Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ “ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย” ประจำปี 2566


สอบวันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน 2566 เวลา 9:00 - 12:00 น.

ตอนที่ 1 จงเขียนคำตอบลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้ (ข้อละ 3 คะแนน)

1. −448 6. 2
7

2. 104 7. 2565

3. 5 8. 0.1425

4. 441 9. 1

5. 1 10. พาราโบลา

ตอนที่ 2 จงเขียนคำตอบลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้ (ข้อละ 4 คะแนน)

11. 2 16. 4

12. −3 และ 3 17. −6

13
13. 3 18. 27

14. 4 19. 21.51 และ 46.49



15. 63 20. 4 2+2

ตอนที่ 3 จงเขียนคำตอบลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้ (ข้อละ 6 คะแนน)

3
21. 8

22. 271

 
23. i, 1−i
2 และ −i, 1+i
2

24. 2567! − 1


25. 6
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตอนที่ 1 จงเขียนคำตอบลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้ (ข้อละ 3 คะแนน)


 8
2
1. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x7 จากการกระจายทวินามของ x2 −
x
(ตอบอยู่ในรูปของจำนวนเต็ม)

ตอบ −448

n  
X n
แนวคิด จากสูตรการกระจายทวินาม (a + b) n
=
r
an−r br จะได้ว่า
r=0

 8 8  
X  r
2 8 2
x −
2
= (x )2 8−r

x r x
r=0
X8
8!
= x16−2r (−2)r x−r
r!(8 − r)!
r=0
X
8
8!
= (−2)r x16−3r
r!(8 − r)!
r=0

พิจารณา 16 − 3r = 7 จะได้ว่า r = 3
8!
ดังนั้น สัมประสิทธิ์ของ x7 คือ 3!5!
(−2)3 = −448 ■

−2−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

2. กำหนดให้ S เป็นเซตของจำนวนจริงทั้งหมดที่ทำให้มุมระหว่างเวกเตอร์ (2, 2, x − 2) และ (2, x − 2, 2)


π
มีค่าเป็น 3
จงหาผลบวกของกำลังสองของสมาชิกทุกตัวใน S

ตอบ 104

แนวคิด สมมติให้ #”
u = (2, 2, x − 2) และ #”
v = (2, x − 2, 2) จะได้ว่า
• #”
u · #”v = 4 + (2x − 4) + (2x − 4) = 4x − 4
» p
• | #”
u | = | #”
v | = 22 + 22 + (x − 2)2 = x2 − 4x + 12

จากสูตร #”
u · #”
v = | #”
u || #”
v | cos θ จะได้ว่า
p 2 π 
4x − 4 = x2 − 4x + 12 cos
  3
1
4x − 4 = (x2 − 4x + 12)
2

8x − 8 = x2 − 4x + 12

x2 − 12x + 20 = 0

(x − 2)(x − 10) = 0

x = 2, 10

นั่นคือ S = {2, 10}


ดังนั้น ผลบวกของกำลังสองของสมาชิกทุกตัวใน S เท่ากับ 22 + 102 = 104 ■

−3−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

3. กำหนดให้จุด A, B และ C มีพิกัดเป็น A(0, 1), B(5, 11) และ C(2, m) ตามลำดับ
จงหาค่า m ที่ทำให้ผลบวกของระยะทาง AC กับ CB มีค่าน้อยสุด

ตอบ 5

แนวคิด จากโจทย์สามารถวาดรูปได้ดังนี้
Y
B(5, 11)

C(2, m)

A(0, 1)

0
X
2 5

เนื่องจากผลบวกของระยะทาง AC กับ CB มีค่าน้อยสุด เมื่อ C เป็นจุดบนเส้นตรงที่เชื่อมจุด A, B


และอยู่ระหว่างจุด A, B
เนื่องจาก ความชันของส่วนของเส้นตรง AC และ AB มีค่าเท่ากัน จะได้ว่า

m−1 11 − 1
=
2−0 5−0
m−1
=2
2
m−1=4

m=5

ดังนั้น m = 5 ทำให้ผลบวกของระยะทาง AC กับ CB มีค่าน้อยสุด ■

−4−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

4. กำหนดให้ P และ Q เป็นจุดยอดของกราฟของสมการ 4y2 − 9x2 + 54x − 32y + 19 = 0


ถ้า O เป็นจุดกำเนิดแล้ว 697 cos2 (P OQ)
“ มีค่าเท่ากับเท่าใด

ตอบ 441

แนวคิด พิจารณาสมการ

(4y 2 − 32y) − (9x2 − 54x) = −19

4(y 2 − 8y) − 9(x2 − 6x) = −19

4(y − 4)2 − 9(x − 3)2 = −36


(x − 3)2 (y − 4)2
− =1
4 9

จะได้ว่า สมการดังกล่าวสอดคล้องกับไฮเพอร์โบลาที่มีจุดยอดอยู่ที่ (1, 4) และ (5, 4) ดังรูป

(x − 3)2 (y − 4)2
− =1
4 9

P (1, 4) Q(5, 4)
4

X
O 1 5

จากจุดยอดของไฮเพอร์โบลา P (1, 4) และ Q(5, 4) และจุดกำเนิด O(0, 0)


# ” #” #” # ” #” #”
พิจารณาเวกเตอร์ OP = i + 4 j และ OQ = 5 i + 4 j จะได้ว่า

# ” # ”
 OP · OQ 5 + 16 21

cos P OQ = # ” # ” = √ √ = √
OP OQ 17 41 697

 2
21
ดังนั้น ค่าของ “
697 cos2 (P OQ) = 697 √ = 441 ■
697

−5−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

5. กำหนดให้ a และ b เป็นจำนวนอตรรกยะ โดยที่ ab เป็นจำนวนเต็ม จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


