Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ย)
มาตรฐานระบบแจ้งี. เหตุ ท
(ไ เพลิงไหม้
ส .พ o m
เ อ
แก้ไ.ขปรั
จ งครัก้งทีัด่ 2
il. c

บปรุ

ัท มกราคม จ2562 gm a

ิ ร ง
่ ิ
บร จิเนีย 07@
อ น
็ i 2 0
เ t h a โดย
.
jspกรรมการมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
คณะอนุ
ใน คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ประจาปี 2560-2562

ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสภาวิศวกร
ปีงบประมาณ 2558

สงวนลิขสิทธิ์

ISBN 978-616-396-022-1 พิมพ์ครั้งที่ 1


มาตรฐาน วสท. 021002-19 มกราคม พ.ศ. 2562
EIT Standard 021002-19 ราคา 250 บาท
80 | ภาคที่ 8 ข้อกาหนดการติดตั้ง

8.2.3 พิกัดของแหล่งจ่ายไฟ
พิ กั ด ของแหล่ ง จ่ า ยไฟต้ อ งมี ข นาดไม่ น้ อ ยกว่ า ผลรวมของโหลดสู ง สุ ด ในข้ อ (1)
และ (5) ต่อไปนี้
(1) ผลรวมโหลดทั้งหมดของแผงควบคุมระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้รวมถึงบริภัณฑ์
ทั้งหมด ที่ใช้ไฟจากแหล่งจ่ายไฟของแผงควบคุมระบบขณะแจ้งสัญญาณ
(5) กระแสสูงสุดของเครื่องประจุแบตเตอรี่
หมายเหตุ เครื่องประจุแ บตเตอรี่ต้องสามารถประจุ แบตเตอรี่ ภายใน 24 ชั่วโมง เริ่ มจากที่

ย)
แบตเตอรี่ไฟหมด ให้แบตเตอรี่สามารถใช้งานได้นาน 5 ชั่วโมง ในสภาวะปกติ กับอีก 15 นาที ในสภาวะ

(ไ ท
ี.
แจ้งสัญญาณ

ส .พ o m
เ อ ด
ั c
8.2.4 พิกัดของแบตเตอรี่
เ จ. ่มีรายละเอี ยดดักงนี้
ำ a il.
จ่ต้องมีพิกgัดทีm
การกาหนดพิกัดของแบตเตอรี
(1) เมื่อแหล่ิษงจ่ัท
ายไฟฟ้าดับ ร ง
่ ิ

บ ไจด้ไิเม่น ีย ่วโมง7@
แบตเตอรี
น้ อยกว่า 54 ชั0
่จะสามารถจ่ายไฟให้ระบบใน
สภาวะปกติ
ให้กเับอ ็น งiเหตุ
0
2ได้ไม่น้อยกว่า 1 นาที
หลังจากนี้แล้ วจะต้องสามารถจ่ายไฟ

tกh a
.
ระบบในสภาวะแจ้

j
(5) ในการคานวณพิ p
s ัดของแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ใหม่ต้องมีพิกัดไม่ต่ากว่า ร้อยละ
15 ของค่าที่คานวณได้ตามข้อกาหนด โดยใช้ฐานพิกัดสู ญเสียร้อยละ 50 ของ
พิกัดแบตเตอรี่ตลอดอายุการใช้งาน
8.2.5 แบตเตอรี่และเรือนบรรจุ
เรือนบรรจุ หรือตู้ หรือแผงบรรจุแบตเตอรี่ ต้องอยู่ในที่ซึ่งเข้าตรวจสอบได้สะดวก
สายต่อขั้วแบตเตอรี่ต้องแสดงขั้วให้ชัดเจนเพื่อป้องกันการใส่สายสลับกัน การต่อสายหรือขั้ว
แบตเตอรี่ทั้งหมดต้องใช้ตัวต่อชนิดที่เหมาะสม ห้ามต่อไฟจากแบตเตอรี่ไปใช้กับโหลดอื่น
นอกจากที่ใช้กับแผงควบคุมระบบ
8.2.6 การคานวณพิกัดของแบตเตอรี่
การคานวณหาพิกัดของแบตเตอรี่ และเครื่องประจุแบตเตอรี่ (battery charger)
จะต้ อ งค านวณจากโหลดทั้ ง หมดที่ ต่ อ อยู่ ใ นวงจร และต้ อ งพิ จ ารณาทั้ ง สภาวะแจ้ ง เหตุ
และสภาวะใช้งานปกติ การคานวณให้ดาเนินการดังนี้
AhLIFE = (IQ x TQ) + (IA x 0.25)
AhREQ = [(IQ x TQ) + (IA x 0.25)] x 1.25

