน้า 112
สัญญาณไฟ PGM-FI...............................................หน้า 99 การท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ไม่สม�่ำเสมอเกิดขึ้น
สัญญาณไฟเตือนระบบ ABS......................................หน้า 100 เป็นครั้งคราว..........................................................หน้า 113
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น.......................................หน้า 101
สัญญาณไฟเตือนถึงความผิดปกติของเกจวัดระดับ
น�้ำมันเชื้อเพลิง..........................................................หน้า 101
ยางรั่ว......................................................................หน้่า 102
เครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด
มอเตอร์สตาร์ทท�ำงานแต่เครื่องยนต์ มอเตอร์สตาร์ทไม่ท�ำงาน
สตาร์ทไม่ติด ตรวจเช็ครายการต่อไปนี้ :
ตรวจเช็ครายการต่อไปนี้ : • ตรวจเช็คขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ว่าถูกต้องหรือ
• ตรวจเช็คขั้นตอนการสตาร์ทเครื่องยนต์ว่าถูกต้องหรือ ไม่ หน้า 53
ไม่ หน้า 39 • ต้องแน่ใจว่าสวิทช์ดับเครื่องยนต์อยู่ในตำ�แหน่ง (Run)
• ตรวจเช็คว่ามีน�้ำมันเชื้อเพลิงอยู่ในถังน�้ำมันเชื้อเพลิง หน้า 36

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
หรือไม่ • ตรวจเช็คว่าฟิวส์ขาดหรือไม่ หน้า 112
• ตรวจเช็คว่าสัญญาณไฟ PGM-FI ติดหรือไม่ • ตรวจเช็คว่าการเชื่อมต่อแบตเตอรี่หลวม หน้า 61
ถ้าสัญญาณไฟติด ขอให้ติดต่อศูนย์บริการฮอนด้า หรือเกิดสนิมที่ขั้วแบตเตอรี่หรือไม่ หน้า 51
ทันทีที่เป็นไปได้ • ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่ หน้า 109
ถ้าปัญหายังคงมีอยู่ ขอให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ของ
ท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า

97
เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไป (สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติด)
เครือ่ งยนต์มคี วามร้อนสูงเกินไปเมือ่ สิง่ ต่อไปนีป้ รากฎขึน้ : ถ้าพัดลมระบายความร้อนไม่ได้ท�ำงานอยู่ :
• สัญญาณไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูง ถ้าสงสัยว่ามีความผิดปกติเกิดขึ้น อย่าสตาร์ทเครื่องยนต์
ขอให้บรรทุกหรือขนย้ายรถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับ
• อัตราเร่งอืด
บริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
ถ้าหากสิ่งเหล่านี้ปรากฎขึ้น ขอให้ท่านเข็นหรือจูงรถเข้า
ถ้าพัดลมระบายความร้อนท�ำงานอยู่ :
ข้างทางอย่างปลอดภัยและปฏิบัติตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ ปล่อยให้เครื่องยนต์เย็นลงในขณะที่สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่
การเดินเบารอบสูงเป็นเวลานานอาจท�ำให้สัญญาณไฟ
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ตำ�แหน่ง (Off)
เตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นสูงติดได้ 3. หลังจากเครื่องยนต์เย็นลงแล้ว ให้ตรวจสอบท่อน�้ำและ
ข้อสังเกต ตรวจเช็คดูด้วยว่ามีรูรั่วซึมหรือไม่ หน้า 80
การขับขี่รถต่อไปในขณะที่เครื่องยนต์มีความร้อนสูงเกินไปอาจ ถ้ามีรูรั่วซึม
ทำ�ให้เกิดความเสียหายร้ายแรงกับเครื่องยนต์ได้ อย่าสตาร์ทเครื่องยนต์ ขอให้บรรทุกหรือขนย้ายรถจักรยาน-
ยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการฮอนด้า
1. ดับเครื่องยนต์โดยใช้สวิทช์จุดระเบิด และจากนั้นหมุน
สวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (On) 4. ตรวจเช็คระดับน�้ำหล่อเย็นในถังน�้ำส�ำรอง หน้า 80
2. ตรวจเช็คว่าพัดลมระบายความร้อนท�ำงานอยู่หรือไม่และ เติมน�้ำหล่อเย็นถ้าจ�ำเป็น
จากนัน้ หมุนสวิทช์จดุ ระเบิดไปทีต่ �ำแหน่ง (Off) 5. ถ้าท�ำการตรวจเช็คตามข้อที่ 1-4 แล้วพบว่าเป็นปกติ
ท่านสามารถจะขับขี่ต่อไปได้แต่ต้องคอยสังเกตดูสัญญาณ
ไฟเตือนอุณหภูมิน�้ำหล่อเย็นอย่างใกล้ชิดด้วย

98
สัญญาณไฟเตือนต่างๆ ติดหรือกะพริบ
สัญญาณไฟ PGM-FI
ถ้าสัญญาณไฟติดขึ้นในขณะขับขี่ ท่านอาจมีปัญหา
ร้ายแรงเกีย่ วกับระบบ PGM-FI ดังนัน้ ขอให้ลดความเร็ว
ลงและนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการ
ตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
99
สัญญาณไฟเตือนต่างๆติดหรือกะพริบ สัญญาณไฟเตือนระบบ ABS

สัญญาณไฟเตือนระบบ ABS ถ้าสัญญาณไฟเตือนระบบ ABS ติดค้าง เบรกของท่าน


จะยังคงทำ�งานต่อไปด้วยระบบเบรกแบบธรรมดา แต่
CBF150NA เท่านั้น
ถ้าสัญญาณไฟเตือนระบบ ABS ติดในรูปแบบใดรูปแบบ จะไม่ได้ทำ�หน้าที่ในการป้องกันล้อไม่ให้เกิดการล๊อคตัว
หนึ่งดังต่อไปนี้ ท่านอาจมีปัญหาร้ายแรงเกี่ยวกับระบบ เพราะระบบ ABS ไม่ทำ�งาน
ABS ขอให้ลดความเร็วลงและนำ�รถจักรยานยนต์ของท่าน
ไปเข้ารับบริการตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่ สัญญาณไฟเตือนระบบ ABS อาจจะกะพริบขึน้ ถ้าหาก
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

เป็นไปได้ ท่านหมุนล้อหลังในขณะที่รถจักรยานยนต์ของท่านถูกยก
ขึ้นจากพื้น ในกรณีนี้ให้หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปทีต่ �ำ แหน่ง
(Off) และหลังจากนัน้ หมุนไปที่ตำ�แหน่ง (On) อีกครั้ง
• สัญญาณไฟติดหรือเริ่มต้นกะพริบในขณะขับขี่ สัญญาณไฟเตือนระบบ ABS จะดับหลังจากที่ความเร็ว
• สัญญาณไฟไม่ติดเมื่อสวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง รถของท่านมาถึง 30 กิโลเมตร/ชั่วโมง (19 ไมล์/ชั่วโมง)
(On)
• สัญญาณไฟไม่ดับลงที่ความเร็วเกินกว่า 10 กิโลเมตร/
ชั่วโมง (6 ไมล์/ชั่วโมง)

