วสท_มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้_ภาคที่5_ระบบจับความร้อน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ย)
มาตรฐานระบบแจ้งี. เหตุ ท
(ไ เพลิงไหม้
ส .พ o m
เ อ
แก้ไ.ขปรั
จ งครัก้งทีัด่ 2
il. c

บปรุ

ัท มกราคม จ2562 gm a

ิ ร ง
่ ิ
บร จิเนีย 07@
อ น
็ i 2 0
เ t h a โดย
.
jspกรรมการมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
คณะอนุ
ใน คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประจาปี 2560-2562

ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกร
ปีงบประมาณ 2558

สงวนลิขสิทธิ์

ISBN 978-616-396-022-1 พิมพ์ครั้งที่ 1


มาตรฐาน วสท. 021002-19 มกราคม พ.ศ. 2562
EIT Standard 021002-19 ราคา 250 บาท
ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | 43

ภาคที่ 5
อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน
5.1 ทั่วไป
อุปกรณ์ตรวจจั บความร้อนไม่ใช้เป็นอุปกรณ์ป้องกันชีวิต มีไว้เพื่อ ป้องกันทรัพย์สิ น

หรือย
)
เท่านั้นเหมาะสาหรับพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยจากเชื้อเพลิงที่ให้ควันน้อยแต่อุณหภูมิของ
ไฟเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และพื้นที่มีฝุ่นละออง ไอหรือควันไท
.
ี ( ความชื้นสูง หรือความเร็วลม

ส .พ o m

สูงอยู่เป็นประจา
.เ ก ด
ั il . c

ั เอจนชนิดจุด (point
จ ำtype, heatm a
ริษ ิเนียร 7@g
5.2 อุปกรณ์ตรวจจับความร้ ง
่ ิ detector)

5.2.1 ตาแหน่งติดตั้งในพืจ้นที่ป้องกัน และพื้น0ที่ปิด
อ น
็ i 2 0
เ งของเพดานทีt h a ่ติดตั้งได้ตั้งแต่ 3.00 เมตร (ดูตารางที่ 5.1) ดังนี้
.
(1) กาหนดความสู
j p เมตร สาหรับอุปกรณ์ที่ตรวจจับความร้อนแบบอุณหภูมิตายตัว
ก. ไม่เกินs7.50
ข. ไม่ เ กิ น 9.10 เมตร ส าหรั บ อุ ป กรณ์ ที่ ต รวจจั บ แบบอั ต ราการเพิ่ ม ของ
อุณหภูมิ
(2) อุปกรณ์ตรวจจับติดตั้งที่เพดาน ส่วนตรวจจับต้องอยู่ต่าจากเพดานดังนี้
ก. ไม่น้อยกว่า 15 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 100 มิลลิเมตร สาหรับเพดานปกติ
ข. ไม่น้อยกว่า 180 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 350 มิลลิเมตร สาหรับเพดานบน ใต้
หลังคารับแดด
(3) การติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับที่เพดานระดับราบ หรือที่ผนังกั้นห้อง (ดูรูปที่ 5.1)
ก. ที่เพดาน ขอบอุปกรณ์ต้องห่างจากผนัง หรือชั้นวางของไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร
ข. ที่ผนัง ขอบบนอุปกรณ์ต้องต่าจากเพดานไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร แต่ไม่
เกิน 300 มิลลิเมตร

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


44 | ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน

100 มม.
ตาแหน่งที่ติดตั้งได้
เพดาน

100 มม. ตาแหน่งที่ติดตั้งได้


300 มม.
บริเวณห้ามติดตั้ง

ย)
(ไ ท
. พ ี. ผนัง
อ ส ห้อัด c o m

. ตรวจจับความร้
รูปที่ 5.1 ตาแหน่งติดตั้งเอุปจกรณ์ ำ ก

ilอ.ที่ผนังกั้นห้อง
ัท จ gm a
อนที่เพดาน หรื
ร ษ
ิ ร ง
่ ิ
5.2.2 ระยะห่บ นตียรวจจับ0ที่เพดานระดั
างระหว่างอุจปิเกรณ์ 0 7@บราบ
การติดตั้งเอุอ ็น ตรวจจับaที่เiพดานระดั
2 บราบที่สูงจากพื้นไม่เกิน 3.0 เมตร จะมี
. th (s)) ระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับไม่เกิน 9.1 เมตร มีรัศมี
ป กรณ์
js
ระยะห่างที่กาหนด (listed p spacing
การตรวจจับ 6.3 เมตร พื้นที่ตรวจจับอย่างต่อเนื่อง 82.8 ตารางเมตร โดยต้องติดห่างจาก
ผนังกั้น หรือชั้นวางของไม่เกิน 4.5 เมตร (ดูรูปที่ 5.2)

