Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

ปิตาธิปไตย : ภาพสะท้อนแห่งความไม่เสมอภาค

ระหว่างชายหญิงในสังคมเอเชีย
Patriarchy : The Reflection of the Inequality between Male and
Female in Asian society.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์ 1

บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาภาพรวมของแนวคิดปิตาธิปไตยในปริบทสังคมวัฒนธรรมภูมิภาค
เอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสังคมวัฒนธรรมจีน อินเดีย และไทย พบว่าแนวคิดปิตาธิปไตยแต่อดีตยัง
ดำ�รงอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ในทั้งสามสังคมวัฒนธรรมอนึ่งแนวคิดดังกล่าวลดน้อยลงในสังคมวัฒนธรรม
ไทยปัจจุบัน ขณะที่สังคมวัฒนธรรมจีนและอินเดียนั้น แนวคิดนี้ยังดำ�รงอยู่อย่างไม่เสื่อมคลาย
ภาพสะท้อนแห่งความไม่เสมอภาคระหว่างชายหญิงจึงยังปรากฏตลอดมา

คำ�สำ�คัญ : ปิตาธิปไตย, สังคมเอเชีย, เพศสภาวะ และความไม่เสมอภาคระหว่างชายหญิง

ABSTRACT
This academic article aims to studying about Patriarchy of the Asian socio-cultural
context, especially Chinese and Indian socio-cultures to compare with Thai socio-culture
show that Patriarchy in three socio-cultures have maintained until now. Namely, that
conception in the present Thai socio-culture decrease gradually. However it has sustained
permanently yet both Chinese and Indian socio-cultures. Thus reflection of the
inequality between male and female has kept up always.

Keywords : Patriarchy, Asian society, Gender and The inequality


between male and female
1
อาจารย์ประจำ�ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
31

บทนำ� ในแทบทุกด้าน (สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย.


ฐานความคิดของบทความนี้ได้จากการเรียนรู้ 2550 : 15) สอดคล้องกับกำ�จร หลุยยะพงศ์
เกี่ยวกับวิธีคิดแบบสตรีนิยม เป็นแนวคิดที่เน้น (2544 : 186) กล่าวถึงสังคมวัฒนธรรมปิตาธิปไตย
การอธิบายเรื่องความไม่เสมอภาคระหว่างชาย (สังคมพ่อเป็นใหญ่) จะวางศูนย์กลางแห่งรักของ
หญิง ซึ่งมีหลายแนวทางด้วยกันแตกต่างกันไป ครอบครัวให้เป็นภาระหน้าที่ของผู้หญิงหรือแม่
ตามจุดมุ่งหมาย วิธีการเข้าสู่ปัญหา ความคิด ส่วนพ่อจะทำ�หน้าที่เป็นเพียงเจ้านายหรือผู้แสดง
พื้นฐาน และแนวทางแก้ไขปัญหา เช่นสตรีนิยม อำ�นาจในบ้าน อนึ่งเมื่อผู้ชายหรือพ่อใช้อำ�นาจ
แนวเสรีนิยม สตรีนิยมแนวสังคมนิยม สตรีนิยม อั น เกิ น พอดี ป ฏิ บั ติ ต่ อ สมาชิ ก ในครอบครั ว
แนวก้ า วหน้ า และสตรีนิยมแนววัฒนธรรม ปัญหาต่างๆ จึงปรากฏ ดังนี้ (กำ�จร หลุยยะพงศ์
(สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. 2550 : 16) : 148 – 149)
สอดคล้องกับ ปฐมาภรณ์ บุษปธำ�รง (2546)
ได้อ้างถึงการศึกษาของกฤตยา อาชวนิจกุล ภายในครอบครัว พ่อจะเป็นใหญ่โดยมีแม่
ซึ่งเสนอว่า หัวใจของความเชื่อในระบบวิธีคิด เป็นผู้ตกอยู่ในอำ�นาจกับลูก พ่อจะทำ�หน้าที่เป็น
ของสตรีนิยมวางอยู่บนแกนหลักในการวิเคราะห์ เจ้าของที่ดิน การผลิต ตลอดจนการเป็นเจ้าของ
ระบบสังคมสามประการ คือ การตกผลึกของ เมียและลูก...สังคมพ่อเป็นใหญ่พิจารณาได้จาก
ระบบวิธีคิดแบบผู้ชายเป็นใหญ่ (ปิตาธิปไตย) พฤติกรรมที่พ่อจะเป็นผู้ตั้งชื่อของลูก กล่าวได้ว่า
ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย พ่ อ สามารถกำ � หนดและชี้ ช ะตาครอบครั ว ได้
และโครงสร้ า งทางสั ง คมอั น เป็ น ตั ว กำ � หนด โดยแม่จะทำ�หน้าที่ทำ�งานบ้าน รับใช้สามี ดูแล
ความไม่เท่าเทียมกันระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย ลูก และคนชรา (ซึ่งยังคงตอกยำ�้หน้าที่ดังกล่าว
โดยผ่านสถาบันครอบครัวและระบบเครือญาติ จนถึงปัจจุบัน) ปัญหาซึ่งตามมา คือ การใช้
สถาบันการเมืองการปกครอง และสถาบันทาง อำ�นาจครอบงำ�อันที่มากเกินไปของผู้ชายหรือ
ศาสนา เป็นต้น การวิเคราะห์ระบบสังคมโดยมี พ่อ อาทิ ปัญหาความรุนแรงในบ้าน (domestic
การควบคุมจากระบบชายเป็นใหญ่ หรือปิตาธิปไตย violence) การข่มขืนหรือทุบตีภรรยา (marital
ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวางทั่วโลกมีสาระ violence) รวมทั้งการล่วงเกินทางเพศในบ้าน
สังเขป กล่าวคือ “ชายเป็นใหญ่” มักใช้ในการ (taboo)
อธิบายลักษณะครอบครัวทีถ่ อื เอาฝ่ายชายเป็นใหญ่
เป็นผู้นำ� ในปัจจุบันมีผู้ให้ความหมายครอบคลุม นอกจากนี้กำ�จร หลุยยะพงศ์ ยังได้กล่าวถึง
ไปใน ๓ ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะที่ฝ่ายชายมี ประวัติศาสตร์ของสังคมปิตาธิปไตยตะวันตกว่า
อำ�นาจครอบงำ�ฝ่าย หญิง ลักษณะความสัมพันธ์ นักสตรีนยิ มได้วพิ ากษ์แนวคิดจิตวิเคราะห์เกีย่ วกับ
เชิงอำ�นาจที่ฝ่ายชายอยู่เหนือฝ่ายหญิง และ อำ�นาจของพ่อในบ้านน่าจะมาจากแนวคิดสังคม
ลักษณะทีฝ่ า่ ยหญิงตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบฝ่ายชาย พ่อเป็นใหญ่ในสังคมวิกตอเรียน และกระจาย
32

ความคิดดังกล่าวสู่สถาบันศาสนา การปกครอง ที่ 19 จิตเวชศาสตร์ได้จดั ให้ ฮิสทีเรีย เป็นรูปแบบ


สาธารณสุข เป็นต้น โดยสร้างภาพของพ่อดีและ ความเจ็บป่วยเชิงพฤติกรรมทีม่ เี ฉพาะในเพศหญิง
แม่ ด ี ตลอดจนให้คำ�นิยามความเป็นพ่อและ เท่านั้น เดิมที่เชื่อว่า คือ โรคของ “มดลูก”
ความเป็นแม่ โดยอยู่บนฐานความคิดว่า “แม่ การรักษาก็ทำ�โดยการทำ�ร้ายบริเวณรังไข่ หรือ
ควรเป็ น ผู้ ดู แ ลและอบรมลู ก ตั้ ง แต่ เ ล็ ก จนโต” มดลูกโดยตรง แต่ฟรอยด์คือผู้ปฏิวัติแนวการ
(กำ � จร หลุ ย ยะพงศ์ : 185) คุณ ค่าของผู้ห ญิง วิ นิ จ ฉั ย โรคนี้ เ สี ย ใหม่ ใ นเชิ ง ประสาทวิ ท ยา
ซึ่งถูกลดทอน ส่วนหนึ่งนั้นมาจากแนวคิดแบบ (ไชยันต์ ไชยพร. 2548 : 14)
ตะวันตกที่ได้รับอิทธิพลจากนักคิดนักวิชาการ การรักษาของฟรอยด์ คล้ายคลึงกับ
รวมทัง้ วิทยาการสาขาต่างๆ ในปัจจุบนั ซึง่ ประเทศ การสะกดจิต โดยให้คนไข้นอนปิดตาแล้วจึง
ตะวันออกรับมาจากประเทศตะวันตก โดยขาด สนทนา หรือเรียกว่า “การรักษาด้วยคำ�พูด”
การประยุ ก ต์ ใ ห้ เ หมาะสมตามปริ บ ทสั ง คม ซั ก ถามคนไข้ โ ดยให้ เ ล่ า เรื่ อ งอดี ต แบบรื้ อ ฟื้ น
วัฒนธรรมของตน ด้วยเหตุนี้จึงเป็นที่มาของ ความทรงจำ� ซึ่งเรียกว่า การปลดปล่อยจาก
ปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อันมาจากวิธีคิด ภายใน
แบบปิตาธิปไตย ฟรอยด์มิได้พิจารณาเพศวิถีแบบทั่วๆ
ผูเ้ ขียนขอนำ�เสนอ แนวคิดแบบตะวันตกทีเ่ ป็น ไปว่า เป็นเรื่องธรรมชาติ หรือเป็นสิ่งที่กำ�หนด
รูปแบบการมองผู้หญิงแบบอคติ 2 แนวคิด ดังนี้ โดยปัจจัยทางชีววิทยา แต่พิจารณาว่าเพศวิถี
1. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ของผู้ใหญ่ มีต้นกำ�เนิดมาจากเพศวิถีของทารก
ซิ ก มั นด์ ฟรอยด์ (1856-1939) เพศวิถีจึงปรากฏแบบก่อน-ประวัติศาสตร์ ไม่ใช่
นั ก จิ ต วิ ท ยาชาวออสเตรี ย ผู้ คิ ด ค้ น ทฤษฎี ปรากฏในวัยผู้ใหญ่อย่างไม่มีที่มา ฟรอยด์จึงเป็น
“จิตวิเคราะห์” ได้แสดงแนวคิดไว้ ดังนี้ คนแรกที่เป็นผู้ตระหนักว่า มีสิ่งซึ่งเป็นเรื่องเล่า
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์เชื่อว่า อัตลักษณ์ หรือเรื่องสำ�หรับบอกกล่าวแฝงเร้นอยู่ในเพศวิถี
กำ�เนิดมาอย่างสัมพันธ์กับความปรารถนาและ อันเป็นเรื่องสำ�คัญซึ่งต้องทำ�ความเข้าใจ
เพศวิถี ฟรอยด์เชื่อว่า มนุษย์ดำ�รงตนในฐานะ ฟรอยด์ได้เรื่องเล่าของเพศวิถีมีกำ�เนิด
“องค์ประธาน” องค์ประธานย่อมบ่งชีว้ า่ อัตลักษณ์ ในวัยเด็ก เป็นความปรารถนาต่อมารดา จึงเห็น
ขึ้ น อยู่ กั บ ปรารถนาทางเพศและจิ ต ไร้ สำ � นึ ก พ่อเป็นศัตรูจนกระทั่งกระทำ�ปิตุฆาต เกิดเป็นปม
แนวคิดแบบจิตวิเคราะห์นี้มีความสำ�คัญยิ่งต่อ โอดิปุส ปมโอดิปุสดังกล่าวนี้ทำ�ให้ผู้หญิงริษยา
แนวคิดสตรีนิยม เนื่องจากเป็นการก่อเกิดด้วย ต่อความแตกต่างของอวัยวะเพศตนเอง สมมติฐาน
การท้าทายของฟรอยด์ตอ่ ความคิดเรือ่ งโรคฮิสทีเรีย ของฟรอยด์แสดงว่า การที่ผู้หญิงไม่มีอวัยวะเพศ
ว่าเป็นอาการผิดปรกติของผู้หญิงซึ่งมองเห็นได้ แบบผู้ชาย เป็นการขาดตัวตนและขาดอัตลักษณ์
คำ�ว่า ฮิสทีเรีย (Hysteria) มาจากภาษา จึงเกิดความริษยา
กรีกว่า ฮิสทีรา หมายถึง มดลูก ปลายคริสตศตวรรษ
33