(1) a ̸= b (2) a ̸= −b (3) aa เป็นจำนวนเต็ม (4) ba เป็นจำนวนเต็ม
ข้อความที่เป็นจริงเสมอมีทั้งหมดกี่ข้อความ

ตอบ 1

แนวคิด
(1) สมมติ ให้ a และ b เป็น จำนวนตรรกยะ โดยที่ ab = 2 พิจารณากรณี a = b โดยกำหนดให้
a = x และ b = x จะได้ว่า xx = 2 เมื่อ take log2 ทั้งสองข้างของสมการ จะได้

log2 xx = log2 2

x log2 x = 1
1
log2 x = (1)
x

หาค่า x ที่ทำให้สมการ (1) เป็นจริง โดยวิธีวาดกราฟ จากการหาจุดตัดของกราฟ y = log2 x


และ y = x1 ซึ่งสามารถวาดกราฟได้ ดังรูป
Y

3 1
y=
x
2
y = log2 x
1

X
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1

-2

-3

จากกราฟจะเห็นว่า มี x ∈ (1, 2) ที่ทำให้ xx = 2 นั่นแสดงว่า มีค่า a = b อย่างน้อยหนึ่งค่า


ที่ทำให้ ab = 2 ซึ่งเป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น ข้อความ (1) a ̸= b ไม่จริงเสมอไป

−6−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

(2) กำหนดให้ a และ b เป็นจำนวนตรรกยะ โดยที่ ab = n สำหรับจำนวนเต็ม n ใด ๆ


พิจารณา a = x และ b = −x จะได้ว่า x−x = n เมื่อ take logn ทั้งสองข้าง จะได้ว่า

logn x−x = logn n

x logn x−1 = 1
 
1 1
logn =
x x

logn t = t, โดยที่ t = x1 (2)

หาค่า t ที่ทำให้สมการ (2) เป็นจริง โดยวิธีวาดกราฟ จากการหาจุดตัดของกราฟ y = logn t


และ y = t ซึ่งสามารถวาดกราฟได้ ดังรูป
Y

3 y=t

2
y = logn t
1

T
-3 -2 -1 0 1 2 3
-1

-2

-3

จากรูปจะเห็นว่ากราฟทั้งสองเส้นไม่มีจุดตัดกัน ดังนั้นไม่มีค่า t ใด ๆ ที่ทำให้สมการ (2) เป็นจริง


จึงส่งผลให้ไม่มีค่า x ใด ๆ ที่ทำให้ x−x = n เป็นจำนวนเต็มได้ นั่นแสดงว่า ไม่มีค่า a = −b ที่
ทำให้ ab เป็นจำนวนเต็มได้เช่นกัน เพราะฉะนั้น ข้อความ (2) a ̸= −b เป็นจริงเสมอ
 − ln 2
(3) เลือก a = 1e ∈ Qc และ b = − ln 2 ∈ Qc ซึ่ง ab = 1
e
=2∈Z
 1/e
พิจารณา 0 < 1e < 11/e = 1 เนื่องจาก ไม่มีจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0 และ 1
 1/e
ดังนั้น 1e / Z ทำให้ข้อความ (3) ไม่จริงเสมอไป

(4) เลือก a = e ∈ Qc และ b = ln 2 ∈ Qc ซึ่ง ab = eln 2 = 2 ∈ Z


พิจารณา 0 < (ln 2)e < 1e = 1 เนื่องจาก ไม่มีจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 0 และ 1
ดังนั้น (ln 2)e ∈/ Z ทำให้ข้อความ (4) ไม่จริงเสมอไป
ดังนั้น ข้อความที่เป็นจริงเสมอมีทั้งหมด 1 ข้อความ คือ ข้อความ (2) ■

−7−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

6. ในการจัดตารางสอบเพื่อคัดเลือกนักเรียนทุน มีวิชาที่สอบ 3 วิชา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา


อังกฤษ แต่ละวิชาจะใช้ เวลาสอบเต็ม วัน โดยไม่มี การสอบมากกว่า 1 วิชาในวัน เดียวกัน และต้องจัดการ
สอบ 3 วันภายในช่วงระยะเวลา 7 วัน จงหาความน่าจะเป็นที่ในการจัดตารางสอบนี้ ไม่มีสองวิชาใด ที่
สอบ 2 วันติดกันใน 7 วันดังกล่าว

2
ตอบ 7

แนวคิด ก่อนอื่นจำนวนวิธีในการเลือก 3 วันใน 7 วันที่จะทำการสอบ 3 วิชา คือ


P7,3 = 7 × 6 × 5 = 210 วิธี

จำนวนวิธีในการเลือก 3 วันใน 7 วันโดยไม่มีสองวันที่อยู่ติดกัน เพื่อสอบ 3 วิชา คือ


C5,3 × 3! = 5 × 4 × 3 = 60 วิธี
60 2
ความน่าจะเป็นที่ในการจัดตารางสอบนี้ไม่มีสองวิชาใดที่สอบสองวันติดกันใน 7 วัน คือ 210
=
7

−8−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

7. ให้ ← เป็นตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ นิยามประพจน์ A ← B จากประพจน์ A และ B ให้มีค่าความจริง


ดังแสดงในตารางค่าความจริงต่อไปนี้
A T T F F

B T F T F

A←B F T F F

ให้ S1 แทนประพจน์ A1 และ


Sn แทนประพจน์ Sn−1 ← An เมื่อ n ≥ 2
ถ้า S2566 มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว A1 , A2 , . . . , A2566 มีค่าความจริงเป็นเท็จอยู่ทั้งหมดกี่ประพจน์

ตอบ 2565

แนวคิด พิจารณาค่าความจริงของประพจน์ A1 , A2 , . . . , A2566 ดังนี้


• จาก S2566 ≡ S2565 ← A2566 มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้นจากตารางจะได้ S2565 มีค่าความจริงเป็นจริง และ A2566 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
• จาก S2565 ≡ S2564 ← A2565 มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้นจากตารางจะได้ S2564 มีค่าความจริงเป็นจริง และ A2565 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
• จาก S2564 ≡ S2563 ← A2564 มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้นจากตารางจะได้ S2563 มีค่าความจริงเป็นจริง และ A2564 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
..
.

