โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 51

อะตอมและตารางธาตุ

โครงสร้าง/แบบจาลองอะตอม
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลัก
ตารางธาตุ
การจัดตารางธาตุ
แบบจาลองอะตอม
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจาลองอะตอมของโบร์
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
นักปราชญ์ ชาวกรีก
ดิโมคริตุส (Demokritos)
อะตอม มาจากภาษากรีกว่ า "atomos" ซึ่งแปลว่ า "แบ่ งแยกอีกไม่ ได้ "

ภาพถ่ ายของธาตุรีเนียมโดยกล้ องจุลทรรศน์


สนามไอออนกาลังขยายประมาณ 750,000 เท่ า
(จุดสี ขาวคืออะตอมของธาตุรีเนียม)
ดิโมคริตุส
นักปรัชญาชาวกรีกในสมัยโบราณ
ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับส่วนประกอบ
ของสสารไว้หลายแนวคิด แต่มีแนวคิด
หนึ่ ง ที่ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของ
การศึ ก ษาอะตอม คื อ แนวคิ ด ของ
ดิโมคริตุส (Democritus)
“เมื่อนาสสารมาแบ่งย่อยลงไปเรื่อย ๆ จะได้
อนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก และไม่สามารถแบ่งย่อย
Democritus ออกไปได้อีก” โดยเรียกอนุภาคนี้ว่า
อะตอม (atom)
จอห์น ดอลตัน
เมื่ อ คว า มรู้ ทา งวิ ทยา ศ า สต ร์ มี ค ว า ม
เจริ ญ ก้ า วหน้ า มากขึ้ น ท าให้ แ นวคิ ด ของ
ดิ โ มคริ ตุ ส นั้ น ไม่ ส ามารถอธิ บ ายเหตุ ก ารณ์
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับสสารได้

ในปี ค.ศ. 1803 จอห์น ดอลตัน


(John Dalton) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ
ได้ เ สนอแนวคิ ด เกี่ ย วกั บ อะตอม ที่ เรี ย กว่ า
ทฤษฎีอะตอม มีใจความสาคัญดังนี้
John Dalton
จอห์น ดอลตัน
ทฤษฎีอะตอม
สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุด ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยก
ต่อไปได้อีก เรียกว่า อะตอม
2. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน ย่อ มมีส มบัติเหมือนกันทุก ประการ
(เช่นมีมวลเท่ากัน) และมีสมบัติแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
3. อะตอมไม่สามารถทาให้สูญหายหรือเกิดใหม่ได้
4. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวทางเคมีระหว่างอะตอมของธาตุ
ตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป และจานวนอะตอมของธาตุที่รวมตัวกันจะเป็น
อัตราส่วนตัวเลขลงตัวน้อย ๆ เกิดเป็นสารประกอบ ได้หลายชนิด เช่น
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน

ดอลตั น เสนอ
มโนภาพของแบบจาลอง
อะตอมว่ า “อะตอมมี
ลักษณะกลมตันมีขนาด
เล็กมาก และไม่สามารถ
แบ่งแยกได้อีก” ภาพ: ลักษณะแบบจาลองอะตอมของดอลตัน
ที่มาภาพ : https://goo.gl/yYa3Xi
ข้อลบล้างแบบจาลองอะตอมของดอลตัน

ต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาเกี่ยวกับอะตอมมากขึ้นและค้นพบ
ข้อมูลบางประการที่ไม่สอดคล้องกับแนวคิดของดอลตัน เช่น
 อะตอมจะประกอบด้วยอนุภาคโปรตอน นิวตรอนและ
อิเล็กตรอน ซึ่งทาให้อะตอมสามารถแบ่งแยกได้อีก
 นอกจากนี้ยังพบว่าอะตอมของธาตุชนิดเดียวกันจะมี
จานวนนิวตรอนต่างกันได้ เป็นต้น
เซอร์วิลเลียม ครูกส์

ในปี ค.ศ. 1832-1919 เซอร์วิลเลียม ครูกส์


(Sir William Crookes) ได้สร้างหลอดประจุไฟฟ้า
ที่ประกอบด้วยหลอดแก้วที่บรรจุ gas ความดันต่า
มีขั้วไฟฟ้าเป็นแผ่นโลหะ(Electrode) 2 ขั้ว Sir William Crookes
ต่อเข้ากับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์สูง
(10,000 -20,000 volte) แผ่นโลหะด้านไฟฟ้าลบ เรียกว่า
ขั้ว cathode แผ่นโลหะ ด้านไฟฟ้าบวก เรียกว่า ขั้วanode และยังได้วางฉาก
เรืองแสง (ZnS) ขนานไปตามยาวหลอด
หลอดรังสีแคโทด
รังสีแ คโทด ประกอบด้ วยอนุภาคไฟฟ้าที่มี ประจุล บและมีมวล
เพราะสามารถทาให้ใบพัดของกังหันหมุนได้
รังสีแคโทด