ความริ ษ ยาต่ อ อวั ย วะเพศของบุ รุ ษ Yin Yang


คือ ลักษณะอันเป็นแก่นแห่งพัฒนาการทางเพศ หญิง ชาย
วิถีของผู้หญิง “ความขาดเชิงกายวิภาค” ของ เย็น, เปียก ร้อน, แห้ง
เด็ ก หญิ ง ทำ � ให้ เ ธอปรารถนาต่ อ อวั ย วะเพศ กลางคืน กลางวัน
ของบิดา เพื่อแก้ไขปมนี้ให้หลุดออก เธอต้อง พระจันทร์ พระอาทิตย์
แทนที่ความปรารถนานี้ด้วยความต้องการมีบุตร อ่อนแอ แข็งแรง
ดังนั้น “ความแตกต่าง” สำ�คัญซึ่งอาจสรุปได้
จากเรือ่ งเล่าเกีย่ วกับอัตลักษณ์ทางเพศ ตามทัศนะ อานันท์ กาญจนพันธุ์ (2549) กล่าวถึง
ของฟรอยด์ ได้ดังนี้ (ไชยันต์ ไชยพร. 2548 : บทความเรื่อง สตรีนิยมและวัฒนธรรมศึกษา
21-22) ในหนังสือ อยู่ชายขอบมองลอดความรู้ มอง
1. ความเป็นชายหรือหญิงถูกกำ�หนด ความหมายแฝงที่กล่าวถึงผู้หญิง ของกาญจนา
เงื่อนไขตามการมีหรือไม่มีลึงค์ แก้วเทพ (2549) ได้แสดงทัศนะไว้วา่ ความหมายแฝง
2. เพศวิถีมีเพียงชนิดเดียวคือชนิด ที่ ก ล่ า วถึ ง ผู้ ห ญิ ง นั้ น มี นั ย ยะทั้ ง ทางบวกและ
ที่เกี่ยวกับลึงค์ ทางลบ แต่โดยส่วนใหญ่แล้วเป็นด้านลบ
3. หากมองแบบชายเป็นใหญ่ ลึงค์ ลั ก ษณะการเปรี ย บเที ย บระหว่ า ง
คือสัญลักษณ์แทนความเหนือกว่า ชาย-หญิง ซึ่งกาญจนาได้ค้นพบนั้น อาจกล่าว
4. ลึ ง ค์ แ ละปมโอดิ ป ุ ส เป็ น สิ ่ ง โดยสรุปได้ ดังนี้
ซึง่ สถาปนาอัตลักษณ์ทางเพศของเด็กและสร้างจิต 1. เป็นสิ่งที่มีอยู่เพียงสิ่งเดียว สิ่งที่
ไร้สำ�นึก งอกได้ ส่วนอ่อน เช่น ไข่แดง (น่าจะหมายถึง
5. ฟรอยด์อธิบายเพศวิถีของชาย พรหมจารีของผู้หญิง)
และหญิงโดยใช้ตวั แบบของบุรษุ เพียงตัวแบบเดียว 2. เป็นสิ่งซึ่งต้องพึ่งพิงสิ่งอื่น เช่น
ไม้เลื้อย
2. ทฤษฎีสัญลักษณ์เชิงเปรียบเทียบ 3. มีอายุชั่วคราว เช่น ของเล่น
โคล์ด เลวี่ สเตราด์ นักมานุษวิทยา 4. สิ่งไร้ค่า เช่น ดอกหญ้า
ชาวฝรัง่ เศส ผูเ้ ปรียบเทียบชาย-หญิงในเชิงสัญลักษณ์ 5. สิ่งชั่วร้าย อันตราย น่ากลัว เช่น
ในแบบสากล ผู้เขียนคิดว่า ลักษณะดังกล่าวนี้ก็ งู เสือ
แสดง อคติตอ่ สตรีเพศในแง่สญั ลักษณ์ (Symbolic ทฤษฎี สั ญ ลั ก ษณ์ เ ชิ ง เปรี ย บเที ย บ
Classification) (Classification system based of binary
Classification system based of opposition) ของโคล์ด เลวี่ สเตาร์ต ซึ่งแสดงว่า
binary opposition เช่น สัญลักษณ์เป็นการสร้างอัตลักษณ์ และ/หรือ
มายาคติ ค รอบงำ � ทั้ ง ชายและหญิ ง ให้ แ บ่ ง แยก
34

“เขา” หรือ “เรา” “ดีกว่า” หรือ “เลวกว่า” พรรคการเมืองและเจตคติของผู้มีอำ�นาจทางการ


นั้นเป็นรูปแบบความคิดในเชิงอคติ โดยกดทับ เมืองอันเป็นอุปสรรคขวางกั้นการมีส่วนร่วมของ
สถานะอีกฝ่ายให้เป็นผู้ถูกกระทำ� แนวคิดนี้ สตรี เ พื ่ อ บริ ห ารรั ฐ กิ จ นอกจากนี ้ ย ั ง รวมถึ ง
เป็ น แนวคิ ด แห่ ง การแบ่ ง แยกอย่ า งชั ด เจน เจตคติและการกระทำ�ซึ่งเลือกปฏิบัติ คือผลัก
เป็นแนวคิดตะวันตกซึ่งมุ่งแสวงหาอาณานิคม ภาระความรับผิดชอบต่อครอบครัวและการดูแล
แบบจักรวรรดินิยม ทั้งยังแสดงรูปแบบชนชั้น เด็กแกสตรีฝ่ายเดียว เจตคติแห่งสังคมซึ่งมอง
ศักดินาแบบยุโรปซึ่งกดขี่ผู้ด้อยกว่าโดยสื่อผ่าน ว่าการเมืองมิใช่เรื่องของสตรี และการใช้เงิน
จำ�นวนมากเพือ่ การหาเสียงเลือกตัง้ และการดำ�รง
คำ�สอนทางศาสนาและการปกครอง
อยู่ในตำ�แหน่ง อาจทำ�ให้สตรีเกิดความท้อถอย
นอกจากนั้นยังมีทฤษฎีอื่นๆ อีกซึ่ง
ที่ จ ะลงสมั ค รรั บ เลื อ กตั้ ง และเข้ า มี บ ทบาท
เกี่ยวกับสตรีนิยม อาทิ ทฤษฎีสังคมนิยมของ ทางการเมือง
คาร์ล มาร์กซ และเฟเดอริก เฮงเกล และทฤษฎี มุเฏาะฮารี มุระตะฎอ (2530 : 264) ได้
วิวัฒนาการทางสังคมสายเดียว Unilineal ของ กล่าวถึงวัฒนธรรมถือชายเป็นใหญ่ซึ่งแสดงภาพ
นักมานุษยวิทยาอเมริกัน ลิวอิส เฮนรี่ มอร์แกน แห่ ง ความไม่ เ สมอภาคระหว่ า งหญิ ง และชาย
การแบ่ ง แยกทางเพศจึ ง ตั ด ขาดการ ดั ง ปรากฏในสั ง คมมุ ส ลิ ม ซึ่ ง ถ่ า ยทอดผ่ า น
ลื่นไหลของเพศสภาวะ โดยสร้างกฎเกณฑ์เพื่อ กฎหมายอิ ส ลามเกี่ ย วกั บการแบ่ ง ทรั พ ย์ ม รดก
เป็ น มู ล เหตุ แ ห่ ง ความไม่ เ สมอภาคทางเพศ ว่า “หญิงได้รับส่วนแบ่งมรดกเพียงครึ่งหนึ่ง
เป็นปัญหาที่หยั่งรากลึกในระบบความคิดของทั้ง ของส่วนแบ่งของชาย ลูกชายได้มากเป็น 2 เท่า
หญิงและชาย อย่างไรก็ดเี มือ่ พิจารณาสภาพการณ์ ของลูกหญิง พี่ชาย น้องชายได้รับมรดกมาก
ของสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย ภาพแห่ง เป็น 2 เท่าของพี่สาว น้องสาว สามีก็ได้มาก
ความเหลื่อมลำ�้ทางเพศ อาจแสดงได้ ดังต่อไปนี้ เป็น 2 เท่าของภรรยา”
อารีวรรณ จตุทอง (2551 : บทคัดย่อ) ขณะที่วิระดา สมสวัสดิ์ (2551 : หน้า ก ใน
กล่าวโดยสรุปเกี่ยวกับปัญหาความไม่เสมอภาค เรือ่ งราวของภิกษุณวี นั วาน และวันนี)้ ได้พจิ ารณา
ว่าแนวคิดทางศาสนานั้นมีส่วนสนับสนุนระบบ
ระหว่างชายหญิงในสังคมไทยนั้น มีรากฐานมา
ชายเป็นใหญ่ ดังคำ�กล่าวว่า
จากโครงสร้างสังคมที่ไม่มีความเสมอภาคอย่าง
แท้จริง ทำ�ให้มีกฎหมายซึ่งไม่ส่งเสริมความเสมอ นับเป็นเวลาหลายร้อยปีแล้วที่ผู้ชายครอบงำ�
ภาค อีกทั้งสตรีมิได้มีโอกาสเข้าสู่อำ�นาจเพื่อการ และควบคุมการนำ�ในองค์กรทางศาสนา ภายใต้
ตัดสินใจ ตลอดจนการบริหารทรัพยากรของรัฐ ระบบสังคมปิตาธิปไตยอันมีมาหลายศตวรรษ
เพราะสตรีไม่ได้รับบทบาททางการเมืองเต็มที่ เกือบทุกศาสนา จัดระเบียบเปิดทางให้ผู้หญิงมี
สตรีได้รบั ตำ�แหน่งทางการเมืองในสัดส่วนทีน่ อ้ ยมาก บทบาทเพียงเป็นรองผู้ชาย ระบบความเชื่อและ
อั น เกิ ด จากแบบแผนการทำ � งานดั้ ง เดิ ม ของ จารีตประเพณีได้สืบทอด ผลิตซำ�้อย่างสอดคล้อง
35