• จาก S2 ≡ S1 ← A2 มีค่าความจริงเป็นจริง
ดังนั้นจากตารางจะได้ S1 มีค่าความจริงเป็นจริง และ A2 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
• จาก S1 ≡ A1 มีค่าความจริงเป็นจริง ดังนั้น A1 มีค่าความจริงเป็นจริง
สรุปได้ว่า A1 มีค่าความจริงเป็นจริง และ A2 , A3 , . . . , A2566 มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ดังนั้น A1 , A2 , . . . , A2566 มีค่าความจริงเป็นเท็จทั้งหมด 2566 − 1 = 2565 ประพจน์ ■

−9−
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

8. ข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์ ณ สี่แยกแห่งหนึ่ง ในระยะเวลาหนึ่งเดือน โดยให้ X เป็นจำนวนครั้งที่


เกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์ ณ สี่แยกที่ศึกษา พบข้อมูลดังนี้

จำนวนการเกิดอุบัติเหตุ (x ครั้ง) 0 1 2 3 4 5 6

โอกาสพบ X = x ครั้ง 0.20 0.20 0.15 0.15 0.15 0.10 0.05

จงหาโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์รวมกัน 4 ครั้งพอดี ในเวลา 2 เดือน

ตอบ 0.1425

แนวคิด พิจารณาคล้ายกรณีโยน ลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้งซึ่งลูกเต๋านี้มีโอกาสเกิดเลขบนหน้าต่าง ๆ ไม่


เท่ากัน แล้วพิจารณาเหมือนได้คะแนนรวม 2 ครั้งเท่ากับ 4 คะแนน จะพบว่าวิธีที่เกิดอุบัติเหตุฯ มีดังนี้
จำนวนที่เกิดใน จำนวนที่เกิดใน
วิธีที่เกิดอุบัติเหตุฯ โอกาสที่จะเกิดของวิธีที่เกิดอุบัติเหตุฯ
เดือนที่ 1 เดือนที่ 2
1 4 0 (0.15)(0.20) = 0.03
2 0 4 (0.20)(0.15) = 0.03
3 3 1 (0.15)(0.20) = 0.03
4 1 3 (0.20)(0.15) = 0.03
5 2 2 (0.15)(0.15) = 0.0225

รวมโอกาสที่จะเกิดจากทุกวิธี 4(0.03) + 0.0225 = 0.1425

ดังนั้น โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุทางรถยนต์รวมกัน 4 ครั้งพอดี ในเวลา 2 เดือน เท่ากับ 0.1425 ■

− 10 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

9. กำหนดให้ A, B, C และ D เป็นเซตที่แตกต่างกัน และต่างก็เป็นสับเซตของเซต {1, 2, 3}


ซึ่งสอดคล้องกับเงื่อนไข 2 ∈ C, 3 ̸∈ D, A ⊂ B, B ⊂ C, B ⊂ D และ D ̸⊂ C
จงหาผลรวมของสมาชิกทั้งหมดในเซต D − (B ∩ C)

ตอบ 1

แนวคิด กำกับเงื่อนไขของโจทย์ด้วยตัวเลข ดังนี้

A, B, C, D เป็นเซตที่แตกต่างกัน (3)

2∈C (4)

3 ̸∈ D (5)

A⊂B (6)

B⊂C (7)

B⊂D (8)

D ̸⊂ C (9)

จาก (6) จะได้ว่า B ̸= ∅ (ไม่เช่นนั้น A = B = ∅ ซึ่งขัดแย้งกับ (3))


จาก (8) จะได้ว่า D ̸= ∅ (ไม่เช่นนั้น B = D = ∅ ซึ่งขัดแย้งกับ (3))
จาก (4) เซตของ C ที่เป็นไปได้คือ {2}, {1, 2}, {2, 3}, {1, 2, 3}

จาก (5) เซตของ D ที่เป็นไปได้คือ {1}, {2}, {1, 2}

จาก (8), (3) และ B ̸= ∅ จะได้ว่า D = {1, 2} และ B = {1} หรือ B = {2}
พิจารณากรณี B = {1} จาก (7) จะได้ว่า C = {1, 2} หรือ C = {1, 2, 3}
แต่ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็ตาม จะได้ D ⊂ C เสมอ ซึ่งขัดแย้งกับ (9) ดังนั้น B = {2}
เพราะฉะนั้น ทำให้ได้ว่า D − (B ∩ C) = D − B = {1}
ดังนั้น ผลรวมของสมาชิกทั้งหมดในเซต D − (B ∩ C) เท่ากับ 1 ■

− 11 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 √
10. ให้ r เป็นความสัมพันธ์ ที่นิยามโดย r = (x, y) ∈ [0, ∞) × [0, ∞) | x + √y = 1 จงหาว่าความ
สัมพันธ์ r เป็นส่วนหนึ่งของภาคตัดกรวยชนิดใด (วงกลม, วงรีที่ไม่ใช่วงกลม, พาราโบลา, ไฮเพอร์โบลา)