0.7 s ½s 0.7 s
4.5 4.5 4.5 4.5
H s H s H s H 4.5 9.1 9.1 9.1
½s ½s H H H H
s
9.1 9.1 9.1 9.1
H H H H 6.3
4.5 9.1 9.1 9.1
H H H H
s 0.7 s
H H H H หมายเหตุ (มิติเป็นเมตร)
s H = อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุด
H H H H S = ระยะห่างที่กาหนด บนเพดานระดับราบ (ดูตารางที่ 5.1)
½s = 9.10 เมตร ที่เพดานสูงไม่เกิน 3.00 เมตร
= 8.28 เมตร ที่เพดานสูงไม่เกิน 3.7 เมตร

รูปที่ 5.2 ตาแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุดที่เพดานระดับราบ

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | 45

ช่องทางเดินกว้างไม่เกิน 3.6 เมตร มีเพดานระดับราบที่สู งไม่เกิน 3.0 เมตร โดยใช้รัศมี


วงกลมพื้นที่ตรวจจับ ที่คาบเกี่ย ว (overlap) ต่อเนื่องกัน (ดูภาคผนวก ข) จะมีระยะห่าง
ระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับได้ไม่เกิน 12.0 เมตร และห่างผนังปลายทางได้ไม่เกิน 6.0 เมตร
(ดูรูปที่ 5.3)

3.60 ม. 6.00 ม. 12.00 ม.


H H

ย)
H
(ไ
= อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุด

ี.
.ส.พ
เ อ
รูปที่ 5.3 ตาแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจั


mน
บความร้อนสาหรับพื้นที่ช่องทางเดิ
. c o
เจ ำ ma ก il

ั จ
ิ่งบที่เพดานทรงจั g่ว หรือเพิงลาดเอียง
ร ษ
ิ ย
ี ร @
(ดูรูปทีบ 5.5)ิเน 7
5.2.3 ระยะห่างระหว่ างอุปกรณ์ตรวจจั
่ 5.4 และ จ
็น 0 0
เอบ เพดานทรงจั ่ ว iที2
a
(1) ส าหรั
. t h ่ มี ย อดจั่ ว สู ง กว่ า ขอบบนผนั ง น้ อ ยกว่ า 150.00
j pอเพดานมีมุมลาดเอียง 1 ใน 8 หรือไม่เกิน 7.1 องศา ให้ถือว่า
มิลลิเมตรsหรื
เป็นเพดานระดับราบ และใช้การติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับสาหรับเพดานระดับราบ
(2) ต้องติดอุปกรณ์ตรวจจับในลักษณะเรียงแถวที่แต่ละด้านของเพดาน และแต่ละ
แถวห่างกันในแนวระดับไม่เกินระยะห่างที่กาหนด (s)

บริเวณห้ามติดตั้ง
100 มม. บริเวณให้ติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับแถวแรก
H
H H
1.0 เมตร 1.0 เมตร H
H
H
H H H

½s s s ½s s s s s s
½s
1.0 เมตร
H = อุปกรณ์ตรวจจับ s = ระยะห่างระหว่างอุปกรณ์
ตรวจจับ
รูปที่ 5.4 แสดงระดับการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับสาหรับเพดานทรงจั่วและเพิงลาดเอียง