กั น เพื่ อ ดำ � รงความเป็ น ผู้ นำ � ในสั ง คมของกลุ่ ม ส่วนระบบการแต่งงานของสังคมอินเดีย ผูห้ ญิง


เพศชาย แม้ว่าเมื่อเริ่มแรกก่อตั้งนั้นปรัชญา จำ � เป็ น ต้ อ งหาเงิ น ค่ า สิ น สอดมอบแก่ ฝ่ า ยชาย
ของศาสนาใหญ่ๆ ได้ให้ความสำ�คัญต่อผู้หญิง (อาวาหะ) ในลักษณะเอารัดเอาเปรียบฝ่ายหญิง
ในศาสนาและกิจการของส่วนรวมหลายๆ เรื่อง ฉะนั้นในสังคมอินเดียผู้หญิงจึงไม่มีบทบาทหรือ
ทว่าภายหลังในบางแห่งอิทธิพลจากกลุ่มเคร่ง ผลดีต่อเศรษฐกิจเท่าเทียมผู้ชาย เนื่องจากการ
คัมภีร์ซึ่งมุ่งใช้ความรุนแรงในสังคมมีเพิ่มมากขึ้น มีบุตรีในสังคมอินเดียนั้น ในอนาคตเมื่อลูกสาว
และกลุ่มอนุรักษ์นิยมได้ดัดแปลงกฎเกณฑ์เพื่อ เติ บ ใหญ่ ขึ้ น พ่ อ แม่ ต้ อ งมี ภ าระเรื่ อ งค่ า สิ น สอด
ควบคุมและเอาเปรียบผู้หญิง จนมีความเห็นจาก ด้วยเหตุนี้ลูกสาวจึงไม่พึงปรารถนาและมักถูก
นักสตรีนิยมจำ�นวนหนึ่งว่าเป็นการทำ�ให้ศาสนา ขายแก่คณะละครรำ� ให้เป็นนางระบำ� หากไม่
ถดถอย เพราะถูกใช้เป็นเครื่องมือในการครอบงำ� เช่ น นั้ น แล้ ว พ่ อ แม่ ก็ จั ก ต้ อ งกู้ ห นี้ ยื ม สิ น เพื่ อ ให้
สังคมเพื่อบ่อนทำ�ลายสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรี ลูกสาวได้สมรส เพราะผู้หญิงที่ไม่ได้แต่งงาน
อันชอบธรรมของกลุ่มผู้หญิง หรื อ ภรรยาผู้ มิ อ าจกำ � เนิ ด บุ ต รเพื่ อ สื บ สกุ ล ใน
สังคมอินเดียนั้น ถือเป็นผู้หญิงผิดปกติและเป็น
ส่วนโลกอารยธรรมตะวันออกของสองมหา กาลกิณี
อำ�นาจด้านวัฒนธรรมอย่างประเทศจีน และ นอกจากนี้ ลั ก ษณะการถื อ ชายเป็ น ใหญ่ ใ น
ประเทศอินเดียก็สามารถพบลักษณะปิตาธิปไตย สังคมอินเดีย อาจพิจารณาได้จากวิถีปฏิบัติของ
ที่มีการกดขี่ ความไม่เท่าเทียมกัน รวมไปถึงการ ผู้หญิงฮินดู ดังที่พระมหาสุพัฒน์ คำ�ปาแก้ว
ทารุณกรรมต่อสตรีเพศ (2552) กล่าวไว้ว่า
สังคมฮินดูในอินเดียซึ่งปกครองโดยพราหมณ์
ผูช้ ายทีท่ �ำ หน้าทีป่ ระกอบพิธกี รรมในด้านศาสนกิจ การสู ญ เสี ย อิ ส รภาพอี ก อย่ า งหนึ่ ง ก็ คื อ
ผู้ชายจึงมีสถานะสูง และมองผู้หญิงเป็นมลทิน ผู้หญิงต้องทนลำ�บากเพื่อแลกกับความสุขสบาย
หรือสิ่งสกปรก แม้ผู ้ ห ญิ ง ในวรรณะสู ง ก็ ตาม ต้ อ งทนทุ ก ข์
ความคิดที่เชื่อว่าผู้หญิงมีคุณสมบัติเป็นมลทิน ทรมานเพราะข้ อ ปฏิ บั ติ ท างประเพณี ที่ ก ดดั น
นอกจากเหตุผลทางด้านพิธีกรรมแล้ว ความหวั่น สตรีเพศ เช่น ประเพณี Purdah และ Sati
เกรงว่ า ผู้ ห ญิ ง ย่ อ มมี บ ทบาทสำ � คั ญ เพื่ อ การให้ หรื อ แม้ แ ต่ ก ารแต่ ง งานตั้ ง แต่ เ ป็ น เด็ ก รวมถึ ง
กำ�เนิดบุตร ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่ทำ�ให้ผู้หญิงใน การไม่ยอมรับความเป็นหญิงม่ายในสังคม
สังคมฮินดูถกู พิจารณาว่าเป็นเพศทีน่ า่ รังเกียจมาก Purdah หมายถึง ผ้าม่าน คือผ้าที่ต้อง
ที่สุด หากพิจารณาตามแนวคิดประชาธิปไตย ใช้คลุมหน้า และความหมายหนึ่ง คือ การปิดกั้น
สมัยใหม่แล้วประเด็นนี้เป็นเรื่องน่าตกใจมากที่ สิทธิของผู้หญิงในสังคม เดิมทีมาจากศาสนา
โลกยุคนี้ยังมีการดูหมิ่นสตรีเพศได้ถึงเพียงนั้น อิ ส ลาม แต่ ก ็ ม ี อ ิ ท ธิ พ ลไปถึ ง ครอบครั ว ของ
โดยพื้นฐานแล้วจึงอาจกล่าวได้ว่าผู้ชายอินเดีย ชาวฮิ น ดู ว รรณะสู ง ในอิ น เดี ย ภาคเหนื อ อยู่
ย่อมอยู่ในฐานะเหนือผู้หญิงในทุกระดับสังคม บางครั้งผู้หญิงก็ต้องรีบเอาชายผ้าส่าหรีส่วนบน
(ปราณี วงศ์เทศ. 2544 : 230) ปกคลุมหน้าตัวเองถ้าเจอผู้ชายแปลกหน้า
36