100
สัญญาณไฟเตือนแบบอื่น
สัญญาณไฟเตือนถึงความผิดปกติของเกจ
วัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิง
ถ้าระบบน�้ำมันเชื้อเพลิงมีความผิดปกติเกิดขึ้น สัญญาณ
ไฟของเกจวัดระดับน�้ำมันเชื้อเพลิงจะปรากฏขึ้นดัง
แสดงในภาพประกอบ
ถ้าหากเกิดกรณีดังกล่าวเหล่านี้ กรุณานำ�รถจักรยาน-

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
ยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการตรวจเช็คที่ศูนย์บริการ
ฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้

101
ยางรั่ว
การซ่อมรูรั่วของยางหรือการถอดล้อจำ�เป็นต้องใช้เครื่อง- รับบริการเปลี่ยนยางใหม่โดยศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็น
มือพิเศษและมีความชำ�นาญด้่านเทคนิคด้วย ทางบริษัทฯ ไปได้
ขอแนะนำ�ให้ท่านนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริ- คำ�เตือน
การดังกล่าวโดยศูนย์บริการฮอนด้า หลังจากการซ่อมแซม
การขับขี่รถจักรยานยนต์โดยที่ยางได้รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราว
ในกรณีฉุกเฉินแล้ว ท่านควรจะนำ�รถจักรยานยนต์ของท่าน
นั้นมีความเสี่ยงสูงมากที่จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุ และถ้าหาก
ไปเข้ารับบริการตรวจสอบยาง/เปลี่ยนยางใหม่โดยศูนย์บริ-
การซ่อมแซมชั่วคราวนั้นไม่ได้ผลอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

การฮอนด้าเสมอ
เช่น การชนหรือรถล้ม ซึ่งท่านอาจได้รับบาดเจ็บสาหัสหรือ
การซ่อมแซมในกรณีฉุกเฉินโดยใช้ชุดเครื่องมือ ถึงแก่ชีวิตได้
ในการซ่อมแซมยาง
ถ้ายางของท่านมีรูรั่วเล็กน้อย ท่านสามารถที่จะซ่อมแซมยาง ถ้าท่านต้องขับขี่รถโดยที่ยางได้รับการซ่อมแซมไว้ชั่วคราว
ในกรณีฉุกเฉินได้โดยชุดใช้ชุดเครื่องมือในการซ่อมแซมยาง ท่านควรจะขับขี่อย่างช้าๆ และด้วยความระมัดระวัง และอย่าขับขี่
สำ�หรับยางชนิดไม่มียางใน
ด้วยความเร็วเกินกว่า 50 กิโลเมตร/ชัว่ โมง (30 ไมล์/ชัว่ โมง)
ขอให้ท่านปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ที่มีมากับชุดเครื่องมือในการ
จนกว่าท่านจะได้เปลี่ยนยางเส้นใหม่เรียบร้อยแล้ว
ซ่อมแซมยางฉุกเฉิน การขับขี่รถจักรยานยนต์โดยทีย่ างได้รบั
การซ่อมแซมชัว่ คราวนัน้ มีความเสีย่ งสูงมากที่จะก่อให้เกิด การถอดล้อ
อุบัติเหตุ อย่าขับขี่ด้วยความเร็วเกินกว่า 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง ปฏิบัติตามขั้นตอนเหล่านี้ถ้าท่านจำ�เป็นต้องถอดล้อออกเพื่อ
(30 ไมล์/ชั่วโมง) ขอให้ทา่ นนำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้า ที่จะซ่อมรูรั่วของยาง

102
ยางรั่ว การถอดล้อ
CBF150NA เท่านั้น เทปหรือผ้า CBF150NA เท่านั้น
เมื่อทำ�การถอดและประกอบล้อ ควรระมัดระวังอย่าทำ�ให้ วงแหวนพัลซ์เซอร์
เกิดความเสียหายแก่ตัวตรวจจับความเร็วของล้อและ
ปลอกรองข้าง
วงแหวนพัลซ์เซอร์
ล้อหน้า
การถอด
โบ้ลท์ยึดเพลา

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
1. ตั้งรถจักรยานยนต์บนพื้นที่มั่นคงแข็งแรงและมีระดับ CBF150NA เท่านั้น ล้อหน้า
เสมอกัน ตัวตรวจจับความ
เร็วของล้อ น๊อตยึดเพลาล้อหน้า
2. ปิดเทปหรือผ้าที่ด้านขวาของล้อหน้าและคาร์ลิปเปอร์
เบรกเพื่อป้องกันรอยขีดข่วน
3. คลายน๊อตยึดเพลาล้อหน้า
4. คลายโบ้ลท์ยึดเพลาล้อหน้าทั้งสองข้าง
5. ตั้งรถจักรยานยนต์ให้มั่นคงและยกล้อหน้าให้ลอยขึ้น
จากพื้นโดยใช้ขาตั้งที่ใช้ในงานบริการหรือแม่แรง

103
ยางรั่ว การถอดล้อ

6. ถอดน๊อตยึดเพลาล้อหน้า เพลาล้อหน้า ล้อหน้า และ การประกอบ


ปลอกรองข้างล้อหน้าออก 1. ประกอบปลอกรองข้างล้อหน้าเข้ากับล้อหน้า
หลีกเลี่ยงอย่าให้มีจาระบี น�้ำมัน หรือสิ่งสกปรกติด 2. ทางด้านซ้าย วางล้อหน้าเข้าไปอยู่ระหว่างแกนโช๊คอัพ
อยู่บนผิวหน้าของจานดิสก์เบรกหรือผ้าดิสก์เบรก ทั้งสองด้านและสอดเพลาล้อหน้าเข้าไปจนสุดโดยให้
ห้ามบีบคันเบรกหน้าในระหว่างที่ได้ถอดล้อออกแล้ว ผ่านแกนโช๊คอัพด้านซ้ายและดุมล้อ
ปลอกรองข้าง ข้อสังเกต
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

เมื่อประกอบล้อหรือคาร์ลิปเปอร์เบรกกลับคืนตำ�แหน่ง ให้สอด
จานดิสก์เบรกเข้าไประหว่างผ้าดิสก์เบรกทั้งคู่อย่างระมัดระวัง
เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนดังกล่่าว
3. ขันน๊อตยึดเพลาล้อหน้าให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 59 นิวตัน-เมตร (6.0 กก.-ม, 44 ฟุต-ปอนด์)
4. ขันโบ้ลท์ยึดเพลาล้อหน้าทั้งสองข้างให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 24 นิวตัน-เมตร (2.4 กก.-ม, 18 ฟุต-ปอนด์)
โบ้ลท์ยึดเพลา เพลาล้อหน้า
ล้อหน้า

104
ยางรั่ว การถอดล้อ
5. หลังการประกอบล้อแล้ว บีบคันเบรกหน้าหลายๆ ครั้ง
จากนั้นเช็คการหมุนฟรีของล้อ ตรวจเช็คอีกครั้งถ้า
เบรกลื่นหรือล้อไม่หมุนฟรี
6. เอาเทปป้องกันรอยขีดข่วนหรือผ้าออก
ถ้าไม่ได้ใช้ประแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้า
ศูนย์บริการฮอนด้าทันทีที่เป็นไปได้เพื่อตรวจเช็คอัตรา