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


46 | ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน

(3) ต้องติดอุป กรณ์ตรวจจับแถวแรกที่ด้านใดด้านหนึ่งของเพดาน ในระยะที่อยู่


ต่่าลงมาจากจุดสูงสุดของจั่วเพดานไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร (วัดในแนวดิ่ง)
และไม่เกินแนวระดับความกว้าง 1 เมตร จากเส้นแนวดิ่งของจั่วถึงเพดานแต่ละด้าน
(4) เพดานที่มีมุมลาดเอียงน้ อยกว่า 30 องศา และมีระยะห่ างระหว่างอุปกรณ์
ตรวจจับไม่เกินระยะห่างที่ก่าหนด (S) 8.28 เมตร วัดในแนวระดับที่ความสูง
เพดานไม่เกิน 3.7 เมตร (ตามตารางที่ 5.1) ค่านวณที่ 30 องศา จะต้องได้
ระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับเท่ากับ 9.56 เมตร วัดตามแนวลาดเอียง
ย )

เพดานเทียบจากแนวระดับ
(5) เพดานที่มีมุมลาดเอียงตั้งแต่ 30 องศาขึ้น(ไป
.
ี ไ และมีระยะห่างระหว่างอุปกรณ์
ตรวจจับไม่เกินระยะห่างที่กส .พ(S) 8.28 เมตรวัดในแนวระดั o m
.เ อ ่5ัด . cยงค่านวณหาค่า
่าหนด บที่ความสูง
เ จเมตร(ตามตารางที
ำ ก a il
ัท ่ติดรตั้ิ่งงจริงจเช่น เพดานลาดเอีm
เพดานไม่เกิน 3.7 .1) ให้ ใช้มุมลาดเอี
ระยะห่ิษ
ร ย
ี @ g ยง 37 องศา ระยะห่าง
บ างอุปกรณ์ ฯิเน 7
า งตามองศาที
จ 0 0
เอ็น th8.28 ai2(เมตร) / cos (37) หรือ
ระหว่ เท่ากับ

.
jsp == 8.28 / 0.7986
10.37 เมตร

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | 47

0.10-4.14 8.28 8.28 8.28 8.28 8.28 8.28 0.10-4.14

0.5 – 1.5
4.14
H H H H H
8.28
H H H H H
8.28

ย)

16.56 H 16.56 16.56 H 16.56
(ไ
H H H

. พ ี.
8.28
ส Hom
H
เ อ
จ. 8.28จำก
H H

ั H
il. c
ัทH เ mH a
ร ษ
ิ ร ง
่ ิ g
บ จิเนีย 8.28 07@
ก H H H ก

อ น
็ i 2 0
16.56 H เ 16.56 a
. t h H 16.56 H 16.56
jsp
H H
8.28
H H H H H
4.14
แนวผนัง แนวจั่ว มิติ เป็นเมตร

แปลนเพดาน

0.10-4-14 8.28 8.28 8.28 8.28 8.28 8.28 0.10-4.14

H
H H
H H
H 0.5-1.50 H
H H

แนวผนัง ภาพตัด ก-ก มิติ เป็นเมตร

รูปที่ 5.5 ตัวอย่างการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน สาหรับเพดานลาดเอียงเท่ากับ


37 องศา โดยยอดจั่ว สูงกว่า 3 เมตร แต่ไม่เกิน 3.7 เมตร

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


48 | ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน

5.2.4 ตาแหน่งติดตั้งสาหรับพื้นที่มีเพดานสูง
อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุด ติดตั้งบนเพดานระดับราบที่สูง 3.0 เมตร จะมี
ระยะห่างที่กาหนด 9.10 เมตร และหากติดตั้งสูงเกินกว่า 3.0 เมตร ต้องลดระยะห่างระหว่าง
อุปกรณ์ตรวจจับ โดยใช้ตัวคูณลดระยะห่างที่กาหนดตามตารางที่ .1 เช่น
(1) เพดานสูง 3.70 เมตร จะมีระยะห่างที่ยอมรับได้ 9.1  0.91 = 8.58 เมตร
(5) เพดานสูง 7.90 เมตร จะมีระยะห่างที่ยอมรับได้ 9.1  0.46 = 4.19 เมตร

ย ) งของเพดาน

ตารางที่ 5.1 กาหนดการลดระยะห่างระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับ ตามความสู

( างที่กาหนด ระยะห่าง
วคูณี. ระยะห่
ตัพ
เพดานสูงมากกว่า
(เมตร) .เอส
เพดานสูงไม่เกิน
. o m
จ ก ด
ั il. c
เ ำ
(เมตร) (s)
a
(เมตร)