Sati หมายถึง ผูห้ ญิงทีม่ คี วามเชือ่ มัน่ ต่อประเพณี ระบบความเชื่ อ ในลั ท ธิ เ ต๋ า และขงจื๊ อ อั น เป็ น
คือผู้หญิงในวรรณะสูงต้องทำ�อัตวินิบาตกรรม ศาสนาดั้งเดิมก็เป็นมูลเหตุอย่างหนึ่งซึ่งแสดงว่า
ในพิธีเผาศพสามีของตัวเอง เพื่อจะได้ชื่อว่า ผู้หญิงจีนนั้นเป็นรองผู้ชาย ความเชื่อว่าความ
เป็นการรักษาประเพณีอย่างเคร่งครัด ผู้หญิงใน เจริญรุ่งเรืองของแต่ละราชวงศ์ขึ้นอยู่กับความ
วรรณะสูง ต้องแต่งงานเมื่อยังเยาว์ และน้อยคน พอใจแห่งสวรรค์ กษัตริย์คือโอรสสวรรค์ และ
ที่จะได้กลับมาแต่งงานใหม่ หากเธอเป็นม่าย ความพอใจของสวรรค์นั้นเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อ
การฆ่าทารกเพศหญิง และการทำ�แท้งใน กษั ต ริ ย์ ใ นราชวงศ์ ใ ดไร้ ค วามสามารถในการ
กรณี ที่ ตั้ ง ครรภ์ เ พราะขาดความรู้ ใ นการมี
ปกครองบ้านเมืองมิอาจให้ราษฎรมีความสุขได้
เพศสั ม พั น ธ์ ก็ เ ป็ น แรงกดดั น ผู้ ห ญิ ง ในอิ น เดี ย
สวรรค์ก็จะส่งโอรสองค์ใหม่มาล้มล้างราชวงศ์
ให้ มี แ ต่ ท ารกเพศชายเท่ า นั้ น เพราะว่ า ลู ก ชาย
เท่ า นั ้ น ที ่ จ ะสื บ ทอดมรดก หรือประกอบพิธี เก่า แล้วสถาปนาราชวงศ์ใหม่แทนที่ได้ ความ
เผาศพของบิดามารดาได้ เพราะมีความเชื่อว่า โปรดปรานจากสวรรค์นั้น ได้แก่ การปกครอง
เขาจะช่วยให้วิญญาณมีความปลอดภัย เดินทาง แผ่นดินตามกฎแห่งธรรมชาติ หากประพฤติผิด
ไปสู่ความพ้นทุกข์ได้ จากบัญชาสวรรค์ หรือปกครองบ้านเมืองให้
ระสำ�ระสาย สวรรค์ก็จะลงโทษให้ราชวงศ์นั้น
ขณะทีใ่ นสังคมวัฒนธรรมจีน ก็ปรากฏประเพณี สิ้นสุดแล้วราชวงศ์ใหม่ก็จะแทนที่
และวัฒนธรรมซึง่ แสดงความไม่เสมอภาคระหว่าง อนึ่งหลักความเชื่อตามลัทธิเต๋าและขงจื๊อของ
หญิงชาย รวมทั้งการกดขี่ การสร้างมายาคติให้ ชาวจีนนั้น มีหลักสำ�คัญ 3 ประการ คือ
ผู้หญิงถูกครอบงำ�ทางความคิดว่า ตนนั้นด้อยค่า 1. การเคารพบูชาบรรพบุรุษ
ไม่ อ าจทั ด เที ย มชายเฉกเช่ น สั ง คมอิ น เดี ย ด้ ว ย 2. ความเชื่อเรื่องวิญญาณ
ดังกรณีตัวอย่าง เรื่องการรัดเท้าของผู้หญิงจีน 3. ความเชื่อเรื่องสวรรค์
ประเพณีการรัดเท้าของผูห้ ญิงจีน ซึง่ ถ่ายทอด หลั ก ความเชื่ อ ทั้ ง สามนี้ ล้ ว นแฝงนั ย ยะ
โดยนิฌา (2546) ไว้ในหนังสือ 1,000 ปี ประเพณี ทางการเมื อ งการปกครองอั นมี ผู้ ช ายเป็ นใหญ่
กามรัญจวน ได้กล่าวถึงทีม่ าแห่งประเพณีการรัดเท้า
รวมทั้งอำ�นาจในพื้นที่ซึ่งแสดงสถานะของหญิง
ขั้นตอนการรัดเท้า และความเชื่อสำ�คัญเรื่องการ
ว่า ไม่มีสิทธิ์รุกลำ�้ปริมณฑลของชาย ลักษณะ
รัดเท้าของผู้หญิงจีนในอดีตว่า “หญิงผู้มีเท้า
ซึ่งถูกรัดให้เล็กมากที่สุดได้ (ประมาณ 3-4 นิ้ว) ดั ง กล่ า วจึ ง บ่ ง ชี้ ค วามเป็ น ปิ ต าธิ ป ไตยอย่ า ง
ดุจดอกบัวทองคำ�นั้นเป็นหญิงดี ควรค่าแก่การ เด่นชัด
สู่ขอไปเป็นศรีภรรยา” ฟรีดแมน (Freedman, Maurice. อ้างใน
นอกจากเรื่องประเพณีความนิยมการรัดเท้า เยาวลักษณ์ เฉลิมเกียรติ. 2542 ) ได้อธิบาย
ของหญิงชาวแมนจูที่แผ่ขยายขอบเขตความนิยม เกี่ ย วกั บ การถื อ เพศชายเป็ น สำ � คั ญ อั น เป็ น
ไปถึ ง หญิ ง ชาวฮั่ น ทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคของจี น แล้ ว ฐานรากของความไม่เสมอภาคระหว่างเพศใน
สังคมวัฒนธรรมดั้งเดิมว่า
37

...ในส่วนของผู้หญิงนั้นอยู่ในครอบครัวใด สามีกับภรรยา ด้วยเหตุนี้ จึงได้มีการเสนอให้


ก็ เ หมื อ นกั บ คนแปลกหน้ า ของครอบครั ว นั้ น หวนกลับไปหาค่านิยมดั้งเดิมเกี่ยวกับการเคารพ
ไม่ค่อยมีความสำ�คัญเท่าใดนัก ส่วนการแบ่ง ผู้ใหญ่และบทบาทของแม่ผู้ประเสริฐและภรรยา
มรดกหรื อ ทรั พ ย์ ส มบั ติ ต ามหลั ก ของจี น แล้ ว ที่ดี เพื่อบรรเทาปัญหาดังกล่าว
ลูกชายคนโตจะเป็นผูไ้ ด้รบั มรดกทัง้ หมด ลูกผูห้ ญิง
แม้จะเป็นลูกคนโตก็ไม่มีสิทธิ์ในมรดกนั้น อนึ่งมี ปราณี วงศ์เทศ (2544) แสดงไว้ในหนังสือ เพศ
ภาษิตจีนกล่าวว่า “เด็กผู้ชายเกิดมาเพื่อที่จะเข้า และวัฒนธรรม ในบทความแปลของมาเจอรี่ วูลฟ์
มาอยู่ข้างใน ส่วนเด็กผู้หญิงเกิดมาเพื่อจะออก เรื่อง ผู้หญิงจีน “สำ�นึกใหม่” ที่มีพื้นฐานมาจาก
ไปอยู่ข้างนอก” นั่นหมายความว่า ผู้ชายเมื่อ “นำ�้ใจเก่า” บทความนี้แสดงว่า ระบบความเชื่อ
แต่งงานก็ต้องอยู่ในบ้านของตัวเองเหมือนเดิม ดั้งเดิมมีผลต่อเพศ ในลักษณะการบีบคั้นสตรีจีน
ขณะที่ผู้หญิงเมื่อแต่งงานก็ต้องออกไปอยู่บ้าน ผู้อยู่ในฐานะภรรยา และสะใภ้ซึ่งถูกข่มเหงจาก
ฝ่ายชาย สามี และแม่สามี จนกระทั่งต้องหาทางออกเพื่อ
เผชิญปัญหาดังกล่าว
ขณะทีแ่ กรี ซิกเลย์ (กำ�จร หลุยยะพงศ์. 2548 ในอดีต บทบาทของสตรีเคยรุ่งเรื่อง ซึ่งเห็นได้
: 231-232 แปลจาก Sigley, Gary. 2544) จากเทพปกรณัมจีนทีแ่ สดงให้เห็นว่า เทพผูย้ ง่ิ ใหญ่
ได้กล่าวถึงระบบครอบครัวแบบธรรมเนียมนิยม และให้กำ�เนิดมวลมนุษย์ เป็นเทพสตรี ตำ�นาน
ในลั ท ธิ ข งจื๊ อ กั บ ระบบครอบครั ว แนวใหม่ ข อง หนึ่งเชื่อว่า เทพเจ้าหนี่วา (ส่วนบนเป็นมนุษย์
พรรคคอมมิวนิสต์นั้นไม่ได้แตกต่างกันนัก อีกนัย ส่วนล่างเป็นมังกร) สร้างมนุษย์จากดินโคลน
หนึง่ ก็คอื ระบบปิตาธิปไตยแบบศักดินาทีเ่ ข้มงวด โดยปั้นมนุษย์ท้งั หญิงและชายให้สามารถสืบพันธุ์
โดยเขากล่ า วถึ ง สถานภาพของครอบครั ว จี น จนมีลกู หลานเผ่าพันธุม์ นุษย์มากมายสืบมากระทัง่
ปัจจุบันไว้ว่า ปัจจุบนั ขณะทีต่ �ำ นานของญีป่ นุ่ ก็แสดงไว้เช่นกัน
ว่า ปฐมแห่งเทพก็เป็นสตรี ความเชือ่ เรือ่ งเทพเจ้า
ปัจจุบันนี้เราจะเห็นความวิตกกังวลเกี่ยว ในสั ง คมญี่ ปุ่ น นั้ น มี พื้ น ฐานความคิ ด จากลั ท ธิ
กับการดำ�รงอยู่ของ “เศษเสี้ยวของศักดินา” ชินโตโบราณ เทพเจ้าสูงสุด คือ อามาเทราสุ
ในครอบครัวจีนสมัยใหม่ ซึ่งแสดงออกมาในรูป (สุริยเทพ คือ เทพพระอาทิตย์) นอกจากนี้ก็มี
ของอัตราการฆาตกรรมทารกหญิงทีก่ ลับมาเพิม่ ขึน้ เทพเจ้าอิซานางิ และเทพเจ้าสุซานามิ เทพเจ้า
อีกครั้ง รวมทั้งการลักพาตัวและการค้าผู้หญิง คู่ชายหญิงผู้ให้กำ�เนิดนานาเทพเจ้าประจำ�เกาะ
เด็ก ทว่าในขณะเดียวกันเราก็ได้ยินคำ�ปรารภ ต่างๆ ของญี่ปุ่น
เกี่ ย วกั บ การเสื่ อ มสลายของความสั ม พั น ธ์ ใ น ตำ�นานโบราณซึ่งแสดงว่าเทพเจ้าสตรีและ
ครอบครัว ระหว่างลูกกับพ่อแม่ และระหว่าง ผู้หญิงมีความสำ�คัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อระบบ
38