ตอบ พาราโบลา

√ √
แนวคิด พิจารณาสมการ x+ y=1 จะได้ว่า

√ √
x y =1−

y =1−2 x+x

x−y+1=2 x

(x − y + 1)2 = 4x

สมมติให้ s = x + y และ t = x − y จะได้ว่า


 
s+t
(t + 1)2 = 4
2

t2 + 2t + 1 = 2s + 2t

t2 + 1 = 2s
1 1
s = t2 +
2 2

ดังนั้น ความสัมพันธ์ r เป็นส่วนหนึ่งของพาราโบลา ■

− 12 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตอนที่ 2 จงเขียนคําตอบลงในกระดาษคําตอบที่กําหนดให้ (ข้อละ 4 คะแนน)


1 + xn+1
11. กำหนดให้ (xn ) เป็นลำดับของจำนวนจริง ที่นิยามโดย xn+2 =
xn
ทุก n = 0, 1, 2, 3, . . .

โดยที่ x0 = 1 และ x1 = 2 จงหาค่าของ x2023

ตอบ 2

แนวคิด พิจารณาลำดับ x2 , x3 , x4 , . . . ดังนี้

1 + x1 1+2
x2 = = =3
x0 1
1 + x2 1+3
x3 = = =2
x1 2
1 + x3 1+2
x4 = = =1
x2 3
1 + x4 1+1
x5 = = =1
x3 2
1 + x5 1+1
x6 = = =2
x4 1

จะเห็นว่าลำดับ x5 = 1 และ x6 = 2 ซ้ำกับลำดับเริ่มต้น x0 = 1 และ x1 = 2


ดังนั้น (xn ) จะซ้ำกันทุก ๆ 5 ลำดับ นั่นคือ (xn ) = 1, 2, 3, 2, 1, 1, 2, 3, 2, 1, . . .
เพราะฉะนั้น x2023 = x3 = 2 ■

− 13 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 
 1 t t2 t3 
 
 t 1 t t2 
 
12. จงหาจำนวนจริง t ทั้งหมดที่ทำให้ det 
 t2 t
 = −512
 1 t 

 
t 3 t2 t 1

ตอบ −3 และ 3

แนวคิด พิจารณา det จากการดําเนินการตามแถว (elementary row operation) จะได้ว่า


 
1 t t 2 t3 1 t t2 t3
 
 
 t 1 t t2  0 1 − t2 t − t3 t2 − t4
 
det  =
 t2 t 1 t  t − t3 1 − t4 t − t5
  0
 
3
t t 2 t 1 0 t2 − t4 t − t5 1 − t6

1 − t2 t(1 − t2 ) t2 (1 − t2 )
= t(1 − t2 ) (1 + t2 )(1 − t2 ) t(1 + t2 )(1 − t2 )
t2 (1 − t2 ) t(1 + t2 )(1 − t2 ) (1 + t2 + t4 )(1 − t2 )

1 t t2
= (1 − t2 )3 t 1 + t2 t + t3
t2 t + t3 1 + t2 + t4

1 t t2
= (1 − t2 )3 0 1 t
0 t 1 + t2

= (1 − t2 )3

พิจารณา (1 − t2 )3 = −512 จะได้ว่า

1 − t2 = −8

t2 = 9

t = −3, 3

ดังนั้น จำนวนจริง t ทั้งหมด คือ −3 และ 3 ■

− 14 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

13. มีเหรียญอยู่ 4 เหรียญ ซึ่งมีรูปร่างเหมือนกัน โดยใน 4 เหรียญนี้ จะมีเหรียญปลอมจำนวนหนึ่งปนอยู่กับ


เหรียญจริง ซึ่งเหรียญปลอมจะหนัก 9 กรัม ในขณะที่เหรียญจริงหนัก 10 กรัม กำหนดให้ มีตาชั่งที่ชั่งน้ำ
หนักเป็นกรัมได้ เพื่อใช้ชั่งน้ำหนักของเหรียญเหล่านี้ โดยชั่งครั้งละกี่เหรียญก็ได้ จงหาจำนวนครั้งในการชั่ง
ที่น้อยที่สุด ที่ทำให้สามารถแยกเหรียญจริงกับเหรียญปลอมออกจากกันได้

ตอบ 3

แนวคิด ให้ mℓ คือ จำนวนครั้งที่น้อยที่สุด ในการแยกเหรียญจริงกับเหรียญปลอมออกจากกัน จาก