ิ ัท 3.00 ริ่ง จ g1 m
ร ีย @0.91
3.00 บ
0.00 9.10
จ เ
ิ น 0 0 7
เอ็น 4.30 i2
3.70 8.58

t h a
.
3.70 0.84 7.64
4.30 jsp 4.90 0.77 7.01
4.90 .0 0.71 6.46
.0 6.10 0.64 .85
6.10 6.70 0. 8 .58
6.70 7.30 0. 5 4.73
7.30 7.90 0.46 4.19
7.90 8. 0 0.40 3.64
8. 0 9.10 0.34 3.09
หมายเหตุ ตารางกาหนดระยะห่างข้างต้น ใช้เฉพาะกับอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุด และเป็น
แบบอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ ไม่รวมถึงอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดเส้น (line type heat detector)
ทั้งแบบตรวจจับที่อุณหภูมิตายตัว และแบบตรวจจับอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ (rate-of-rise) ต้องใช้
ระยะห่างตามที่ผู้ผลิตกาหนด

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | 49

5.2.5 ระยะห่างจากช่องลมระบบปรับอากาศ
(1) ต้องติดตั้งให้อยู่ในตำแหน่งที่กระแสลม อุณหภูมิ และควำมชื้นจำกระบบปรับ
อำกำศไม่รบกวนหรือมีผลต่อกำรทำงำนของอุปกรณ์ตรวจจับนั้น
(2) ต้องติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับให้ห่ำงจำกหัวจ่ำยลมเย็น หรือช่องดูดลมกลับที่อยู่
ในระนำบเดียวกันกับอุปกรณ์ตรวจจับนั้น ไม่น้อยกว่ำ 1,000 มิลลิเมตร ทั้งนี้
ขึ้ น อยู่ กั บ ขนำดของหั ว จ่ ำ ยลม หรื อ ช่ อ งดู ด ลมกลั บ และควำมเร็ ว ลมวั ด ที่
ตำแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับนั้น ๆ
ย ่น)ลงมา
กำรติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับควำมร้อนชนิดี.จุด(สไ
5.2.6 ตาแหน่งติดตั้งที่เพดานแนวระดับราบที่มีตง หรือคานยื

.พทำได้ดังต่อไปนี้ m
ำหรับเพดำนเปลือยแนวระดับรำบ
เ อ ส ด
ั c o
จ้น.(solid joist) ก il.
ที่มีตงหรือคำนเรียงขนำนกันยื่นลงมำจำกเพดำน


ั เ จ ำ m a
ิ่ง บรำบปกติ g
(1) เพดำนที่ มี ต งรองพื หรื อ คำนที ่ ย ่ ื น ลงมำจำกเพดำนไม่ เ กิ น
100 ร มิลิษ ย
ี นร @
บ ิเน ่ลึกหรือยื0่น0
ลิเมตร ให้ถือเป็
(2) ตงรองพื้น็น หรืจ
เพดำนระดั
7