การผลิต เพราะผู้หญิงมีส่วนสำ�คัญต่อระบบ พิธีกรรม ขณะที่สังคมอุตสาหกรรม ความเหนือ


เศรษฐกิจในฐานะเป็นแรงงาน รวมทั้งสำ�คัญต่อ กว่าของเพศชายถูกสร้างและบังคับผ่านระบบ
ระบบพิ ธี ก รรมและความเชื่ อ อั น เกี่ ย วข้ อ งกั บ กฎหมาย เช่น ระบบภาษีและสวัสดิการสังคม
ธรรมชาติในฐานะผู้ประกอบพิธีกรรม รวมทั้งทัศนคติ ค่านิยม และปฏิบัติการในชีวิต
แต่อย่างไรก็ตามระบบโครงสร้างทางสังคม ประจำ�วัน
ซึง่ ปรับเปลีย่ น มีลกั ษณะซับซ้อน มีการแบ่งหน้าที่ อนึ่งกมลา ภาสิน (Kamala Bhasin. 2535
แบ่งงานกันมากขึ้น เกิดสังคมรัฐ ผู้ชายจึงมี : 15) นักต่อสู้ชาวอินเดียเพื่อสิทธิมนุษยชนของ
บทบาทในสังคมมากขึ้นตามลำ�ดับ สังคมดั้งเดิม สตรี ได้กล่าวถึงความไม่เสมอภาคระหว่างชาย
แบบมาตาธิ ป ไตยจึ ง ปรั บ เปลี่ ย นที ล ะน้ อ ยเป็ น และหญิงซึ่งเชื่อมโยงกับระบบชายเป็นใหญ่ใน
แบบปิตาธิปไตย เนื่องจากค่านิยม ความเชื่อ สังคมอินเดียชนบทปัจจุบัน กล่าวคือ ในครัวเรือน
และปทั ส ถานที่ ใ ห้ ผู้ ช ายเป็ น ชนชั้ น ปกครอง ที ่ ค รอบครั ว เป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต และ
เป็นผู้กำ�หนดพื้นที่และความเป็นอิสระให้ผู้ชาย ศูนย์กลางการดูแลสุขภาพอนามัย สตรีย่อมมี
ผูกขาดได้มากกว่าผู้หญิง เพราะเหตุผลทาง ความสำ�คัญในฐานะเป็นผู้ดูแลครอบครัว เป็นผู้มี
สรี ร ะกายภาพซึ่ ง แสดงว่ า ผู้ ห ญิ ง นั้ น อ่ อ นแอ ความรู้และทักษะในการเกษตร การเลี้ยงสัตว์
ไม่สามารถรอนแรมเดินทางไกลได้ ทั้งยังเป็นเพศ งานหัตถกรรม การผลิตยา ทว่าในเมื่อกิจกรรม
ที่ต้องตั้งครรภ์และให้กำ�เนิดบุตร การเดินทาง ทุกอย่างที่กล่าวมา ในปัจจุบันได้กลายเป็น
รอนแรมในสังคมล่าสัตว์หาของป่าจึงไม่เหมาะสม การผลิตเพื่อการค้าและเป็นอุตสาหกรรมไปหมด
อย่างยิ่งต่อสตรีเพศ สตรีจึงถูกลดบทบาทไป ความรู้ของเธอกลาย
ปิตาธิปไตยจึงถูกนำ�เสนอในฐานะเป็นแนวคิด เป็นเรื่องโบราณครำ�ครึ ไม่เป็นวิทยาศาสตร์และ
สำ�คัญซึ่งแสดงการเอารัดเอาเปรียบ การข่มเหง เป็นสิ่งไม่จำ�เป็นอีกต่อไป และเพราะสตรีสูญเสีย
ผู้หญิง แนวคิดปิตาธิปไตยที่ปรากฏในงานเขียน การควบคุมการผลิต เธอจึงสูญเสียอำ�นาจและ
เหล่านี้ มักหมายถึง “กฎเกณฑ์ของพ่อ” ในลักษณะ การตัดสินใจไปด้วย การผลิตพืชผลเพือ่ ขายแทนที่
การควบคุมทางสังคมซึ่งพ่อหรือสามี ย่อมมี จะเพื่อเป็นอาหารมักทำ�ให้สตรีตกอยู่ในสภาพ
อำ�นาจเหนือลูกสาวและภรรยา อนึ่งงานเขียน ผู้ผลิต ทว่าสามีเป็นผู้ขายและถือเงิน โดยทั่วไป
แนวสตรีนิยมปิตาธิปไตยนั้น หมายถึง ระบบซึ่ง พืชซึ่งปลูกเพื่อเป็นอาหารก็ย่อมเป็นอาหารเลี้ยง
ผู้ชายในฐานะกลุ่มทางสังคมได้รับการสถาปนา ดูครอบครัวเสมอไป ขณะที่พืชซึ่งปลูกเพื่อขาย
ให้มีบทบาทฐานะสูงกว่า มีอำ�นาจเหนือผู้หญิง นั้น เงินจากการขายพืชนั้นอาจมิได้นำ�มาจุนเจือ
ในสังคมล่าสัตว์และเก็บหาอาหาร ความเหนือ ครอบครัวเสมอไป ฝ่ายสามีมักเป็นผู้ใช้เงิน
กว่าและการควบคุมทางสังคมโดยเพศชายถูก ซึ่งส่วนใหญ่หมดไปกับสิ่งไม่จำ�เป็น ระบบการ
สร้ า งและบั ง คั บ ผ่ า นความเชื่ อ ทางศาสนาและ ผลิตดังกล่าวจึงยิ่งเสริมสร้างระบบชายเป็นใหญ่
มากขึ้น ฝ่ายหญิงก็ตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบต่อไป
39

เรื่อง The Politics of Reproduction ของ สภาวะไร้อำ�นาจและถูกกีดกันสิทธิในการเข้าถึง


แมรี่ โอไบรอัน (1981) นิยามความหมายของ ทรัพยากรโดยสิ้นเชิง หากแต่เลอร์เนอร์มองว่า
การมีอำ�นาจครอบงำ�ของเพศชาย เป็นผลมาจาก งานที่ท้าทายสตรีศึกษาอยู่ตรงการสืบค้นรูปแบบ
ความปรารถนาของเพศชายทีจ่ ะเอาชนะความรูส้ กึ และวิธีการอันหลากหลาย ซึ่งปิตาธิปไตย
แปลกแยกจากบทบาทด้านการเจริญพันธุ์ของ ปรากฏตัวขึ้นในบริบททางประวัติศาสตร์ รวมทั้ง
มนุษย์ เพราะหญิงมีบทบาทมากกว่าชายในการ การเปลี่ยนแปลงและปรับเปลี่ยนทั้งในด้านของ
เจริญพันธุ์ การตั้งครรภ์ และการเลี้ยงดูลูก โครงสร้างและหน้าที่ตลอดจนการปรับตัวต่อแรง
ปิ ต าธิ ป ไตยหรื อ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพ่ อ กดดันและข้อเรียกร้องของสตรี (ยศ สันตสมบัติ.
กับลูกชาย จึงช่วยกอบกู้ความสำ�คัญของการเป็น 2548 : 4-5)
พ่อและบดบังซ่อนเร้นความจริงทางสังคมเกีย่ วกับ ส่วนสังคมไทยรวมถึงสังคมในอุษาคเนย์ มี
บทบาทและแรงงานของผูห้ ญิงในการให้ก�ำ เนิดและ เงื่อนไขของพัฒนาการทางเศรษฐกิจ สังคมและ
เลีย้ งดูลกู ตามทัศนะของโอไบรอัน อิสรภาพ วัฒนธรรม ทั้งที่เหมือน และแตกต่างจากภูมิภาค
ของผู้หญิงจากการถูกครอบงำ�นั้น ขึ้นอยู่กับ อื่นๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อเพศสภาวะ และปัญหา
การสร้ า งความรู้ความเข้าใจอันแท้จริงเกี่ยวกับ ความเหลือ่ มลำ�ท้ างเพศ อาจแสดงได้วา่ เพศสภาวะ
กระบวนการเจริญพันธุ์ รวมทัง้ การสร้างทัศนคติ และปัญหาความเหลื่อมลำ�้ของสังคมไทย รวมถึง
และความชืน่ ชมต่อความขัดแย้งระหว่างธรรมชาติ สังคมอืน่ ๆ ในอุษาคเนย์ ปรากฏน้อยมาก เนือ่ งจาก
ของผู้หญิงในการเจริญพันธุ์ กับกระบวนการ ส่วนใหญ่สถานะของผู้หญิงจะเท่าเทียมกับผู้ชาย
สร้างอุดมการณ์ปิตาธิปไตยเพื่อบิดเบือนคุณค่า หรืออาจสูงกว่า ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ของผู้หญิง (ยศ สันตสมบัติ. 2548 : 4-5) ที่ดินทำ�กิน
อนึ่งความด้อยอำ�นาจของผู้หญิงและแนวคิด เรื่องที่ดินทำ�กิน ผู้หญิงมีสิทธิในการ
เกีย่ วกับปิตาธิปไตยในหนังสือเรือ่ ง The Creation ครอบครองมากกว่าผู้ชาย ในสังคมเกษตรกรรม
of Patriarchy ของเกอร์ดา เลอร์เนอร์ (1986) ชาวนาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฝ่ายชายจะ
ปิตาธิปไตย หมายถึง ลักษณะปรากฏและกระบวนการ แต่งงานเพื่อเข้าอยู่บ้านฝ่ายหญิง สามีต้องช่วย
กลายเป็นสถาบันของอำ�นาจแห่งเพศชายเหนือ ภรรยาในฐานะแรงงานและผูอ้ าศัย เมือ่ ผ่านขัน้ ตอน
เพศหญิงและเด็กๆ ในครอบครัว อีกทั้งการขยาย ทดสอบความอดทนได้สำ�เร็จ ตนและภรรยาจึง
ตัวของอำ�นาจครอบงำ�ของผู้ชายในบริบทของ จะสามารถแยกครอบครัวออกจากบ้านพ่อแม่
ครอบครัวไปสูผ่ หู้ ญิง โดยทัว่ ไปในสังคมปิตาธิปไตย ของภรรยาไปตั้งถิ่นฐานเองได้ต่อไป
จึงหมายถึงการที่ผู้ชายมีอำ�นาจในสถาบันสำ�คัญ
และผูห้ ญิงถูกกีดกันสิทธิมใิ ห้เข้าถึงอำ�นาจเหล่านัน้
ทั้ ง นี้ เ ลอร์ เ นอร์ มิ ไ ด้ เ สนอว่ า ผู้ ห ญิ ง ตกอยู่ ใ น
40