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ
การประกอบที่ไม่ถูกต้องอาจทำ�ให้สูญเสียประสิทธิภาพ
ในการเบรกได้

105
ยางรั่ว การถอดล้อ

ล้อหลัง 4. ถอดโซ่ขับเคลื่อนออกจากสเตอร์หลังโดยการดันล้อ-
การถอด หลังไปข้างหน้า
1. ตั้งรถจักรยานยนต์ให้มั่นคงและยกล้อหลังให้ลอยขึ้น
จากพื้นโดยใช้ขาตั้งที่ใช้ในงานบริการหรือแม่แรง เพลาล้อ
หลัง โซ่ขับเคลื่อน
2. คลายน๊อตยึดเพลาล้อหลัง น๊อตล๊อค และหมุนน๊อต
ปรับตั้งเพื่อว่าล้อหลังจะสามารถเคลื่อนไปข้างหน้าจน
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

สุดเพื่อให้โซ่ขับเคลื่อนหย่อนมากที่สุด
น๊อตล๊อค
3. ถอดน๊อตยึดเพลาล้อหลังและแหวนรองเพลาออก
CBF150NA เท่านั้น CBF150NA เท่านั้น
วงแหวนพัลซ์เซอร์ ตัวตรวจจับความ
เร็วของล้อ แหวนรองเพลา น๊อตปรับตั้ง

น๊อตปรับตั้ง

น๊อตยึดเพลาล้อหลัง
น๊อตล๊อค แหวนรองเพลา

106
ยางรั่ว การถอดล้อ
5. ถอดเพลาล้อหลัง ปลอกรองข้างล้อหลัง แหวนรองเพลา การประกอบ
และล้อหลังออก 1. การประกอบล้อหลังให้ทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการถอด
ยึดชุดคาร์ลิปเปอร์เบรกไว้เพื่อไม่ให้ห้อยอยู่กับท่อ ขอให้ใช้ความระมัดระวัง เพื่อป้องกันไม่ให้คาร์ลิป-
น�้ำมันเบรก ระวังอย่าท�ำให้ท่อน�้ำมันเบรกบิดเป็น เปอร์เบรกไปขีดข่วนล้อในระหว่างการประกอบ
เกลียว
หลีกเลี่ยงอย่าให้มีจาระบี น�้ำมัน หรือสิ่งสกปรกติด ข้อสังเกต

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
อยู่บนผิวหน้าของจานดิสก์เบรกหรือผ้าดิสก์เบรก เมื่อประกอบล้อหรือคาร์ลิปเปอร์เบรกกลับคืนตำ�แหน่ง ให้สอด
ห้ามกดคันเบรกหลังในระหว่างที่ได้ถอดคาร์ลิปเปอร์ จานดิสก์เบรกเข้าไประหว่างผ้าดิสก์เบรกทั้งคู่อย่างระมัดระวังเพื่อ
เบรกออกแล้ว หลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนดังกล่าว

107
ยางรั่ว การถอดล้อ
2. ต้องแน่ใจว่าเดือยล๊อคบนขายึดคาร์ลิปเปอร์เบรก 3. ปรับตั้งความตึงหย่อนของโซ่ขับเคลื่อน หน้า 87
ประกอบเข้ากับร่องบนสวิงอาร์มพอดี 4. ประกอบและขันน๊อตยึดเพลาล้อหลังให้แน่น
อัตราการขันแน่น : 88 นิวตัน-เมตร (9.0 กก.-ม, 65 ฟุต-ปอนด์)
ขายึดคาร์ลิปเปอร์เบรก
5. ค่อยๆ ขันน๊อตปรับตั้งโซ่ขับเคลื่อนเบาๆ จากนั้นยึดน๊อต
ปรับตั้งไว้และขันน๊อตล๊อคให้แน่น
6. หลังการประกอบล้อ ให้กดคันเบรกหลังลงหลายๆ
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ครั้ง จากนั้นเช็็คการหมุนฟรีของล้อเมื่อปล่อยคันเบรก
หลัง ตรวจเช็คล้ออีกครั้งถ้าเบรกลื่นหรือล้อไม่หมุนฟรี
เดือยล๊อค ร่อง
สวิงอาร์ม ถ้าไม่ได้ใช้ประแจปอนด์ในการประกอบ ควรนำ�รถเข้า
ศูนย์บริการฮอนด้าทันทีทเ่ี ป็นไปได้เพือ่ ตรวจเช็คอัตรา
การขันแน่นและความถูกต้องของการประกอบ
การประกอบทีไ่ ม่ถกู ต้องอาจทำ�ให้สญ
ู เสียประสิทธิภาพ
ในการเบรกได้

108
ปัญหาระบบไฟฟ้า
แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ หลอดไฟขาด
ชาร์จแบตเตอรี่โดยใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่สำ�หรับรถ- หลอดไฟทั้งหมดของรถจักรยานยนต์รุ่นนี้เป็นหลอด LED
จักรยานยนต์ ถ้ามีหลอด LED หลอดใดหลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่าน
ถอดแบตเตอรี่ออกจากรถจักรยานยนต์ก่อนชาร์จแบต- นำ�รถจักรยานยนต์ไปเข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า
เตอรี่
ห้ามใช้เครื่องชาร์จแบตเตอรี่รถยนต์ เนื่องจากจะทำ�ให้

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
เกิดความร้อนสูงเกินไปในแบตเตอรี่สำ�หรับรถจักรยาน-
ยนต์และอาจทำ�ให้แบตเตอรี่เกิดความเสียหายถาวร
ได้ ถ้าแบตเตอรี่ไม่สามารถฟื้นฟูสภาพให้นำ�กลับมาใช้
งานได้หลังจากการชาร์จแบตเตอรี่ โปรดติดต่อศูนย์
บริการฮอนด้า
ข้อสังเกต
ไม่แนะนำ�ให้ใช้วิธีการพ่วงสตาร์ทโดยใช้แบตเตอรี่สำ�หรับรถยนต์
เนื่องจากอาจทำ�ให้เกิดความเสียหายกับระบบไฟฟ้าในรถจักร-
ยานยนต์ของท่านได้

109
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด

ไฟหน้า ไฟเบรก/ไฟท้าย
ไฟเบรก/ไฟท้าย
ไฟหน้า
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ไฟหน้าใช้หลอด LED หลายหลอด


ไฟเบรกและไฟท้ายใช้หลอด LED หลายหลอด
ถ้ามีหลอด LED หลอดใดหลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่าน
ถ้ามีหลอด LED หลอดใดหลอดหนึ่งไม่ติด ขอให้ท่าน
นำ�รถไปเข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า
นำ�รถไปเข้ารับบริการที่ศูนย์บริการฮอนด้า

110
ปัญหาระบบไฟฟ้า หลอดไฟขาด
ไฟเลี้ยวหน้า/ไฟเลี้ยวหลัง ไฟส่องป้ายทะเบียน
ไฟส่องป้ายทะเบียน

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
สัญญาณไฟเลี้ยว

ไฟเลี้ยวหน้าและไฟเลี้ยวหลังใช้หลอด LED
ถ้ามีหลอด LED ไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไปเข้ารับบริการ ไฟส่องป้ายทะเบียนใช้หลอด LED
ที่ศูนย์บริการฮอนด้า ถ้ามีหลอด LED ไม่ติด ขอให้ท่านนำ�รถไปเข้ารับบริการ
ที่ศูนย์บริการฮอนด้า