เ ำ และมีรtะยะห่
อคำนที
i 2
aำงระหว่ำงเส้นกึ่งกลำงตงไม่เกิน 1.00 เมตร ให้ติดตั้ง
ลงมำจำกเพดำนตั้งแต่ 100 มิลลิเมตร หรือ
h
p.บที่ใต้ตง โดยมีระยะห่ำงระหว่ำงอุปกรณ์ตรวจจับไม่เกินครึ่งหนึ่ง
มำกกว่
อุปกรณ์jตsรวจจั
ของระยะห่ำงบนเพดำนระดับรำบปกติ (1/2 s)
(3) คำน (beam) ที่ลึกหรือยื่นลงมำจำกเพดำนตั้งแต่ 100 มิลลิเมตร หรือมำกกว่ำ
มีระยะห่ำงระหว่ำงเส้นกึ่งกลำงคำนมำกกว่ำ 1.00 เมตร ติดตั้งทั้งที่ใต้ตงและ
เพดำนต้องลดระยะห่ำงระหว่ำงอุปกรณ์ตรวจจับที่อยู่ในแนวตั้งฉำกกับคำนลง
ร้อยละ 33 หรือมีระยะห่ ำงไม่เกินสองในสำมของระยะห่ำงระหว่ำงอุปกรณ์
ตรวจจับบนเพดำนระดับรำบ (2/3 s)
(4) คำนที่ลึกน้อยกว่ำ 300 มิลลิเมตร มีระยะห่ำงระหว่ำงเส้นกึ่งกลำงคำนน้อยกว่ำ
2.40 เมตร ให้ติดอุปกรณ์ตรวจจับที่ใต้คำน
(5) คำนที่ลึกมำกกว่ำ 300 มิลลิเมตร มีระยะห่ำงระหว่ำงเส้นกึ่งกลำงคำนมำกกว่ำ
2.40 เมตร ให้ติดอุปกรณ์ตรวจจับที่เพดำนระหว่ำงคำนดังนี้ (ดูรูปที่ 5.6)
ก. ถ้ำ d/h มำกกว่ำ 0.1 และ w/h มำกกว่ำ 0.4
ให้ติดอุปกรณ์ตรวจจับที่เพดำนระหว่ำงคำน
ข. ถ้ำ d/h น้อยกว่ำ 0.1 หรือ w/h น้อยกว่ำ 0.4
ให้ติดอุปกรณ์ตรวจจับที่ใต้คำนแต่ละคำน

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


50 | ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน

d
w
h

พื้นอาคาร

ย)
(ไ ท
ี.
หมายเหตุ h = ความสูงของเพดานจากระดับพื้น
d = ระยะที่ยื่นลงมาของคาน
ส . พ o m

จ. จำก อ
w = ระยะห่างระหว่างคาน

ั il. c
ัท เ m a
รูปที่ 5.6ิษ
ร ย
ี ร ง
่ ิ @ g
บ จิเน 7
เพดานแนวระดั บราบที ่มีคานยื่นลงมา (ดูภาคผนวก ข)
0 0
เอบ็นความร้tอhนชนิaดiเส้2น
spน.เส้น ใช้ตรวจจับความร้อนผิดปกติในพื้นที่ หรือที่บริภัณฑ์ โดย
5.3 อุปกรณ์ตรวจจั
j
อุปกรณ์มีลักษณะเป็
ตลอดความยาวของสายตรวจจับ ถือเสมือนเป็นอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุด ที่เรียงต่อ
กัน สามารถใช้ข้อกาหนดเดียวกับอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุดได้ (ดูข้อกาหนดที่ .5.1
ถึง .5.6)
5.3.1 ตาแหน่งติดตั้งสายตรวจจับความร้อน และระยะห่าง
การติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับที่เพดานระดับราบ ที่สูงจากพื้นไม่เกิน 3.00 เมตร จะมี
ระยะห่างที่กาหนดระหว่างอุปกรณ์ตรวจจับ (s) ไมเกิน 9.10 เมตร
(1) ต้องติดตั้งในลักษณะสอดคล้องกับพื้นที่ โดยความยาวสูงสุดของสายตรวจจับใน
แต่ละวงจรโซนตรวจจับ ต้องครอบคลุมพื้นที่ไม่เกินที่กาหนดในภาคที่ 3
(5) สายตรวจจับแต่ละเส้น ต้องไม่ใช้งานมากกว่า 1 โซนตรวจจับ
(3) กรณีที่อุปกรณ์ตรวจจับชนิดเส้นเป็นแบบหลายเส้นต่อเข้าด้วยกันเพื่อเพิ่มความ
ยาว ให้ถือว่าเป็นอุปกรณ์ตรวจจับเส้นเดียวกันเสมือนอุปกรณ์ตรวจจับชนิดจุด
หนึ่งชุด
(4) ต้องติดตั้งสายตรวจจับในตาแหน่งที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดความเสียหายทางกล

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | 51

(5) เพื่อการป้องกันเฉพาะ เช่น ตรวจจับที่ชั้นวางสินค้า เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ทาง