ระบบเครือญาติ ระบบเศรษฐกิจ
เรื่องระบบเครือญาติ ผู้เขียนไม่เห็นด้วย ผู้หญิงในสังคมอินเดียและจีนมักถูกบีบคั้น
กับคำ�กล่าวของ วินซเลอร์ ที่ว่า “ความล่าช้า จากระบบความเชื่อและการปกครอง กล่าวคือ
และไม่สมบูรณ์ของการสร้างชาติในอุษาคเนย์ ในสังคมจีนซึ่งมีพ้นื ฐานการคิดแบบเต๋าและขงจื๊อ
มี ส าเหตุ ม าจากระบบการสื บ สกุ ล ทั้ ง สองฝ่ า ย ส่ ว นในสั ง คมอิ น เดี ย ก็ รั บ คติ ม นู ธ รรมศาสตร์
เนือ่ งจาก “กระบวนการจัดตัง้ รัฐ” (ปราณี วงศ์เทศ. สถานะผู้หญิงในทั้งสองสังคมวัฒนธรรมจึงถูกกด
2549 : 70) นอกจากนี้ในสังคมบูกิส ที่มิลล่า ให้ตำ� และไร้คุณค่า ขณะที่ผู้หญิงในสังคมไทย
ได้ โ ต้ แ ย้ ง คำ � อธิ บ ายของนั ก มานุ ษ ยวิ ท ยาผู้ ใช้ และอุษาคเนย์มีอิสระในการทำ�งาน เมื่อสามีไป
แนวคิด “โครงสร้าง” และ “ชนชัน้ ” ในการศึกษา ทำ�งานนอกบ้าน ผู้หญิงเหล่านี้ก็จะพยายามหา
ความไม่เท่าเทียมกันทางเพศของชาวบูกิส ที่ว่า รายได้เสริมเพื่อจุนเจือครอบครัวอีกทางหนึ่งด้วย
สำ�หรับชาวบูกิสเองแล้ว การที่ผู้หญิงต้องคอย ทำ�ให้ชาวตะวันตกมองผู้หญิงในสังคมไทยและ
บริการอาหารแก่ผู้ชายมิใช่เป็นการแสดงความ อุ ษ าคเนย์ ม ี ส ถานะสู ง ทั ้ ง ยั ง เป็ นผู ้ ค วบคุ ม
เป็นเบี้ยล่าง และการแบ่งลำ�ดับชั้นทางเพศ ทรัพยากรและระบบการผลิต
แต่ถือเป็นสิ่งที่สำ�คัญกว่า ในลักษณะใครสามารถ ความเชื่อธรรมชาติและสิ่งเหนือธรรมชาติ
ทำ�งานบางอย่างได้ดีกว่าใคร ทั้งหญิงและชายจึง ผูห้ ญิงในสังคมไทยและอุษาคเนย์มบี ทบาท
มีความสำ�คัญเท่าเทียมกัน (ปราณี วงศ์เทศ. และสถานะด้านนี้สูงกว่าผู้ชาย ในฐานะผู้ติดต่อ
2549 : 76) ประเด็นนี้ผู้เขียนเห็นด้วยในความ กับธรรมชาติ หรือสิ่งเหนือธรรมชาติ คือ ผี
เท่ า เที ย มกั น และการลื่ น ไหลเปลี่ ย นสถานะ บรรพบุรุษ ในเรื่องความเชื่อด้านที่ดินทำ�กิน
ทางเพศได้ จึงยกเว้นประเทศอินโดนีเซียไว้ เช่น การทำ�นาข้าว ผู้หญิงจะเป็นผู้ประกอบ
เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากฮอลันดา พิธีกรรม เพื่อป้องกันมิให้แม่โพสพตกใจ ผู้เขียน
การนับญาติหรือสายตระกูลทั้งสองฝ่าย ตั้งข้อสังเกตว่า แม้แต่เทพยดาก็ยังเป็นสตรีเพศ
ยังช่วยลดความเหลื่อมลำ�้ และความตึงเครียด เพศหญิ ง จึ ง เป็ น เพศแห่ ง ความอุ ด มสมบู ร ณ์
ทั้งสองฝ่ายได้ ทั้งยังเป็นสิ่งบ่งชี้ความสำ�คัญของ มีความสำ�คัญยิ่งต่อระบบการผลิต
ระบบ “มาตาธิปไตย” ซึ่งผู้หญิงในสังคมไทย ส่วนเรื่องผีบรรพบุรุษ หรือผีปู่ย่า สถานะ
และอุษาคเนย์อื่นๆ ยกเว้นสังคมอินโดนีเซีย ของผีในเพศหญิงก็สูงกว่าชาย ดังปรากฏใน
ให้เป็นผูม้ บี ทบาทและความสำ�คัญในระบบเครือญาติ พิธีกรรม “ผีฟ้า” ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ในฐานะเป็นเพศผู้ให้กำ�เนิดบุตร เสียสละตนใน ผู้หญิงจะเป็นผู้ประกอบพิธีกรรมทำ�หน้าที่รักษา
พื้นที่ของงานบ้านงานครัวแก่สามีและลูก ในขณะที่ผู้ชายจะทำ�หน้าที่เพียงเป่าแคน เพื่อ
กำ�กับจังหวะการฟ้อนรำ�ของผีฟา้ ซึง่ แสดงสถานะ
41

แห่ ง ความแตกต่ า งของชนชั้ น ในสั ง คมไทย อนึ่งภิกษุณีธมฺมนนฺทา (2547 : 14-15)


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทีผ่ หู้ ญิงมีสถานะสูงกว่า กล่ า วเกี่ ย วกั บ เพศสภาพของสตรี ใ นมโนทั ศ น์
และได้รับการยอมรับอย่างยิ่งตามความเชื่อเรื่อง พระพุทธศาสนาคือ พระพุทธเจ้าตรัสสอนเรื่อง
เหนือธรรมชาติ ผู้ ห ญิ ง และผู้ ช ายเกี่ ย วข้ อ งกั บ ปริ บ ทสั ง คม
ศาสนา ที่เกิดขึ้น อาทิ ในพระวินัย, พระสูตร โดยเฉพาะ
ศาสนาหลักๆ ของโลกในปัจจุบันล้วน อย่ า งยิ่ ง ในชาดกซึ่ ง เป็ น นิ ท านพื้ น บ้ า นต่ า งๆ
ปกครองด้วยระบบปิตาธิปไตย คือ มีผู้ชายเป็น ภายใต้หัวข้อที่ว่า “โลกียะ” แบ่งเป็น 2 ปีก
ชนชั้นปกครองศาสนจักร โดยการสร้างศาสนา ปีกหนึ่งก็คือ กดขี่ผู้หญิงซึ่งเป็นการสืบทอด
ใหม่กดทับศาสนาเก่าทีเ่ ป็นของผูห้ ญิง ในลักษณะ วัฒนธรรมอินเดียเพิ่มเข้ามาในคัมภีร์พระพุทธ
ลดคุณค่าของศาสนานั้นๆ ศาสนา ส่ วนอี ก ปี ก หนึ ่ ง เป็ นเนื ้ อ หาสาระอัน
ลักษณ์วัต ปาละรัตน์ (2545 : 244) สรุป ปลดปล่อยผู้หญิง นั่นคือท่าทีอันแท้จริงของ
ความเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะชายเป็ น ใหญ่ ใ นแวดวง ศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนา คือ จากหลักฐานทางศาสนา อย่างไรก็ดี ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทในอุษาคเนย์
นัน้ จะเห็นว่ามีการกล่าวตำ�หนิถงึ โทษความร้ายกาจ ซึ่งรับผ่านมาทางลังกาอีกทีหนึ่งนั้น จะยกย่อง
เลวทรามของสตรีไว้มาก รุนแรงกว่าและเน้น ความเป็นแม่สูงยิ่ง ดังมีความกล่าวว่า แม่คือพระ
มากกว่าทางฝ่ายชาย อนึ่งเมื่อพิจารณาแล้ว ที่บ้าน หรือการสอนผ่านการเล่าเรื่องในชาดก
อาจวิ นิ จ ฉั ย และสั น นิ ษ ฐานได้ ว่ า ที่ เ ป็ น เช่ น นี้ ที่ เ น้ น ความกตั ญ ญู ข องพระโพธิ สั ต ว์ ที่ ท รง
เพราะสังคมนั้นเป็นสังคมของภิกษุมาก่อน และ ปรนนิบัติมารดา ส่วนพระธรรมคำ�สั่งสอนก็
สมาชิกในสังฆมณฑลส่วนใหญ่ก็เป็นภิกษุ ธรรมะ เปรียบเสมือนนำ�้นมของมารดา รวมทั้งพระพุทธ
ส่วนใหญ่จึงแสดงแก่ภิกษุ ดังนั้นธรรมะเรื่อง องค์ ยั ง ตรั ส สรรเสริ ญ คุ ณ ความดี ข องพระอั ค ร
ราวต่างๆ จึงกล่าวต่อภิกษุและเพื่อประโยชน์ สาวกทัง้ สอง อันได้แก่ พระสารีบตุ ร อุปมาเหมือน
ของฝ่ า ยภิ ก ษุ ได้แก่ก ล่าวตัก เตือนเรื่องสตรี มารดาผู้ให้กำ�เนิด และพระมหาโมคคัลลานะ
เนื่ อ งจากมี ผ ลต่ อ บุ รุ ษ ในลั ก ษณะเตื อ นให้ อุปมาเหมือน แม่นมผู้ให้ชีวิต นอกจากนี้
ตระหนัก ไม่ประมาทต่ออิทธิพลแห่งหญิง ลิ ล ิ ตพระลอ ตอนพระลอเสี ่ ย งนำ � ้ ขณะเมื ่ อ
อันจะครอบงำ�และมีผลต่อพรหมจรรย์ของชาย พระลอข้ามแม่นำ�้กาหลงแล้วลงสรง พระลอ
โดยตามข้อเท็จจริงแล้วมนุษย์ย่อมมีดีและเลวทั้ง บังเกิดจิตคิดถึงพระมารดาขึ้นมาอย่างประหลาด
๒ เพศ และโทษของชายหญิงก็มีพอๆ กัน แต่ที่ อีกทั้งละล้าละลังหวั่นไหว จะไปต่อหรือคืนหลังดี
ได้กล่าวถึงโทษแห่งหญิงไว้มากกว่าก็ด้วยเหตุผล ตัดสินใจอธิษฐานเสีย่ งนำ�ด้ วู า่ หากไปต่อเป็นเช่นไร
ดังกล่าว
42