จำนวนเหรียญรวมทั้งหมด ℓ เหรียญ เราสังเกตุได้ว่า
• mℓ ≤ ℓ โดยการแยกชั่งครั้งละ 1 เหรียญ
• m2 = 2 และ
• m3 = 3 โดยเราสังเกตว่า การชั่งแค่ 2 ครั้ง ไม่สามารถแยกเหรียญจริงกับเหรียญปลอมจาก
เหรียญทั้งหมด 3 เหรียญได้
คราวนี้ เราจะแสดงว่า m4 = 3 โดยการแสดงวิธี การเลือกชั่ง 3 ครั้ง เพื่อ ที่ จะแยกเหรียญจริง กับ
เหรียญปลอมออกจากกันให้ได้
ครั้งที่ 1: เลือกชั่งเหรียญที่ 1, 2, 3,
ครั้งที่ 2: เลือกชั่งเหรียญที่ 1, 2, , 4
ครั้งที่ 3: เลือกชั่งเหรียญที่ 1, , 3, 4
ถ้ามีการชั่งครั้งใดที่ได้ 3 เหรียญจริง หรือ 0 เหรียญจริง (เป็นเหรียญปลอมทั้งหมด) เราสามารถ บอก
สถานะของเหรียญที่เหลืออีก 1 เหรียญได้ทันที
คราวนี้ เราจะมาพิจารณาผลการชั่ง ในแต่ละครั้ง ที่ เป็น เหรียญจริง เพียง 2 หรือ 1 เหรียญ โดยให้
(a, b, c) โดยที่ a, b, c คือ จำนวนเหรียญจริง ที่ ปรากฎในการชั่ง ครั้ง ที่ 1, 2 และ 3 ตามลำดับ (ทั้งนี้
เราจะพิจารณาโดยไม่สนการสลับของคำตอบ) ทำให้เหตุการณ์ทั้งหมดจะสามารถแยกได้เป็นดังนี้
กรณีที่ 1: (1, 1, 1) ผลลัพธ์คือ เหรียญแรกเหรียญเดียวที่เป็นเหรียญจริง
กรณีที่ 2: (2, 1, 1) ผลลัพธ์คือ เหรียญที่สองและสามเป็นเหรียญจริง
กรณีที่ 3: (2, 2, 1) ผลลัพธ์คือ เหรียญแรกและเหรียญที่สองเป็นเหรียญจริง
กรณีที่ 4: (2, 2, 2) ผลลัพธ์คือ เหรียญแรกเหรียญเดียวที่เป็นเหรียญปลอม
ดังนั้น จํานวนในการชั่งที่น้อยที่สุด ที่ทําให้สามารถแยกเหรียญออกจากกันได้ คือ 3 ครั้ง ■

− 15 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

14. ให้ Hเป็นกราฟไฮเพอร์โบลา 2y2 − x2 = 2 และ


P เป็นกราฟพาราโบลา ที่มีจุดโฟกัสเป็นจุดศูนย์กลางของ H และมีจุดยอดเป็นจุดยอดหนึ่งของ H
จงหารัศมีของวงกลมที่ผ่านจุดตัดทุกจุดของ H และ P

ตอบ 4

แนวคิด สังเกตว่า H มีจุดศูนย์กลางเป็นจุด (0, 0) และจุดยอดเป็นจุด (0, 1) และ (0, −1)


โดยไม่เสียนัยทั่วไป สมมติว่าจุดยอดของ P คือจุด (0, −1) ดังนั้นสมการของ P คือ x2 = 4(y + 1)
แก้ระบบสมการ

2y 2 − x2 = 2

x2 = 4y + 4

ได้ว่า 2y2 − 4y − 6 = 0 นั่นคือ y = −1 หรือ y = 3


เพราะฉะนั้นจุดตัดของ H และ P คือ (0, −1), (−4, 3) และ (4, 3)

สังเกตว่าส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุด (−4, 3) และ (4, 3) เป็นคอร์ดหนึ่งของวงกลมในโจทย์


และเนื่องจากเส้นแบ่งครึ่งตั้งฉากคอร์ดใด ๆ จะต้องผ่านจุดศูนย์กลางวงกลม
ดังนั้นจุดศูนย์กลางของวงกลมในโจทย์อยู่บนแกน Y

สมมติว่าจุดศูนย์กลางวงกลมมีพิกัด (0, k) และมีรัศมี r


เนื่องจากวงกลมดังกล่าวผ่านจุด (0, −1) และ (4, 3) ทำให้

(−1 − k)2 = r2

16 + (3 − k)2 = r2

จากการแก้ระบบสมการข้างต้น ได้ว่า k = 3 และได้ว่า r = 4


ดังนั้น รัศมีของวงกลมที่ผ่านจุดตัดทุกจุดของ H และ P เท่ากับ 4 หน่วย ■

− 16 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

15. จงหาค่าสูงสุดของ x + y เมื่อ x และ y เป็นจำนวนเต็มบวกที่สอดคล้องกับสมการ x2 + y2 = 2025

ตอบ 63

แนวคิด เนื่องจาก 2025 = 452 ดังนั้น x และ y มีตัวหนึ่งเป็นเลขคี่ และอีกตัวหนึ่งเป็นเลขคู่ โดย


ความสมมาตร สมมติว่า x = 2k และ y = 2ℓ + 1 โดยที่ k และ ℓ เป็นจำนวนเต็มที่ไม่เป็นลบ ดังนั้น

4k 2 + 4ℓ2 + 4ℓ + 1 = x2 + y 2 = 2025
2024
k 2 + ℓ2 + ℓ = = 506
4
ℓ(ℓ + 1) = 506 − k 2

เนื่องจาก ℓ(ℓ + 1) เป็นเลขคู่ ดังนั้น k ต้องเป็นเลขคู่


และเนื่องจาก ℓ(ℓ + 1) ≥ 0 ดังนั้น 506 − k2 ≥ 0 หรือนั่นคือ 0 ≤ k ≤ 22
จากผลลัพธ์ข้างต้น จะได้ว่า k = 0, 2, 4, 6, . . . , 22
นั่นคือ 506 − k2 ∈ {506, 502, 490, 470, 442, 406, 362, 310, 250, 182, 106, 22}
แยกตัวประกอบแต่ละจำนวนในเซตนี้ พบว่า มีแค่ 182 = 13 × 14 ที่อยู่ในรูป ℓ(ℓ + 1) ทำให้ได้ว่า
k = 18 และ ℓ = 13 นั่นคือ x = 36 และ y = 27

ดังนั้น ค่าสูงสุดของ x + y คือ 36 + 27 = 63 ■

− 17 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 
16. กำหนดให้ S = x ∈ R | x3 − 5x2 + 7x − 3 = 0 ∪ y ∈ R | y 3 − 3y 2 − y + 1 = 0