111
ปัญหาระบบไฟฟ้า ฟิวส์ขาด
ฟิวส์ขาด ฝาปิดกล่อง
ตัวดึงฟิวส์
ฟิวส์
ก่อนทำ�การบำ�รุงรักษาฟิวส์ ให้ดู “การตรวจสอบและการ
เปลี่ยนฟิวส์” หน้า 53
ฟิวส์ที่อยู่ในกล่องฟิวส์ ฟิวส์สำ�รอง
1. ถอดเบาะหน้า หน้า 64
2. ถอดฝาครอบหม้อน�้ำด้านซ้าย หน้า 70
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง

ฟิวส์สำ�รอง
3. ถอดกล่องฟิวส์ออกจากกล่องใส่แบตเตอรี่ CBF150NA เท่านั้น
4. เปิดฝาปิดกล่องฟิวส์
5. ดึงฟิวส์ออกทีละตัวด้วยตัวดึงฟิวส์ และตรวจเช็คว่า กล่องใส่แบตเตอรี่
ฟิวส์ขาดหรือไม่ เปลี่ยนฟิวส์ที่ขาดด้วยฟิวส์สำ�รองที่มี กล่องฟิวส์
ขนาดเดียวกับฟิวส์ตัวเดิมเสมอ
6. ปิดฝาปิดกล่องฟิวส์
7. ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ โดยทำ�ย้อนลำ�ดับขั้นตอนการ ข้อสังเกต
ถอด ถ้าฟิวส์ขาดบ่อยอาจเป็นไปได้ว่าระบบไฟฟ้าภายในรถจักรยาน-
ยนต์ของท่านมีปัญหา ดังนั้นควรนำ�รถเข้ารับบริการตรวจเช็ค
โดยศูนย์บริการฮอนด้า

112
การท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ไม่สม�่ำเสมอเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว
ถ้ากรองเชื้อเพลิงของปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิงอุดตัน สภาพ
การท�ำงานของเครื่องยนต์ที่ไม่สม�่ำเสมอจะเกิดขึ้นเป็น
ครั้งคราวในขณะขับขี่
แม้ว่าอาการนี้จะเกิดขึ้น ท่านก็สามารถที่จะขับขี่รถ
จักรยานยนต์ของท่านต่อไปได้
ถ้าเครื่องยนต์ท�ำงานไม่สม�่ำเสมอแม้ว่าจะมีน�้ำมัน-

การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง
เชื้อเพลิงอยู่เพียงพอ ขอให้ท่านน�ำรถจักรยานยนต์ของ
ท่านไปเข้ารับการตรวจสอบโดยศูนย์บริการฮอนด้า
ทันทีทเี่ ป็นไปได้

113
ข้อมูลที่ควรทราบ

กุญแจ......................................................................หน้า 115
เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ........หน้า 116
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์.................................หน้า 117
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์...................................หน้า 121
การขนส่งรถจักรยานยนต์........................................หน้า 121
ท่านและสิ่งแวดล้อม................................................หน้า 122
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ.............................................หน้า 123
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์...........หน้า 124
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย.........................................หน้า 125
กุญแจ
กุญแจ
กุญแจจุดระเบิด แผ่นหมายเลขกุญแจ
กุญแจจุดระเบิด
รถจักรยานยนต์รุ่นนี้มีกุญแจจุดระเบิดจำ�นวน 2 ดอก
และแผ่นหมายเลขกุญแจ 1 แผ่นซึ่งประกอบด้วยหมายเลข
กุญแจและบาร์โค้ด
ขอให้ท่านเก็บรักษากุญแจสำ�รองและแผ่นหมายเลข
กุญแจไว้ในที่ที่ปลอดภัย ในการทำ�สำ�เนากุญแจขอให้

ข้อมูลที่ควรทราบ
ท่านนำ�กุญแจสำ�รองและแผ่นหมายเลขกุญแจไปยัง
ศูนย์บริการฮอนด้าหรือช่างทำ�กุญแจ หมายเลขกุญแจและบาร์โค้ด
ถ้าท่านทำ�กุญแจทั้งหมดและหมายเลขกุญแจหาย ท่าน
อาจจะต้องนำ�รถของท่านไปเข้ารับบริการถอดชุดสวิทช์
จุดระเบิดโดยศูนย์บริการฮอนด้าเพื่อที่จะดูหมายเลข
กุญแจของท่าน

พวงกุญแจโลหะอาจทำ�ให้เกิดความเสียหายกับบริเวณ
โดยรอบสวิทช์จุดระเบิดได้
115
เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติอื่นๆ

เครื่องวัด อุปกรณ์ควบคุม และคุณสมบัติ


อื่นๆ มาตรวัดระยะทาง
สวิทช์จุดระเบิด
จอแสดงผลจะหยุดอยู่ที่ตัวเลข 999,999 เมื่อค่าที่อ่าน
การปล่อยให้สวิทช์จุดระเบิดอยู่ที่ตำ�แหน่ง (On) ใน
ได้เกินกว่า 999,999
ขณะที่เครื่องยนต์ดับจะทำ�ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟ
ออกจนหมดได้
มาตรวัดระยะการเดินทาง
ข้อมูลที่ควรทราบ

มาตรวัดระยะการเดินทางจะวนกลับมาที่ 0.0 เมื่อค่าที่


อย่าหมุนกุญแจจุดระเบิดในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์
อ่านได้เกินกว่า 9,999.9
สวิทช์ดับเครื่องยนต์
อย่าใช้สวิทช์ดับเครื่องยนต์ยกเว้นในกรณีฉุกเฉิน เพราะ ซองเก็บเอกสาร
การใช้สวิทช์ดับเครื่องยนต์ในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ คูม่ อื การใช้งาน เอกสารการจดทะเบียน และข้อมูลการ-
จะทำ�ให้เครื่องยนต์ดับโดยทันทีทันใดและทำ�ให้การขับขี่ไม่ รับประกัน สามารถจัดเก็บไว้ในซองเก็บเอกสารพลาสติก
ปลอดภัย ถ้าท่านดับเครื่องยนต์โดยใช้สวิทช์ดับเครื่องยนต์ ซึ่งอยู่ส่วนล่างของเบาะหลัง
ให้หมุนสวิทช์จุดระเบิดไปที่ตำ�แหน่ง (Off) การละ-
เลยไม่ปฏิบัติจะทำ�ให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟออกจน
หมดได้
116
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
ระบบตัดวงจรสตาร์ท การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
ตัวตรวจจับการเอียงของรถจะหยุดการท�ำงานของเครื่อง- การทำ�ความสะอาดและขัดเงารถจักรยานยนต์อยู่เป็น
ยนต์และปั๊มน�้ำมันเชื้อเพลิงโดยอัตโนมัติถ้ารถจักร- ประจำ�นั้นมีความสำ�คัญต่อการรับประกันอายุการใช้
ยานยนต์ล้ม ในการตั้งค่าตรวจจับใหม่ ท่านต้องหมุน งานที่ยาวนานของรถจักรยานยนต์ฮอนด้าของท่าน รถ
สวิทช์จุดระเบิดไปที่ต�ำแหน่ง (Off) และจากนั้นหมุน จักรยานยนต์ที่สะอาดจะทำ�ให้ง่ายแก่การพบเห็นปัญหา
กลับมาที่ต�ำแหน่ง (On) ก่อนที่ท่านจะสตาร์ทเครื่องยนต์ ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้
อีกครั้ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง น�้ำทะเลและเกลือที่ใช้ป้องกันการ