เลื่อน และรางสายเคเบิลไฟฟ้าเป็นต้น ต้องติดตั้งสายตรวจจับ ให้ใช้งานได้อย่าง
สมบูรณ์
5.3.2 ระยะห่างสาหรับการติดตั้งสายตรวจจับความร้อนที่เพดานระดับราบ
สาหรับพื้นที่ป้องกันที่มีเพดานระดับราบสูงจากพื้นไม่เกิน 3.00 เมตร ต้องติดตั้งให้
สายตรวจจับแต่ละเส้นห่างกัน (s) ไม่เกิน 9.10 เมตร และมีระยะห่างจากจุดใด ๆ ที่เพดานถึง
สายตรวจจับที่จุดใกล้ที่สุดต้องไม่เกิน 6.40 เมตร (0.7s) โดยต้องติดห่างจากผนังกั้นไม่เกิน
4.50 เมตร (1/2s) (ดูรูปที่ 5.7)
ไ ท ย)
ี. (
½ส
. พ o m
เ อ
จ. จำ0.7sก ด
ั il. c

s
a
½s

ัท 0.7s ริ่ง g m
0.7s
ร ษ

บ จิเนีย 07@
½ s อ็นs s i20
เ th a s ½s

p .
js
เส้นตรวจจับความร้อน
ต่อสายไปที่แผงควบคุม

½
s = ระยะห่างระหว่างอุปsกรณ์ตรวจจับที่กาหนด

รูปที่ 5.7 ตาแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดเส้นกับเพดานระดับราบ

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


52 | ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน

1.50
 0.50
บริเวณทีต่ ิดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับ

H H

 9.10
)
มิติเป็น เมตร

ท ย
(ไ
(ก) พื้นที่ที่ลาดเอียงไม่เท่ากัน

. พ ี.
อ ส c o m
. เ
จบริ0.50 ำ ก ด
ั il.
เ a
 1.50


ิ ัท เวณทีริ่งต่ ิดตั้งจอุปกรณ์ตรวจจัgบm
บรH จิเนีย H 07@
อ น
็ i 2 0
เ  t9.10ha H

j sp. มิติเป็น เมตร  3. 0 เมตร


(ข) พื้นที่หลังคาแบบฟันเลื่อย (ค) หลังคาที่มียอดแหลม

 1.50  1.50
 0.50  0.50
บริเวณทีต่ ิดตั้ง บริเวณทีต่ ิดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับ
อุปกรณ์ตรวจจับ
H H H H
จับ
 9.10
มิติเป็น เมตร

(ง) พื้นที่ที่ลาดเอียงเท่ากันทั้งสองด้าน

รูปที่ 5.8 (1) ตัวอย่างการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุดและชนิดเส้น

หมายเหตุ อุปกรณ์ตรวจจับควรติดตั้งทางด้านที่มีความลาดเอียงน้อยที่สดุ

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


ภาคที่ 5 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | 53

 1.50
กระจกหรือแก้ว  0.50
 0.35 บริเวณทีต่ ิดตั้ง
ใส
อุปกรณ์
H H
ช่องระบายอากาศ ตรวจจับ
 0.30 (Louvers)
H
H
ย)  9.10
(ไ ท
ี.(ฉ) เพดานหรือหลังคาที่มีช่องระบายอากาศ
 9.10 มิติเป็น เมตร มิติเป็น เมตร

ส . พ o m
เ อ ด

จ. จำกหลังคาครอบ (Hood)
(จ) เพดาน หลังคา หรือพื้นที่ที่มีช่องแสง
il. c
ัท เ m a
ร ษ
ิ ร ง
่ ิ g
บ จิเนีย H 07@ 0.3 เมตร
อ น
็ i 2 0
เ t h a
.
jsp
CL

(ช) หลังคาแบบมีสันระบายอากาศ

 5.00 เมตร  5.00 เมตร

H
ช่องระบายอากาศ
ช่องระบายอากาศ
(Louvers)
H H (Louvers)
H H
 9.10  9.10
มิติเป็น เมตร
(ซ) หลังคามีสันระบายอากาศแคบ (ฌ) หลังคามีสันระบายอากาศกว้าง

รูปที่ 5.8 (2) ตัวอย่างการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนชนิดจุดและชนิดเส้น

หมายเหตุ อุปกรณ์ตรวจจับควรติดตั้งทางด้านที่มีความลาดเอียงน้อยที่สุด

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)

You might also like