จงหาว่าเซต S มีสมาชิกที่เป็นจำนวนจริงบวกกี่จำนวน

ตอบ 4

แนวคิด พิจารณาพหุนามในทั้ง 2 เซตแยกกัน ดังนี้


1. 0 = x3 − 5x2 + 7x − 3 = (x − 1)(x − 1)(x − 3) จะได้ว่า x = 1, 3

2. สำหรับ y3 − 3y2 − y + 1 = 0 แสดงได้ไม่ยากว่า x ̸= 1, 3 แสดงว่า ทั้ง 2 เซต ไม่มีสมาชิก


ร่วมกัน เราจึงสามารถพิจารณาเครื่องหมายของรากของสมาการ y3 − 3y2 − y + 1 = 0 ได้
เลย โดยไม่ต้องสนใจว่ารากนั้นคืออะไร ซึ่งรากที่เราสนใจคือ รากที่เป็นจำนวนจริงบวก (อยู่บน
แกน X ที่มากกว่า 0) หรือ เราต้องการหาจำนวนจุด ตัด แกน X ฝั่ง บวก ของฟังก์ชัน พหุ นาม
f (x) = x3 − 3x2 − x + 1 นั่นเอง

พิจารณาได้ดังนี้
• เราทราบว่า สมการ y3 − 3y2 − y + 1 = 0 มีรากเป็นจำนวนจริงได้ไม่เกิน 3 จำนวน
• f เป็นฟังก์ชันพหุนามบน R ซึ่งต่อเนื่องทุกจุดบนโดเมน
• f (0) = 1 > 0 และ f (1) = −2 < 0 แสดงว่า f ตัดแกน X อย่างน้อย 1 ครั้งบนช่วง (0, 1)
นั่นคือ มีรากเป็นจำนวนจริงบวกอย่างน้อย 1 ตัว บนช่วง (0, 1)
• f (1) = −2 < 0 และ f (4) = 13 > 0 แสดงว่า f ตัดแกน X อย่างน้อย 1 ครั้งบนช่วง (1, 4)
นั่นคือ มีรากเป็นจำนวนจริงบวกอย่างน้อย 1 ตัว บนช่วง (1, 4)
• เนื่องจากผลคูณของรากทั้ง 3 ตัวของสมการ y3 − 3y2 − y + 1 = 0 เป็นลบ นั่นหมายความว่า
รากอีกตัวต้องมีค่าเป็นลบ เราจึงไม่สนใจ
ดังนั้น เซต S มีสมาชิกที่เป็นจำนวนจริงบวกทั้งหมด 4 จำนวน ■

− 18 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
√ √
3
1 + 3x4 − 1 − 2x
17. จงหาค่าของ lim √ √
x→0 3
1+x− 1+x

ตอบ −6


3
1 + 3x4 − 1 1 + 3x4 − 1
แนวคิด 1. พิจารณา x→0
lim
x
= lim  » √  =0
x→0
x 3 (1 + 3x4 )2 + 3 1 + 3x4 + 1

1 − 2x − 1 1 − 2x − 1
2. พิจารณา x→0
lim = lim √  = −1
x x→0 x 1 − 2x + 1

3
1+x−1 1+x−1 1
3. พิจารณา lim
x
= lim  » √ =
3
x→0 x→0
x 3 (1 + x)2 + 3 1 + x + 1

1+x−1 1+x−1 1
4. พิจารณา lim
x
= lim √
x→0 x
=
2
x→0 1+x+1
จากผลลัพธ์ในข้อ 1.–4. จะได้ว่า
√  √ 
√ √ 3
1+3x4 −1
− 1−2x−1
3
1 + 3x4 − 1 − 2x x x 0 − (−1)
lim √ √ = lim  √  √  = 1 1 = −6
1+x− 1+x 3 − 2
3 3
x→0 x→0 1+x−1
− x
1+x−1
x

√ √
3
1 + 3x4 − 1 − 2x
ดังนั้น lim √ √ = −6 ■
x→0 3
1+x− 1+x

18. นาย ก. มีลูก 2 คน โดยมีอย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ชายที่เกิดวันศุกร์ จงหาความน่าจะเป็นที่ลูกทั้ง 2 คน ของ


นาย ก. เป็นผู้ชาย

13
ตอบ 27

แนวคิด ผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้ของลูกของนาย ก. คือ 142 แบบ


เหตุการณ์ที่ลูกของนาย ก. อย่างน้อย 1 คน เป็นผู้ชายที่เกิดวันศุกร์ คือ 142 − 132 = 27 แบบ
13
ดังนั้น ความน่าจะเป็นที่ลูกทั้ง 2 คน ของนาย ก. เป็นผู้ชาย คือ 27

− 19 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

19. จงหาค่า x ทั้งหมด ที่สอดคล้องกับสมการ x2 − 68x + 999.9999 = 0 (ตอบในรูปทศนิยม)

ตอบ 21.51 และ 46.49

แนวคิด พิจารณาสมการจากสูตรกำลังสองสมบูรณ์ และผลต่างกำลังสอง จะได้

x2 − 2(x)(34) + 342 − 342 + 999.9999 = 0

(x − 34)2 − 1156 + 999.9999 = 0

(x − 34)2 − 156.0001 = 0
624.0004
(x − 34)2 − =0
4
625 − 1 + 0.0004
(x − 34) −
2
=0
4
25 − 2(25)(0.02) + (0.02)2
2
(x − 34)2 − =0
22
 