ข้อมูลที่ควรทราบ
เกิดน�้ำแข็งเกาะบนพื้นถนน จะท�ำให้เหล็กเกิดสนิมหรือ
ผุกร่อนได้ ดังนั้นควรล้างท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์
ของท่านอย่างทัว่ ถึงทุกครัง้ หลังการขับขีไ่ ปบนถนนที่อยู่
เลียบชายฝั่งทะเลหรือถนนที่ถูกโรยด้วยเกลือ
การล้างรถจักรยานยนต์
ปล่อยให้เครื่องยนต์ ท่อไอเสีย เบรก และชิ้นส่วนที่มี
อุณหภูมิสูงอื่นๆ เย็นลงก่อนที่จะล้างรถ
1. ล้างรถจักรยานยนต์ของท่านอย่างทั่วถึงโดยใช้สาย-
ยางส�ำหรับรดน�้ำต้นไม้แรงดันต�่ำเพื่อท�ำความสะอาด
สิ่งสกปรกที่ไม่ฝังแน่นออก
117
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
2. ถ้าจ�ำเป็น ท�ำความสะอาดรถจักรยานยนต์ด้วยฟองน�้ำ การเบรกลดลงอย่างมากและอาจน�ำไปสู่การเกิด
หรือผ้าขนหนูเนื้อนุ่มชุบน�้ำยาท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์ อุบัติเหตุ เช่น การชนหรือล้มได้
อ่อนๆ เพื่อขจัดคราบสกปรกต่างๆ ที่มาจากถนนออก 5. หล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อนทันทีที่ล้างและเช็ดรถแห้งแล้ว
ทำ�ความสะอาดเลนส์ไฟหน้า ฝาครอบตัวถัง และส่วน 6. ใช้แวกซ์เคลือบผิวเพื่อป้องกันสนิมและการกัดกร่อน
ประกอบที่เป็นพลาสติกต่างๆ ด้วยความระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณ์ซึ่งประกอบไปด้วยผงซักฟอก
เป็นพิเศษเพือ่ หลีกเลีย่ งไม่ให้เกิดรอยขีดข่วนทีช่ น้ิ ส่วน ที่มีคุณสมบัติในการกัดสูงหรือตัวทำ�ละลายทางเคมี
ดังกล่าว หลีกเลีย่ งการฉีดน�ำ้ ตรงไปทีไ่ ส้กรองอากาศ ซึ่งอาจทำ�ให้เกิดความเสียหายกับชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ
ข้อมูลที่ควรทราบ

ท่อไอเสีย และชิน้ ส่วนของระบบไฟฟ้า ชิ้นส่วนที่พ่นสี และชิ้นส่วนที่เป็นพลาสติกของรถจักร-


3. ล้างรถจักรยานยนต์ดว้ ยน�ำ้ สะอาดอย่างทัว่ ถึงและเช็ด ยานยนต์ของท่านได้ อย่าลงแวกซ์ที่ยางและเบรก
รถให้แห้งด้วยผ้าเนือ้ นุม่ ทีส่ ะอาด ถ้ารถจักรยานยนต์ของท่านมีชิ้นส่วนที่เป็นพื้นผิวสีที่
4. หลังจากทีร่ ถจักรยานยนต์แห้ง ให้หยอดน�ำ้ มันหล่อลืน่ ด้านใดๆ อย่าใช้แวกซ์เคลือบพื้นผิวดังกล่าว
ทีช่ น้ิ ส่วนทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด้ใดๆ
ต้องแน่ใจว่าไม่มีน�้ำหล่อลื่นกระเด็นไปติดบนเบรก
หรือยางรถ ผ้าดิสก์เบรก จานดิสก์เบรกที่เปื้อนไปด้วย
น�ำ้ มันจะท�ำให้ประสิทธิภาพใน

118
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
ข้อควรระวังในการล้างรถจักรยานยนต์ • อย่าฉีดน�้ำตรงเข้าไปใต้เบาะนั่ง :
ควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เมื่อจะล้างรถจักรยานยนต์ : น�้ำที่เข้าไปในช่องเก็บของใต้เบาะนั่งอาจท�ำให้เกิดความ
•อย่าใช้เครื่องฉีดน�้ำแรงดันสูง : เสียหายกับเอกสาร และทรัพสินอื่นๆของท่านได้
เครื่องฉีดล้างท�ำความสะอาดแรงดันสูงอาจท�ำให้เกิด • อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ไส้กรองอากาศ :
ความเสียหายกับชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ได้และชิ้นส่วนของ น�้ำที่เข้าไปในไส้กรองอากาศอาจท�ำให้เครื่องยนต์สตาร์ท
ระบบไฟฟ้า และท�ำให้ชิ้นส่วนดังกล่าวไม่สามารถใช้งาน ไม่ติดได้
ได้ • อย่าฉีดน�้ำตรงไปใกล้ไฟหน้า :
น�้ำและอากาศสามารถเข้าไปในเรือนลิ้นเร่งและ/หรือผ่าน ภายในของเลนส์ไฟหน้าอาจมีฝ้าเกิดขึ้นชั่วคราวหลังจาก

ข้อมูลที่ควรทราบ
เข้าสู่ไส้กรองอากาศได้ ล้างรถหรือเมื่อขับขี่ในขณะฝนตก ซึ่งไม่มีผลกระทบต่อ
•อย่าฉีดน�้ำตรงไปที่ท่อไอเสีย : การท�ำงานของไฟหน้า
น�้ำที่อยู่ในท่อไอเสียอาจท�ำให้รถจักรยานยนต์สตาร์ทไม่ติด อย่างไรก็ตาม ถ้าท่านเห็นไอน�้ำหรือน�้ำแข็งจ�ำนวนมากเกาะ
และยังท�ำให้เกิดสนิมในท่อไอเสียได้ อยู่ภายในเลนส์ ขอให้ท่านน�ำรถของท่านไปเข้ารับบริการ
• ทำ�ให้เบรกแห้ง : ตรวจเช็คโดยศูนย์บริการฮอนด้า
น�้ำมีผลเสียต่อประสิทธิภาพในการเบรก หลังจากการ • อย่าใช้แวกซ์หรือน�้ำยาขัดเงาชนิดต่างๆ กับพื้นผิวสีที่ด้าน :
ล้างรถจักรยานยนต์ ให้เบรกซ�้ำๆ หรือย�้ำเบรกในขณะที่ ใช้ผ้าเนื้อนุ่มหรือฟองน�้ำ ใช้น�้ำล้างในปริมาณมากๆ และ
ขับขี่ที่ความเร็วต�่ำ เพื่อช่วยให้ผ้าเบรกแห้งเร็วขึ้น ใช้ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดที่มีฤทธิ์อ่อนๆ ในการท�ำความ
สะอาดพื้นผิวสีที่ด้าน แล้วเช็ดให้แห้งด้วยผ้าเนื้อนุ่มที่สะอาด