...พระลอได้กล่าวสรรเสริญคุณของพระนาง ส่วนพวกอารยันดั้งเดิมนั้นนับถือพระอินทร์เป็น
นาฏบุญเหลือ พระมารดาไว้ในเพลง “ลาวครวญ” เทพเจ้าสูงสุด ขณะที่ก็มีผู้คนนับถือพระทุรคา
ความว่า “ร้อยชู้หรือจะสู้เนื้อเมียตน เมียร้อยคน หรือเจ้าแม่กาลีมากเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม
หรือจะสู้พระแม่ได้” ข้อความหลากหลายข้างต้น ด้วยรูปแบบพิธกี รรมการบูชายัญอันน่าสะพรึงกลัว
จึ ง อาจกล่ า วได้ ว่ า ในสั ง คมวั ฒ นธรรมไทยนั้ น และพระลักษณะแห่งพระทุรคาผู้น่าสยดสยอง
เพศแม่หรือผู้หญิงแม้จะมีสถานะน้อย แต่ก็มี แก่ผู้พบเห็น แม้จะทรงเป็นเทพเจ้าสำ�คัญในลัทธิ
คุณค่า ในการใช้เศรษฐกิจ ส่งเสริม สนับสนุน ศากติของศาสนาพราหมณ์ แต่สังคมวัฒนธรรม
ลูกชายให้ได้รับการบรรพชา และอุปสมบทเป็น หลายแห่งก็ตีความหมายเจ้าแม่กาลีในทางชั่วร้าย
ศาสนทายาทได้แก่ สามเณร และภิกษุในบวร อนึ่งจากการศึกษาของผู้เขียน (2552) เกี่ยวกับ
พระพุทธศาสนา ภาพลั ก ษณ์ ด้ า นลบของสตรี อิ น เดี ย โบราณที่
ระบบการแต่งงานและการดำ�เนินชีวิต ปรากฏในนิทานซ้อนนิทานสันสกฤต อาทิ ผูห้ ญิง
รูปแบบการแต่งงานในสังคมไทยและสังคม เป็นเพศที่เชื่อถือไม่ได้, ผู้หญิงเป็นเหตุแห่งทุกข์,
อุษาคเนย์ สถานภาพของทั้งสองเพศค่อนข้าง ผู ้ ห ญิ ง เป็ นสิ ่ ง ชั ่ วร้ า ยที ่ ส ุ ด , ผู ้ ห ญิ ง เป็ นเหตุ ให้
เท่าเทียมกัน มักอุปถัมภ์คำ�้จุน เกื้อกูลกัน และ ผู ้ ช ายกลายเป็ นคนชั ่ ว, ผู ้ ห ญิ ง กระทำ � แต่
แม้บางอย่างจะแยกจากกัน ก็สามารถนำ�มา ความชั่ว เป็นต้น ภาพลักษณ์ด้านลบเหล่านี้
หลอมรวมกั น รวมทั้ ง การใช้ ชี วิ ต ก็ ไ ม่ ถู ก จำ � กั ด แสดงว่าผู้หญิงในสังคมอินเดียโบราณมีสถานะ
เมื่อเปรียบเทียบกับสังคมจีนที่ถูกกดขี่ บีบคั้น ตำ�กว่าผู้ชายอย่างยิ่ง สัญญะแห่งความชั่วร้าย
โดยอำ � นาจของคนรุ่นอาวุโสในตระกูล และ ต่างๆ ที่สื่อความหมายถึงผู้หญิง อาทิ งูพิษ
บรรพบุรุษ อันได้แก่ ปู่ พ่อ พี่ชาย วิญญาณ หม้อเปรียง ก้อนอุบาทว์ และอื่นๆ เป็นการ
ผีบรรพบุรุษ และจงหุย (เทพบาดาล) รวมทั้ง พยายามสร้างภาพลักษณ์ และสัญลักษณ์ทางลบ
สวรรค์ (เง็กเซียนฮ่องเต้) เช่นเดียวกันกับสังคม เพื่อครอบงำ�ผู้หญิง โดยสังคมที่มีผู้ชายเป็นใหญ่
อิ น เดี ย ที่ ผู้ ห ญิ ง ก็ ต้ อ งถู ก กดดั น จากการเสี ย ค่ า เป็นมุมมอง ทัศนะ เจตคติเพียงด้านเดียวของ
สินสอดแก่ฝ่ายชายในพิธีอาวาหะ ผู้ชายอินเดีย เพื่อประโยชน์สำ�หรับการจำ�แนก
นิทานและตำ�นาน สถานภาพทางสังคมระหว่างชายและหญิง เป็น
สั ง คมจี น และอิ น เดี ย มี ค วามเหลื่ อ มลำ �้ วาทกรรมที่แฝงอคติทางเพศสัญลักษณ์ ขณะที่
อย่ า งยิ่ ง เรื่ อ งคติ ค วามเชื่ อ เกี่ ย วกั บ เพศสภาวะ ในสังคมดั้งเดิมของจีนนับถือลัทธิเต๋าและขงจื๊อ
บุ ค คลสำ � คั ญ หรื อ วี ร บุ รุ ษ ในประวั ติ ศ าสตร์ รวมทั้งยังนับถือผีวีรบุรุษ อาทิ กวนอู หรือ
รวมทัง้ เทพเจ้า มักแสดงออกในลักษณะปิตาธิปไตย ตำ�นานความยิ่งใหญ่แห่งจักรพรรดิจิ๋น ผู้สร้าง
กล่ า วคื อ ศาสนาพราหมณ์ ใ นอิ น เดี ย นั บ ถื อ กำ�แพงเมืองจีน การกล่าวถึงสตรีจึงมีน้อย หรือ
เทพเจ้าสูงสุดสามพระองค์ ซึง่ เรียกรวมว่า ตรีมรู ติ ให้ความสำ�คัญน้อยกว่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับ
สังคมวัฒนธรรมไทยและอุษาคเนย์
43

ตำ�นานสุวรรณโคมคำ�ได้กล่าวถึงนางนาค อนึ่งอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า แนวคิดพ่อ


3 ตนได้ไปลักข้าวของชายเข็ญใจ เมื่อบิดาของ เป็นใหญ่ หรือปิตาธิปไตยปรากฏไม่เด่นชัดมากนัก
นางนาคทั้งสามทราบเรื่อง จึงสั่งให้นางนาค ในสังคมไทย สืบเนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะ
สามพี่น้องไปหาเลี้ยงมานพเข็ญใจ ด้วยการ เป็นครอบครัวขยายและนับญาติหรือสายตระกูล
ประกอบอาชีพค้าขาย แล่นเรือสำ�เภาขายสินค้า ฝ่ายแม่ดว้ ยเขยจะต้องแต่งงานเข้าอยูบ่ า้ นฝ่ายหญิง
และผ้าแพรต่างๆ นางนาคทั้งสามมีสติปัญญา ซึ่งต้องถูกพ่อแม่พ่นี ้องฝ่ายหญิงดูแลอย่างเข้มงวด
เฉลียวฉลาด ได้ออกอุบายช่วยเหลือมานพผู้มีแต่ ผูช้ ายจึงไม่อาจมีอ�ำ นาจได้เต็มที่ (กำ�จร หลุยยะพงศ์.
ความเชื่อเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ให้เขารอดพ้น 2544 : 149 ; ปรานี วงษ์ เ ทศ. 2549 : 76
จากความยากจนเข็ญใจ และภัยพิบัติจากศัตรูได้ อ้างอิงใน นิธิ เอียวศรีวงศ์, ยศ สันตสมบัติ,
คุณลักษณะและความเชื่อที่มีต่อสตรีในอุษาคเนย์ เนื่องน้อย บุณยเนตร) แต่สำ�หรับชนชั้นสูง
ดั ง กล่ า ว ทำ � ให้ ผ ู ้ ห ญิ ง มี บ ทบาทสำ � คั ญ เป็ น มุมดังกล่าวกลับพลิกเปลี่ยน ผู้ชายมีอำ�นาจ
ผู้นำ�ในพิธีกรรม คือ เป็นคนทรงผู้ติดต่อกับ ในบ้านมาก ส่วนผู้หญิงจะเป็นผู้พึ่งพาสามี และ
อำ�นาจศักดิ์สิทธิ์ มีอำ�นาจนอกปริมณฑลของ ถูกสอนด้วยนิยามของกุลสตรีที่อยู่เพียงในบ้าน
ศาสนาหลักของรัฐโดยให้ความชอบธรรมแก่สตรี ผู้หญิงจะได้รับการสั่งสอนให้รับใช้สามีและลูก
มากยิ่งขึ้น (ปรานี วงศ์เทศ. 2549 : 99) อนึ่งแนวคิดดังกล่าวนี้แพร่จากชนชั้นสูงสู่ชนชั้น
อำ�นาจและความมีอาวุโส กลางและชั้นล่างด้วย (ยศ สันตสมบัติ. 2535
แม้ในสังคมไทยจะเน้นความเป็นปิตาธิปไตย : 152) ดั ง ตั ว อย่ า งกรณี ศ ึ ก ษาเกี ่ ย วกั บ
แต่สังคมวัฒนธรรมที่แปรเปลี่ยนไปในยุคปัจจุบัน บาทบริจาริกาในรัชกาลที่ 5 เรื่อง นางใน :
สามีภรรยาจึงเกื้อกูล ช่วยเหลือกันโดยฝ่ายหญิง ชี วิ ต ทางสั ง คมและบทบาทในสั ง คมไทยสมั ย
จะให้เกียรติฝ่ายชาย หากฝ่ายชายอายุมากกว่า รัชกาลที่ 5 ของพรศิริ บูรณเขตต์ (2540 :
ก็จะใช้คำ�เรียกเครือญาติเรียกขานว่า “พี่” ด้าน บทคัดย่อ) ซึ่งกล่าวโดยสรุปไว้ว่า
การงานก็ต่างฝ่ายต่างทำ�หน้าที่ของตน จึงทำ�ให้ นางในต้องสร้างเงื่อนไขผูกพันคู่สามีภรรยา
อำ�นาจเป็นแบบดุลยภาพ ขณะที่ระบบอาวุโสใน เช่น การปรนนิบตั ทิ โ่ี ปรดปราน โดยเฉพาะการมีลกู
สังคมไทยและอุษาคเนย์นั้นขึ้นอยู่กับทั้งคุณวุฒิ อั น เป็ น ที่ ม าของการเลื่ อ นชั้ น ทางสั ง คมโดย
และวัยวุฒิ หรือเป็นผู้เชี่ยวชาญซึ่งคนส่วนใหญ่ ประกาศสถาปนา ขึ้นกับฐานะชาติตระกูลเดิม
ให้ความยอมรับนับถือ แต่ในสังคมจีนและอินเดีย ของนางใน อาทิ เจ้านายฝ่ายในจะเป็นพระ
นั้น สถานะของผู้หญิงจะสูงขึ้นและหลุดพ้นจาก มเหสีเทวีลำ�ดับต่างๆ ส่วนสามัญชนเป็นเจ้าจอม
การข่มเหงได้ก็ต่อเมื่อได้แต่งงานและมีบุตรชาย มารดา อนึ่งความสัมพันธ์อย่างสืบเนื่องมักเกิด
แล้วบุตรนั้นก็มีการงาน และแต่งงานพาสะใภ้ กับนางในผู้มีลูกทรงโปรด เห็นได้ชัดคือพระโอรส
เข้ามาสู่ครอบครัว ผูท้ รงงานเป็นทีพ่ อพระราชหฤทัยแก่พระราชบิดา
และยังมีผลต่อญาติผู้เป็น “ขรัวตาขรัวยาย”
44