25 − 0.02 2
(x − 34) −
2
=0
2

(x − 34)2 − (12.49)2 = 0

(x − 34 + 12.49)(x − 34 − 12.49) = 0

(x − 21.51)(x − 46.49) = 0

ดังนั้น ค่า x ทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการของโจทย์คือ 21.51 และ 46.49 ■

− 20 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

20. จงหาค่าสูงสุดของฟังก์ชัน f (θ) = (cot θ − 3 cot 3θ + 2)(1 + 2 cos 2θ) เมื่อ θ เป็นจำนวนจริง

ตอบ 4 2+2

แนวคิด จากเอกลักษณ์ตรีโกณมิติ ต่อไปนี้


1 − tan2 θ
• cos 2θ =
1 + tan2 θ
1 − 3 tan2 θ
• cot 3θ =
3 tan θ − tan3 θ
1
• cot θ =
tan θ

สามารถแสดงได้ว่า
(cot θ − 3 cot 3θ)(1 + 2 cos 2θ) = 4 sin 2θ

ดังนั้น
√  π √
f (θ) = 4(cos 2θ + sin 2θ) + 2 = 4 2 sin 2θ + +2≤4 2+2
4

โดยเป็นสมการเมื่อ θ = π8 ■

− 21 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตอนที่ 3 จงเขียนคําตอบลงในกระดาษคําตอบที่กําหนดให้ (ข้อละ 6 คะแนน)


21. กำหนดรูปสามเหลี่ยม ABC มี D เป็นจุดบนด้าน BC ให้ α เท่ากับมุม DAC
b และ β เท่ากับมุม DAB
b
BD 2 cos α π AC
ถ้า CD
= =
3 cos β
และ α+β =
3
จงหาค่าของ AB

3
ตอบ 8

แนวคิด จากโจทย์สามารถวาดรูปของสามเหลี่ยม ABC ได้ดังนี้


B
2
#”
v D

#” 3
β x
α
A C
#”
u

#” # ” # ” # ”
โดยกำหนดให้ u = AC, #”
v = AB และ #”
x = AD
#” 3# ” 3 2 3
เนื่องจาก u + CB = #”
x = #” u + (− #”
u + #”
v ) = #”
u + #”
v
5 5 5 5

#” 2 2 3 #” #”
พิจารณา u = | #”
x · #” u| + (v · u)
5 5
2 3 π 
| #”
x || #”
u | cos α = | #”
u |2 + | #”
v || #”
u | cos
5 5 3
2 3
x | cos α = | #”
| #” u | + | #”v| (1)
5 10

#” 2 3 2
และ x · #”
v = ( #”
u · #”
v ) + | #”v|
5 5
2 π  3
| #” v | cos β = | #”
x || #” u || #”
v | cos + | #”
v |2
5 3 5
2 3
| #”
x | cos β = | #”u | + | #”v| (2)
10 5

(1) cos α 2 4| #”
u | + 3| #”
v|
นำสมการ (2)
,
cos β
= = #”
3 2| u | + 6| #”
v|

4| #”
u | + 12| #”
v | = 12| #”
u | + 9| #”
v|

3| #”
v | = 8| #”
u|

| #”
u| 3 AC 3
ดังนั้น #”
|v|
=
8
นั่นคือ ค่าของ AB
=
8

− 22 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

22. กำหนดให้ f : N → N นิยามโดย f (x) = x3 + 2 และสำหรับจำนวนเต็มบวก n ใด ๆ นิยาม


(1) f1 = f
(2) fn+1 = f ◦ fn

จงหาว่ามีจำนวนเต็ม x ทั้งหมดกี่จำนวน ในช่วงปิด [2023, 2566] ที่ทำให้ (f (x))f (x) − ff (x) (x)
หารด้วย 3 ลงตัว

ตอบ 271 จำนวน

แนวคิด สำหรับจำนวนเต็ม x, y ใด ๆ กำหนดสัญลักษณ์ x ≡ y ถ้า 3 หาร x − y ลงตัว เนื่องจาก






 2 ; x≡0

f (x) ≡ 0 ; x≡1




 1 ; x≡2

ทำให้ f3 (x) ≡ x และได้ว่า fn (x) ≡ fm (x) สำหรับทุกจำนวนเต็มบวก n, m ซึ่ง n ≡ m


กรณี 1 (x ≡ 0) จาก f (x) ≡ 2 ได้ว่า f (x) = 3k − 1 สำหรับบางจำนวนเต็ม k
ทำให้ ff (x) (x) ≡ f2 (x) ≡ f (f (x)) ≡ 1 และโดยทฤษฎีบททวินาม

(f (x))f (x) = (3k − 1)f (x)

= (3k)f (x) + f (x)(3k)f (x)−1 (−1) + · · · + (−1)f (x)

≡ (−1)f (x)

เพราะฉะนั้น (f (x))f (x) ≡ 1 ก็ต่อเมื่อ f (x) = x3 + 2 เป็นจำนวนคู่ ก็ต่อเมื่อ x เป็นจำนวนคู่


กล่าวคือ 6 หาร x ลงตัว
กรณี 2 ( x ≡ 1) จาก f (x) ≡ 0 ได้ว่า ff (x) (x) ≡ x ≡ 1 แต่ (f (x))f (x) ≡ 0
จึงไม่มี x ที่สอดคล้อง
กรณี 3 (x ≡ 2) จาก f (x) ≡ 1 ได้ว่า ff (x) (x) ≡ f (x) ≡ 1 ในทำนองเดียวกันกับกรณี 1
โดยทฤษฎีบททวินาม สามารถแสดงได้ว่า (f (x))f (x) ≡ 1 เช่นกัน
จากทั้ง 3 กรณี x ที่สอดคล้องเงื่อนไขโจทย์คือ 2028, 2034, . . . , 2562 และ 2024, 2027, . . . , 2564
   