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)


ภาคที่ 8 ข้อกาหนดการติดตั้ง | 81

กาหนดให้
AhLIFE = พิกัดของแบตเตอรี่เมื่อสิ้นสุดอายุการใช้งาน เป็นแอมแปร์-ชั่วโมง
AhREQ = พิกัดที่ต้องการของแบตเตอรี่ เป็นแอมแปร์-ชั่วโมง
IQ = ผลรวมกระแสไฟฟ้าของโหลดในสภาวะใช้งานปกติ เป็นแอมแปร์
TQ = จานวนชั่วโมงสารองที่ต้องการ
IA = ผลรวมกระแสไฟฟ้าของโหลดในสภาวะแจ้งเหตุ เป็นแอมแปร์
0.5 = จานวนชั่วโมงแจ้งเหตุ (ค่าคงที่)
ย)
หมายเหตุ ดูตัวอย่างการคานวณหาพิกัดของแบตเตอรี่ในภาคผนวก ง
(ไ ท
8.2.7 ข้อควรระวังเพื่อป้องกันการทางานขั.ดพ ข้องี.
อ ส c o m
จ .เ ำ ก ด
ั il .
เ a าสาหรับประเทศไทย
ิ่ง จ
การเชื่อมต่อสายระหว่างแผงควบคุ ม ระบบแจ้ ง เหตุ เ พลิ ง ไหม้ ก ั บ แผงควบคุ มย่อยที่
ติดตั้งแยกคนละสถานที่ ต้ัท ดตัm
ร ิษ ย
ี ร @ g
องทาให้ถูกต้องตามมาตรฐานการติ ้งทางไฟฟ้
บ จ ิเน 0 7


8.2.8 โหลดรอง (Ancillary Load)
2 0
i งไหม้ บริภัณฑ์โมดุลย์ที่ระบุตาแหน่งได้ และ
อน บริภัณฑ์hแสดงผลเพลิ
โหลดรองเเช่ a
p . t
js
บริภัณฑ์ต่อร่วม (interface equipment) ที่ใช้ควบคุมระบบอื่น ๆ เป็นต้น ที่ติดตั้งห่างไกล
จากบริภัณฑ์แผงควบคุมระบบ ต้องใช้ไฟจากชุดจ่ายไฟเสริม (auxiliary power supply) ที่มี
การตรวจคุมการจ่ายไฟพร้อมแบตเตอรี่สารองไฟ และเครื่องประจุแบตเตอรี่ ในพิกัดตามการ
คานวณในข้อ 8.5.6
อนึ่งบริภัณฑ์ต่อร่วมที่ประกอบด้วยขั้วต่อสาย รีเลย์ หรือคอนแทกเตอร์ หรืออุปกรณ์
ไฟฟ้าอื่นใดก็ตาม ต้องทางานภายในพิกัดทางไฟฟ้าของหน้าสัมผัสรีเลย์ของแผงควบคุมระบบ
แจ้งเหตุเพลิงไหม้ โดยบรรจุอยู่ในตู้ควบคุมที่มีป้ายระบุข้อความ “ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้”

8.3 การต่อเข้ากับระบบที่ติดตั้งไว้แล้ว
การต่อเข้ากับระบบที่ติดตั้งไว้แล้ว ต้องสอดคล้องตามข้อกาหนดต่อไปนี้
(1) การต่อเติมจากระบบเดิมที่มีอยู่แล้ว ต้องทาการทดสอบระบบรวมทั้งหมดเพื่อให้
มั่ น ใจว่ า บริ ภั ณ ฑ์ แ ละการติ ด ตั้ ง ทั้ ง หมดใช้ ง านร่ ว มกั น ได้ ดี และตรงตาม
จุ ด ประสงค์ บริ ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ที่ จ ะน ามาติ ด ตั้ ง ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ที่ ก าหนดไว้ ใ น
มาตรฐานนี้

มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (วสท. 021002-19)

You might also like