อั น จ ะ ไ ด้ เ ลื่ อ น ชั้ น ต า ม ลำ � ดั บ อี ก ด้ ว ย อภิปราย


ความสั ม พั น ธ์ ใ นระดั บ สู ง ระหว่ า งกษั ต ริ ย์ แ ละ ทฤษฎี ซึ่ ง อธิ บ ายถึ ง สาเหตุ ห รื อ ที่ ม าของ
นางใน จึงทำ�ให้ญาตินางในได้รบั โอกาสทางสังคม ความไม่เสมอภาคทางเพศ มักมีอคติรากฐาน
เหนือกว่าตระกูลซึ่งไม่มีลูกสาวถวายตัว คิดของสังคมตะวันตกซึ่งเป็นปิตาธิปไตย ชนชั้น
อย่ า งไรก็ ตามแนวคิดสังคมพ่อเป็นใหญ่ กลาง ผู้ชาย และผิวขาว อนึ่งปัญหาทางเพศ
หรือปิตาธิปไตยในสังคมวัฒนธรรมต่างๆ ข้างต้น
สภาวะ อันได้แก่ การเลือกปฏิบัติระหว่างชาย-
ก็ เ ปลี่ ย นแปลงจากอดี ต สู่ ปั จ จุ บั น ในลั ก ษณะ
หญิง สิทธิ์แห่งความเป็นมนุษย์ของชายหรือหญิง
บรรเทาความรุนแรง สอดคล้องกับวิถแี ห่งโลกาภิวตั น์
เกี่ ย วกั บ ความเสมอภาคระหว่ า งเพศสภาวะ ตลอดจนสถานะและบทบาทตามเพศในฐานะ
หญิง-ชาย ซึ่งผู้เขียนเห็นคล้อยตามความคิดของ เป็นสมาชิกของสังคม ปัญหาเหล่านี้ปรากฏเป็น
นักวิชาการอืน่ ๆ ทีว่ า่ สถานะทางเพศในสังคมไทย ภาพซำ�้ซ้อนตั้งแต่อดีตกระทั่งปัจจุบัน แม้ว่า
มีลักษณะลดความเหลื่อมลำ�้ลงมาก แม้ระบบ ภาวการณ์ แ ห่ ง ความเท่ า เที ย มระหว่ า งหญิ ง
การเมื องการปกครองจะเป็นแบบปิตาธิปไตย และชายทุกวันนีใ้ นหลายพืน้ ที่ หลายภูมภิ าคต่างๆ
หรือคติความเชื่อดั้งเดิมจะเอื้ออำ �นายให้ผู้ชาย ทัว่ โลก ทัง้ ในทวีปยุโรป ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ
ทว่ า ในสั ง คมไทยปั จ จุ บั น ผู้ ห ญิ ง มี บ ทบาทต่ อ หรือบางแห่งในเอเชียจะแปรเปลี่ยนไป เพื่อลด
สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองมากขึ้น ฉะนั้น ความเหลื่ อ มลำ �้ ห รื อ อยุ ติ ธ รรมระหว่ า งเพศ
ปั ญ หาเรื่ อ งสรี ร ะทางเพศจึ ง ไม่ ป รากฏเด่ น ชั ด ให้ ท ุ เ ลาลงกว่ า แต่ ก ่ อ นได้ แต่ อ ย่ า งไรก็ ตาม
ดังเช่นในอดีต เนื่องจากสังคมไทยและอุษาคเนย์ ภาพสะท้ อ นของความไม่ เ สมอภาคดั ง กล่ า วนี้
มีสภาวการณ์ทางเพศอันลื่นไหลได้ แม้ชายและ ก็ยังดำ�เนินอยู่ และหรืออาจจะดำ�รงอยู่ต่อไป
หญิงจะมีความแตกต่างทางกายภาพ แต่ทง้ั สองเพศ ภายหน้าในบางสังคมวัฒนธรรม
ก็ ส ามารถปรั บ ตั ว และเรี ย นรู ้ ไ ปด้ ว ยกั น ได้ ตามทัศนะของผู้เขียน การศึกษาเรื่องเพศ
ด้วยเหตุนี้สังคมไทยและสังคมอุษาคเนย์ จึงต่าง
สถานะ เพศวิถี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับสตรี
จากสังคมจีนและอินเดียซึ่งมีม่านแห่งประเพณี
ศึกษาในปริบทสังคมและวัฒนธรรมต่างๆ นั้น มี
กั้นกลาง ปิดกั้นผู้หญิงไว้ แม้ความเชื่อดังกล่าว
จะบรรเทาลงตามเวลา แต่อคติทางเพศก็ยัง ประโยชน์อย่างยิ่งก็เพื่อกล่อมเกลาจิตใจให้เป็น
ปรากฏอยู่สืบมา คนอ่อนโยน ผ่อนปรน รวมถึงตระหนักต่อคุณค่า
ของผู้หญิงซึ่งเป็นเพศแม่ เป็นการทำ�ความเข้าใจ
ผู้อื่นซึ่งต่างเพศจากตนทั้งยังเป็นสิ่งเตือนใจตน
อยู่เสมอว่า “หากเราเป็นผู้ถูกกระทำ�บ้างจะรู้สึก
เช่นไร” นอกจากนี้ก็ยังได้รับประโยชน์เกี่ยวกับ
แนวคิดเชิงจริยธรรมซึ่งสอนโดยอ้อมให้ตระหนัก
45

ในคุณค่า และศักดิศ์ รีของมนุษย์ดว้ ยกัน ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เราจึงอาจสรุปได้วา่ การศึกษาบทบาท


ของชายและหรือหญิงนั้นก็คือศาสตร์ที่มุ่งเน้นการสร้างเสริมความเข้าใจอันดีของสังคมวัฒนธรรมที่
แตกต่างกัน ความเข้าใจระหว่างกันและกันนี้จึงนำ�ไปสู่การไม่มีอคติแบ่งแยก “เขา” หรือ “เรา” ให้หมด
ไปจากมโนสำ�นึกของคนในสังคมได้ในที่สุด

เอกสารอ้างอิง
กาญจนา แก้วเทพ.(2549). อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้ : รวมบทความในวาระครบรอบ 60 ปี
ฉลาด รมิตานนท์. กรุงเทพ : สำ�นักพิมพ์มติชน.
กมลา ภาสิน (เขียน) ; สุกัญญา หาญตระกูล (แปล). (2535) การพัฒนาที่ยั่งยืน : ทัศนะจาก
เฟมินิสต์. ปทุมธานี : เจนเดอร์เพรส.
กำ�จร หลุยยะพงศ์. (2544). ครอบครัว กับความสัมพันธ์ที่ไม่มีวันแปรเปลี่ยน. สตรีศึกษา ๒
ผู้หญิงกับประเด็นต่างๆ. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์.
กำ�จร หลุยยะพงศ์ (ผู้แปล) ; Gary Sigley (ผู้แต่ง). (2548). “จงเก็บไว้ในครอบครัว : รัฐบาล
การแต่งงาน และเพศในบริบทของจีนร่วมสมัย” ใน ทั้งรัก ทั้งใคร่ ทั้งใช้ความรุนแรง
ต่อผู้หญิง. เชียงใหม่ : ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไชยันต์ ไชยพร. (2548). Introduction หลัง-สตรีนิยม. กรุงเทพมหานคร :
โครงการสรรพสาส์น มูลนิธิเด็ก.
ณรงค์กรรณ รอดทรัพย์. (2552). ภาพลักษณ์ด้านลบของสตรีอินเดียโบราณในนิทานซ้อนนิทาน
สันสกฤต : มุมมองทางสัญญวิทยา. Proceedings การประชุมทางวิชาการ นเรศวรวิจัย
ครั้งที่ 5.
ธมฺมนนฺทา, ภิกษุณี. (2547). ภิกษุณีกับบทบาทเรื่องเพศสภาพในสังคมไทย. เชียงใหม่ :
วนิดาการพิมพ์.
นิฌา (นามแฝง). (2546). 1,000 ปี ประเพณีกามรัญจวน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร :
ศรีธารา.
ปฐมาภรณ์ บุษปธำ�รง. (2546). “ก้าวใหม่ของผู้หญิง : สตรีนิยมกับนโยบายสังคม”
ใน ผู้หญิงกับความรู้ 1 (ภาค 2). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปรานี วงศ์เทศ. (2544). เพศและวัฒนธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์.
ปรานี วงศ์เทศ. (2549). เพศสภาวะในสุวรรณภูมิ. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
46

พรศิริ บูรณเขตต์. (2540). นางใน : ชีวิตทางสังคมและบทบาทในสังคมไทยสมัยรัชการที่ 5.


วิทยานิพนธ์ สค.ม. (มานุษยวิทยา) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มุเฏาะฮารี มุระตะฎอ. (2530). สิทธิสตรีในอิสลาม. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้ว.
ยศ สันตสมบัติ. (2548). “การทำ�ความเข้าใจ “เพศสถานะ” และ “เพศวิถี” ในสังคมไทย”
ใน เพศสถานะและเพศวิถีในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร :
สำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เยาวลักษณ์ เฉลิมเกียรติ. (2542). คำ�เรียกญาติในจังหวัดนครศรีธรรมราช. ปริญญานิพนธ์
กศ.ม. (ภาษาไทย) สงขลา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ลักษณ์วัต ปาละรัตน์. (2545). สตรีในมุมมองของพุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : สำ�นักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิระดา สมสวัสดิ์. (2551). สืบสานและเติมเต็ม : เรื่องราวของภิกษุณีวันวาน และวันนี้.
เชียงใหม่ : วนิดาเพรส.
สุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัย. (2550). แนวการศึกษาชุดวิชาการศึกษาบทบาทชายหญิง
หน่วยที่ 1 – 7. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี : โรงพิมพ์สุโขทัยธรรมาธิราช.
สุพัฒน์ คำ�ปาแก้ว, พระมหา. (2552). [ระบบออนไลน์]. “ผู้หญิงในอินเดีย : มองให้เข้าใจถึงความ
เป็นจริง” แหล่งที่มาจาก http://www.src.ac.th/web2/jurnal/issu2/originator.htm
(10 มิถุนายน 2552).
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2549). อยู่ชายขอบมองลอดวามรู้. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
อารีวรรณ จตุทอง. (2551). มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมให้สตรีมีส่วนร่วมทางการเมือง.
วิทยานิพนธ์ น.ม. (นิติศาสตร์) กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

You might also like