2562 − 2028 2564 − 2024
ซึ่งมีทั้งหมด 6
+1 +
3
+ 1 = 271 จำนวน ■

− 23 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

23. จงหาคู่อันดับของจำนวนเชิงซ้อน (z, w) ทั้งหมด ที่มีสมบัติครบตามเงื่อนไขทั้ง 3 ข้อ ต่อไปนี้


(1) |z| = 1
(2) z + w = zw

10
(3) |z − w| =
2
   
1−i 1+i
ตอบ i,
2
และ −i,
2

แนวคิด จากเอกลักษณ์สี่เหลี่ยมด้านขนาน

|z + w|2 + |z − w|2 = 2 |z|2 + |w|2


จะได้ว่า |w| = √1 เมื่อประกอบกับเงื่อนไข (2) ซึ่งสมมูลกับ w(z − 1) = z จะได้ว่า |z − 1| = 2
2
ให้ z = a + bi โดยที่ a และ b เป็นจำนวนจริง

จากเงื่อนไข |z − 1| = 2 จะได้ a = 0 เมื่อรวมกับเงื่อนไข (1) ที่ว่า a2 + b2 = 1 จะได้ b = ±1
ดังนั้น z = i หรือ z = −i
จาก w = z −z 1 ถ้า z = i จะได้
i 1−i
w= =
i−1 2

และถ้า z = −i จะได้
−i 1+i
w= =
−i − 1 2
   
1−i 1+i
ดังนั้น คู่อันดับของจำนวนเชิงซ้อน (z, w) ทั้งหมด คือ i,
2
และ −i,
2

− 24 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
Z 1  
1 2 2566
24. จงหาค่าของ (x + 1)(2x + 1) · · · (2566x + 1) +
x + 1 2x + 1
+ ··· +
2566x + 1
dx
0

ตอบ 2567! − 1

แนวคิด ให้ F (x) = (x + 1)(2x + 1) . . . (2566x + 1) พิจารณาเมื่อ x ≥ 0 สังเกตว่า


d  
F ′ (x) = (2x + 1)(3x + 1) . . . (2566x + 1) + (x + 1) (2x + 1)(3x + 1) . . . (2566x + 1)
dx
 
F (x) 2F (x) d  
= + (x + 1) + (2x + 1) (3x + 1)(4x + 1) . . . (2566x + 1)
x+1 (x + 1)(2x + 1) dx
F (x) 2F (x) d  
= + + (x + 1)(2x + 1) (3x + 1)(4x + 1) . . . (2566x + 1)
x + 1 2x + 1 dx
..
.

F (x) 2F (x) 2565F (x) d


= + + ··· + + (x + 1)(2x + 1) . . . (2565x + 1) (2566x + 1)
x + 1 2x + 1 2565x + 1 dx
F (x) 2F (x) 2566F (x)
= + + ··· +
x + 1 2x + 1 2566x + 1

นั่นคือ
 
′ 1 2 2566
F (x) = (x + 1)(2x + 1) . . . (2566x + 1) + + ··· +
x + 1 2x + 1 2566x + 1

ซึ่งเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วงปิด [0, 1] เพราะฉะนั้น


Z 1  
1 2 2566
(x + 1)(2x + 1) . . . (2566x + 1) + + ··· + dx
0 x + 1 2x + 1 2566x + 1
Z 1
= F ′ (x) dx
0

= F (1) − F (0)

= 2567! − 1 ■

− 25 −
เฉลยแนวคิดข้อสอบ 2566 LP OK
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
h πi
25. จงหาผลรวมของรากทั้งหมด ที่อยู่ในช่วง 0,
2
ของสมการ
     √
2π 2π 6
(sin x − cos x) sin x − cos +x sin x − cos −x =
3 3 8


ตอบ 6

แนวคิด ให้ θ เป็นจำนวนจริงใด ๆ นิยามพหุนาม

Pθ (X) = 4X 3 − 3X − cos 3θ

 

จากเอกลักษณ์ cos 3θ = 4 cos3 θ − 3 cos θ สามารถตรวจสอบได้ว่า cos θ, cos 3

 

และ cos 3
−θ เป็นสามรากที่แตกต่างกันของสมการพหุนาม Pθ (X) = 0
เนื่องจากพหุนาม Pθ (X) มีระดับขั้นเท่ากับ 3 และสัมประสิทธิ์นำเท่ากับ 4 จึงได้ว่า
    
2π 2π
Pθ (X) = 4(X − cos θ) X − cos +θ X − cos −θ
3 3

เมื่อแทน X ด้วย sin x แทน θ ด้วย x และอ้างเอกลักษณ์ sin 3θ = 3 sin x − 4 sin3 x


√ π  √
6 3
รูปสมการของโจทย์สมมูลกับ sin 3x + cos 3x = −
2
นั่นคือ sin 4
+ 3x = −
2
จึงได้ว่า  
π (−1)n+1 1
x= n+ −
3 3 4

สำหรับจำนวนเต็ม n ใด ๆ
h πi
ค่าของจำนวนเต็ม n ทั้งหมดที่ทำให้ค่า x อยู่ในช่วง 0,
2
ได้แก่ n = 1 และ n = 2
และได้ x = 13π
36
และ x = 17π
36
ตามลำดับ
h πi 13π 17π 5π
ดังนั้น ผลรวมของรากทั้งหมดในช่วง 0,
2
เท่ากับ 36
+
36
=
6

− 26 −

You might also like