119
การดูแลรักษารถจักรยานยนต์
ชิ้นส่วนอะลูมิเนียม • หลีกเลี่ยงอย่าให้มีน�้ำมันเชื้อเพลิง น�้ำมันเบรก หรือผง
อะลูมิเนียมจะเกิดการผุกร่อนและเป็นสนิมได้เมื่อถูกฝุ่น ซักฟอกหกลงบนเครื่องวัด ฝาครอบตัวถังหรือไฟหน้า
โคลนหรือเกลือที่โรยอยู่ตามท้องถนน ทำ�ความสะอาด
ชิ้นส่วนอะลูมิเนียมเป็นประจำ�และปฏิบัติตามคำ�แนะนำ� ชุดท่อไอเสีย
ต่อไปนี้เพื่อหลีกเลี่ยงรอยขีดข่วนต่างๆ เมื่อมีการทาสีที่พื้นผิวของชุดท่อไอเสีย ไม่ควรใช้ผลิต-
• อย่าใช้แปรงขนแข็ง เหล็กฝอยสำ�หรับขัด หรือวัสดุและ ภัณฑ์ทำ�ความสะอาดที่ีมีฤทธิ์กัดกร่อนพื้นผิว ซึ่งเป็น
อุปกรณ์ทำ�ความสะอาดอื่นๆ ที่มีผงขัดเป็นส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถหาซื้อได้ทั่วไปตามท้องตลาดในการ
ข้อมูลที่ควรทราบ

• หลีกเลี่ยงการขับขี่ข้ามหรือครูดไปกับขอบถนน ใช้ทำ�ความสะอาดพื้นผิวดังกล่าว ขอให้ท่านใช้ผลิตภัณฑ์


ทำ�ความสะอาดที่เป็นกลางในการทำ�ความสะอาดพื้น
ฝาครอบตัวถังต่างๆ ผิวสีบนชุดท่อไอเสีย ถ้าหากท่านไม่แน่ใจว่าชุดท่อไอ-
ควรปฏิบัติตามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด เสียของท่านมีการทาสีที่พื้นผิวไว้หรือไม่ ขอให้ท่านติดต่อ
รอยขีดข่วนและรอยตำ�หนิต่างๆ : สอบถามกับศูนย์บริการฮอนด้าของท่าน
• ค่อยๆ ท�ำความสะอาดโดยใช้ฟองน�้ำนุ่มๆ และล้างด้วย
น�้ำหลายๆ ครั้ง
• ขจัดสิ่งสกปรกที่ฝังแน่นอยู่ออก ใช้น�้ำผสมผงซักฟอก
เจือจางและล้างด้วยน�้ำหลายๆ ครั้ง

120
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์
การเก็บรักษารถจักรยานยนต์ ถ้าท่านทิ้งแบตเตอรี่ไว้ในรถจักรยานยนต์ไม่ได้ถอด
ถ้าท่านเก็บรักษารถจักรยานยนต์ไว้ที่ลานจอดกลางแจ้ง ออก ให้ปลดขัว้ ลบ ออกเพือ่ ป้องกันไม่ให้แบตเตอรี่
ท่านควรพิจารณาใช้ผ้าคลุมสำ�หรับรถจักรยานยนต์แบบ จ่ายกระแสไฟออกจนหมด
เต็มคัน ถ้าหากท่านจะไม่ขับขี่รถจักรยานยนต์เป็นระยะ หลังจากทีท่ า่ นเอารถจักรยานยนต์ออกมาจากโรงเก็บ
เวลานานๆ ขอให้ปฏิบตั ติ ามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ : รถ ขอให้ท่านตรวจสอบรายการบำ�รุงรักษาทั้งหมด
• ล้างรถจักรยานยนต์ของท่านและลงแวกซ์บนพื้นผิว ตามที่ได้กำ�หนดไว้ในตารางการบำ�รุงรักษา
เคลือบทุกแห่ง (ยกเว้นพื้นผิวสีที่ด้าน) เคลือบแผ่น การขนส่งรถจักรยานยนต์

ข้อมูลที่ควรทราบ
โครเมียมด้วยน�้ำมันป้องกันสนิม ถ้าหากรถจักรยานยนต์ของท่านจำ�เป็นต้องถูกขนย้าย
• หล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน หน้า 55 หรือขนส่ง ท่านควรนำ�รถจักรยานยนต์ขึ้นรถพ่วงสำ�หรับ
• ตั้งรถจักรยานยนต์ด้วยขาตั้งที่ใช้ในงานบริการและ บรรทุกรถจักรยานยนต์ หรือรถบรรทุกหรือรถพ่วงพืน้ -
วางตำ�แหน่งของหมอนรองเพือ่ ยกยางทัง้ สองล้อให้ เรียบซึง่ มีทา้ ยลาดหรือมีแท่นยกรถ และมีสายรัดรถจักร-
อยู่เหนือพื้นดิน ยานยนต์ด้วย อย่าพยายามที่จะลากจูงรถจักรยานยนต์
• หลังจากฝนตก เอาผ้าคลุมรถออกและปล่อยรถจักร- ของท่านในขณะที่ล้อใดล้อหนึ่งหรือทั้งสองล้อยังแตะอยู่
ยานยนต์ไว้ให้แห้ง กับพื้น
• ถอดแบตเตอรี่ออก หน้า 61 เพื่อป้องกันไม่ให้แบต- ข้อสังเกต
เตอรี่จ่ายกระแสไฟออกจนหมด ชาร์จแบตเตอรี่ในที่ การลากจูงรถจักรยานยนต์อาจทำ�ให้เกิดความเสียหายร้ายแรง
กับระบบส่งกำ�ลังได้
ร่มและมีการระบายอากาศที่ดี
121
ท่านและสิ่งแวดล้อม

ท่านและสิ่งแวดล้อม ขยะรีไซเคิล
การทีไ่ ด้เป็นเจ้าของและขับขีร่ ถจักรยานยนต์เป็นเรือ่ ง บรรจุนำ�้ มันและขยะมีพษ ิ อืน่ ๆ ลงในภาชนะบรรจุที่
ที่สามารถให้ความสนุกและความเพลิดเพลินแก่ท่าน เหมาะสมแล้วส่งไปยังศูนย์รไี ซเคิล กรุณาโทรศัพท์ตดิ -
ได้ แต่ทา่ นก็ตอ้ งรับผิดชอบในส่วนของท่านในการ ต่อส�ำนักงานท้องถิ่นหรือส�ำนักงานของรัฐที่ท�ำงานเกี่ยว
รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน กับงานบริการสาธารณะและการบริการด้านสิง่ แวดล้อม
เพื่อสอบถามถึงที่ตั้งของศูนย์รีไซเคิลในพื้นที่ที่ท่าน
การเลือกใช้น�้ำยาท�ำความสะอาด อาศัยอยูแ่ ละเพือ่ ขอค�ำแนะน�ำเกีย่ วกับวิธกี ารจ�ำกัดของ
ข้อมูลที่ควรทราบ

ใช้ผงซักฟอกที่ย่อยสลายได้เองโดยธรรมชาติเมื่อท่าน เสียทีไ่ ม่สามารถน�ำมารีไซเคิลได้ อย่าทิง้ น�ำ้ มันเครือ่ งที่


จะล้างทำ�ความสะอาดรถจักรยานยนต์ของท่าน หลีก- ใช้แล้วลงในถังขยะ หรือทิ้งลงท่อระบายน�้ำ หรือเทราด
เลีย่ งการใช้นำ�้ ยาท�ำความสะอาดชนิดสเปรย์ทปี่ ระกอบ ลงบนพืน้ ดิน น�ำ้ มันเครือ่ ง น�ำ้ มันเชือ้ เพลิง น�ำ้ หล่อเย็น
ไปด้วยสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFCs) ซึง่ สามารถ และตัวท�ำละลายทีใ่ ช้ในการท�ำความสะอาดต่างๆ ทีใ่ ช้
ทีจ่ ะทำ�ให้เกิดความเสียหายกับชัน้ โอโซนทีป่ กป้องบรร- แล้วประกอบไปด้วยสิง่ ทีเ่ ป็นอันตรายหรือมีพษิ ซึง่ สามารถ
ยากาศรอบโลกได้ ท�ำอันตรายแก่พนักงานเก็บขยะและปนเปือ้ นในน�ำ้ ดืม่
ทะเลสาบ แม่นำ�้ และมหาสมุทรได้

122
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ
หมายเลขประจำ�รุ่นรถ
หมายเลขตัวถังและหมายเลขเครือ่ งยนต์เป็นหมายเลข
เฉพาะตัวของรถจักรยานยนต์ของท่านและเป็นสิง่ ทีจ่ �ำ เป็น
สำ�หรับการจดทะเบียนรถ นอกจากนี้หมายเลขดังกล่าว
อาจจำ�เป็นต้องใช้เมื่อท่านจะสั่งชิ้นส่วนสำ�หรับการเปลีย่ น
ท่านควรจะจดบันทึกหมายเลขเหล่านีไ้ ว้และเก็บรักษา
ไว้ในทีท่ ป่ี ลอดภัย

ข้อมูลที่ควรทราบ
หมายเลขตัวถัง

หมายเลขเครื่องยนต์

123
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์

น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ข้อสังเกต
น�้ำมันเชื้อเพลิงทั่วไปบางชนิดซึ่งผสมแอลกอฮอล์สามารถ การใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงทีม่ สี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์ซงึ่ มีคา่ เปอร์-
หาซื้อได้ในบางพื้นที่ ซึ่งจะช่วยลดปริมาณไอเสียให้ตรง เซ็นของแอลกอฮอล์สงู กว่าทีไ่ ด้รบั รองไว้อาจทำ�ให้เกิดความเสีย-
หายแก่ชนิ้ ส่วนทีเ่ ป็นโลหะ ยาง และพลาสติกของระบบน�ำ้ มัน-
ตามมาตรฐานอากาศสะอาดที่มีก�ำหนดไว้
เชือ้ เพลิงของท่านได้
ถ้าท่านวางแผนว่าจะใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของ
แอลกอฮอล์ขอให้ตรวจสอบดูว่าเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงไร้- หากท่านสังเกตเห็นอาการผิดปกติของเครื่องยนต์หรือ
สารตะกั่วและมีค่าออกเทนอย่างน้อยที่สุดเท่ากับที่ได้ พบว่าเครื่องยนต์มีปัญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการ
ข้อมูลที่ควรทราบ

ก�ำหนดไว้หรือไม่ ท�ำงานให้ท่านลองเปลี่ยนไปใช้น�้ำมันยี่ห้ออื่นแทน

น�ำ้ มันเชือ้ เพลิงทีม่ สี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์ดงั ต่อไปนี้


สามารถนำ�มาใช้กบั รถจักรยานยนต์ของท่านได้ :
• เอทานอล (เอทิลแอลกอฮอล์) สูงสุด 20% โดยปริมาตร
น�้ำมันเชื้อเพลิงซึ่งประกอบด้วยเอทานอล ซึ่งวางจ�ำ-
หน่ายภายใต้ชื่อทางการค้าว่า แก๊สโซฮอล์

124
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย

อุปกรณ์แปรสภาพไอเสีย ควรปฏิบตั ติ ามคำ�แนะนำ�ต่อไปนี้ เพือ่ เป็นการป้องกัน


รถจักรยานยน์รุ่นนี้เป็นรถที่มีการติดตั้งอุปกรณ์แปรสภาพ อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียในรถจักรยานยนต์ของท่าน
ไอเสีย 3 ทาง ในอุปกรณ์แปรสภาพไอเสียนี้ประกอบ • ใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วเท่านั้น เพราะน�้ำมันที่
ด้วยทองคำ�ขาว ซึ่งทำ�หน้าที่เร่งปฏิกิริยาทางเคมีเมื่อมี มีสารตะกั่วจะท�ำให้อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียเกิด
อุณหภูมสิ งู เพือ่ เปลีย่ นไฮโดรคาร์บอน (HC) คาร์บอน- ความเสียหายได้
มอนอกไซด์ (CO) และไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) ใน • ดูแลเครื่องยนต์ให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี
ก๊าซไอเสียให้เป็นสารประกอบที่ปลอดภัยไม่สง่ ผล • นำ�รถจักรยานยนต์ของท่านไปเข้ารับบริการโดย

ข้อมูลที่ควรทราบ
กระทบต่อสภาพแวดล้อม ศูนย์์บริการฮอนด้าถ้าเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ติด
เครื่องยนต์ติดขัดหรือทำ�งานไม่เป็นปกติ ในกรณีดังกล่าว
อุปกรณ์แปรสภาพไอเสียที่มีสภาพไม่สมบูรณ์หรือชำ�รุด ขอให้ท่านหยุดรถและดับเครื่องยนต์
จะก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศและทำ�ให้ประสิทธิภาพ
การทำ�งานของเครื่องยนต์ลดลง การเปลี่ยนระบบแปรสภาพ
ไอเสียอันใหม่จะต้องใช้อะไหล่แท้ของฮอนด้าหรืออะไหล่
ทีท่ ดแทนกันได้เท่านัน้

125
ข้อมูลทางเทคนิค
ส่วนประกอบหลัก ปริมาตรกระบอกสูบ 149.16 ซม.3 (9.099 cu-in)
57.300 x 57.843 มม.
ความยาว 1,973 มม.(77.7 นิ้ว) กระบอกสูบและระยะชัก (2.2559 x 2.2773 นิ้ว)
ความกว้าง 822 มม.(32.4 นิ้ว)
อัตราส่วนการอัด 11.3 : 1
ความสูง 1,053 มม.(41.5 นิ้ว)
น�้ำมันเชื้อเพลิงไร้สารตะกั่วที่
ระยะห่างช่วงล้อ 1,296 มม.(51.0 นิ้ว) น�้ำมันเชื้อเพลิง แนะนำ� : ค่าออกเทน 91 หรือสูงกว่า
ระยะห่างจากพื้น 139 มม.(5.5 นิ้ว)
น�้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วน เอทานอลสูงสุด 20%
มุมแคสเตอร์ 25o
ผสมของแอลกอฮอล์ โดยปริมาตร
ระยะเทรล 95.1 มม.(3.74 นิ้ว) 8.5 ลิตร
ความจุถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ข้อมูลทางเทคนิค

CBF150N 123 กก.(271 ปอนด์)


น�้ำหนักสุทธิ CBF150NA 125 กก.(276 ปอนด์) ​YTZ6V
แบตเตอรี่ 12V - 5.0Ah (10 HR)
ความสามารถใน
130 กก. (287 ปอนด์) 1 3.083
การรับน�้ำหนักสูงสุด*1
2 1.941
ความสามารถในการบรรทุก*1 ผู้ขับขี่และผู้ซ้อนท้าย 1 คน อัตราทดเกียร์ 3 1.500
2.2 ม.(7.2 ฟุต) 4 1.227
รัศมีวงเลี้ยวแคบสุด 5 1.041
*1 ประกอบด้วยน�้ำหนักของผู้ขับขี่ ผู้ซ้อนท้าย สัมภาระทั้งหมด 6 0.923
และอุปกรณ์เพิ่มเติมทั้งหมด อัตราทด 3.260/3.133
(ขั้นต้น/ขั้นสุดท้าย)

126
ข้อมูลทางเทคนิค
ข้อมูลบริการ น​ �้ำมันเครื่องส�ำหรับรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะฮอนด้า
​หน้า 110/70R17M/C 54H มาตรฐานเอพีไอ (API) : SG หรือสูงกว่า ไม่รวมถึงน�้ำมัน
ขนาดของยาง น�้ำมันเครื่องที่ ที่มีข้อความประหยัดเชื้อเพลิงอันได้แก่ “Energy
หลัง 150/60R17M/C 66H
แนะน�ำ Conserving” หรือ “Resource Conserving ปรากฏ
ชนิดของยาง ยางเรเดียล ชนิดไม่มียางใน อยู่ที่สัญลักษณ์มาตรฐาน ความหนืด : SAE 10W-30
​หน้า DUNLOP GPR300F M มาตรฐาน JASO T903 MA
ยางที่แนะนำ�
หลัง DUNLOP GPR300 M หลังถ่าย 1.3 ลิตร
200 กิโลปาสคาล ความจุน�้ำมันเครื่อง น�้ำมันเครื่อง
หน้า (2.00 กก./ซม2, 29 ปอนด์/นิ้ว2)
แรงดันลมยาง หลังผ่าเครื่อง 1.5 ลิตร
(ขับขี่คนเดียว) 225 กิโลปาสคาล น�้ำมันเบรกที่แนะน�ำ น�้ำมันเบรกฮอนด้า DOT3 หรือ DOT4
หลัง

ข้อมูลทางเทคนิค
(2.25 กก./ซม2, 33 ปอนด์/นิ้ว2)
​ 200 กิโลปาสคาล
ความจุน�้ำหล่อเย็นทั้ง
หน้า 0.50 ลิตร
แรงดันลมยาง (2.00 กก./ซม2, 29 ปอนด์/นิ้ว2) ระบบ
(มีผู้ซ้อนท้าย 1 คน) 225 กิโลปาสคาล น�้ำหล่อเย็นที่ น�้ำหล่อเย็นแบบผสมแล้วของฮอนด้า
หลัง (2.25 กก./ซม2, 33 ปอนด์/นิ้ว2) แนะน�ำ
ความสึกของดอกยาง ​หน้า 1.5 มม. (0.06 นิ้ว) สารหล่อลื่นโซ่ขับ- สารหล่อลื่นโซ่ขับเคลื่อน แต่หากไม่สามารถหา
ต�่ำสุด หลัง 2.0 มม. (0.08นิ้ว) เคลื่อนที่แนะน�ำ ได้ขอให้ท่านใช้น�้ำมันเครื่อง SAE80 หรือ 90
MR9C-9N (NGK) หรือ ความตึงหย่อนของ
หัวเทียน 30-40 มม.(1.2-1.6 นิ้ว)
U27EPR-N9 (DENSO) โซ่ขับเคลื่อน
ระยะห่างเขี้ยวหัวเทียน 0.8 - 0.9 มม. (0.03 - 0.04 นิ้ว) DID 428HDS3
โซ่ขับเคลื่อนมาตรฐาน
รอบเดินเบา 1,500 + 100 รอบต่อนาที จำ�นวนข้อต่อ 126
127
ข้อมูลทางเทคนิค
สเตอร์หน้า 15 ฟัน โบ้ลท์ C ยึดฝาครอบ 4.2 นิวตัน-เมตร
ฟันสเตอร์มาตรฐาน (0.4 กก.-ม., 3.1 ฟุต-ปอนด์)
สเตอร์หลัง 47 ฟัน ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
โบ้ลท์ B ยึดฝาครอบ 10 นิวตัน-เมตร
หลอดไฟ ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง (1.0 กก.-ม., 7 ฟุต-ปอนด์)
ไฟหน้า L​ ED โบ้ลท์ A ยึดฝาครอบ 4.2 นิวตัน-เมตร
​LED ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง (0.4 กก.-ม., 3.1 ฟุต-ปอนด์)
ไฟเบรก/ไฟท้าย
​LED สกรูยึดฝาครอบ 0.9 นิวตัน-เมตร
ไฟเลี้ยวหน้า (0.1 กก.-ม., 0.7 ฟุต-ปอนด์)
ถังน�้ำมันเชื้อเพลิง
ไฟเลี้ยวหลัง ​LED 12 นิวตัน-เมตร
ไฟส่องป้ายทะเบียน ​LED โบ้ลท์ยึดถังน�้ำมันเชื้อเพลิง (1.2 กก.-ม., 9 ฟุต-ปอนด์)
10 นิวตัน-เมตร
ข้อมูลทางเทคนิค

ฟิวส์ โบ้ลท์ B ยึดหม้อน�้ำ (1.0 กก.-ม., 7 ฟุต-ปอนด์)


4.2 นิวตัน-เมตร
ฟิวส์หลัก 20A โบ้ลท์ A ยึดหม้อน�้ำตัวนอก (0.4 กก.-ม., 3.1 ฟุต-ปอนด์)
ฟิวส์อื่นๆ CBF150N 10 A, 7.5A 24 นิวตัน-เมตร
โบ้ลท์ถ่ายน�้ำมันเครื่อง (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
CBF150NA 30 A, 20 A, 10 A, 7.5 A
88 นิวตัน-เมตร
น๊อตยึดเพลาล้อหลัง (9.0 กก.-ม., 65 ฟุต-ปอนด์)
อัตราการขันแน่น 59 นิวตัน-เมตร
น๊อตยึดเพลาล้อหน้า (6.0 กก.-ม., 44 ฟุต-ปอนด์)
10 นิวตัน-เมตร
โบ้ลท์ยึดเบาะหน้า 24 นิวตัน-เมตร
(1.0 กก.-ม., 7 ฟุต-ปอนด์) โบ้ลท์ยึดเพลาล้อหน้า (2.4 กก.-ม., 18 ฟุต-ปอนด์)
128
คูมือการใชงาน
3 3 K94A T 1 AP
170817
PRINTED IN THAILAND CB150R

You might also like