ภาพ : หลอดรังสีแคโทดดัดแปลงใส่กังหันไว้ด้านใน
ที่มาภาพ : https://goo.gl/krVJg8
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน
ต่อมาในปี ค.ศ. 1897
เซอร์โจเซฟ จอห์น ทอมสัน
(Sir Joseph John Thomson)
นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ช าวอั ง กฤษได้
ทาการดัดแปลงหลอดรังสีแคโทด
โดยท าการเจาะรู ที่ ต รง
กลางขั้วแอโนดแล้วนาฉากเรือง
แสงไปวางไว้ข้างหลังขั้วแอโนด
การนาไฟฟ้าของแก๊สในหลอดรังสีแคโทด
** ก๊าซนาไฟฟ้าได้เมื่ออยู่ในสภาวะที่มีความดันต่า
J. J. Thomson และความต่างศักย์สูงมาก
การทดลองของทอมสัน
การเริ่มต้น
การทดลอง
ของทอมสัน

ภาพ : หลอดรังสีแคโทดที่เจาะรูตรงกลางที่ขั้วแอโนด
ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
การทดลองของทอมสัน

• เมื่อลดความดันลงจนเกือบเป็นสุญญากาศ จะมีจุดสว่างบนฉากเรืองแสง
ทอมสัน จึงตั้งสมมุติฐานว่า รังสี cathode เป็นอนุภาคที่มีประจุ ดังนั้น
อนุภาคควรจะเบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า
• เมื่อนาสนามไฟฟ้าภายนอกมาล่อ จุดสว่างบนฉากเรืองแสง จะ
เบี่ยงเบนเข้าหาขั้วบวกเสมอ และเมื่อทดสอบในสนามแม่เหล็ก ปรากฏว่า
รังสีแคโทดเบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กเข้าหาขั้วเหนือ เพราะฉะนั้น
ทอมสัน จึงสรุปว่า รังสีcathode ประกอบด้วยอนุภาคลบ
ทีเ่ คลื่อนที่ออกจาก ขั้วcathode ในลักษณะเป็นรังสี
การทดลองของทอมสัน
การค้นพบ
ประจุไฟฟ้า
ของรังสีแคโทด

ภาพ : การต่อขั้วไฟฟ้าในหลอดรังสีแคโทด
ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
การค้นพบอิเล็กตรอน
โดยค่อย ๆ เพิ่มอานาจสนามแม่เหล็กจนรังสี cathode ไม่มีการ
เบี่ ยงเบน แสดงว่ า ขณะนั้ น ความแรงของสนามไฟฟ้ า มี ค่ า เท่ า กั บ
ความแรงสนามแม่เหล็ก และแรงทั้งสองมีทิศทางตรงข้ามกัน
เมื่ อ น าแรงทั้ ง สองมาค านวณหาอั ต ราส่ ว นประจุ ต่ อ มวล (e/m)
ของอนุภาคพบว่า ได้ค่าเท่ากับ 1.76 × 108 คูลอมบ์/กรัม
ทอมสั น จึ ง สรุ ปว่ า อนุภ าคไฟฟ้ า ที่ มี ป ระจุ ลบเป็ น องค์ ประกอบของ
อะตอมของธาตุทุกชนิด และเรียกชื่ออนุภาคนี้ว่า อิเล็กตรอน (Electron)

จากการทดลองของทอมสันจึงค้านแบบจาลองอะตอมของดอลตัน
“อะตอมไม่ใช่สิ่งที่เล็กที่สุด
แต่ประกอบด้วยอิเล็กตรอนและอนุภาคอื่น”
การทดลองของทอมสัน
ทอมสัน ได้ทาการทดลองต่อ โดย
1. เปลี่ยนแก๊สภายในหลอดรังสี cathode โดยโลหะที่ทาขั้วยังคงเดิม
พบว่าได้ผลการทดลองเช่นเดิม
2. เปลี่ยนโลหะที่ใช้ทาขั้ว เป็นโลหะชนิดต่าง ๆ แต่ใช้แก๊สชนิดเดิม
พบว่าได้ผลการทดลองเช่นเดิม
สรุปได้ว่า
• ไม่ว่าจะบรรจุแก๊สชนิดใด หรือใช้โลหะชนิดใดมาทาขั้ว
หลอดรังสี cathode จะให้รังสี cathode ที่เป็นอนุภาค
ลบเหมือนกัน
ออยเกิน โกลด์ชไตน์

ในปี ค.ศ. 1886 ออยเกิน โกลด์ชไตน์


(Eugen Goldstein) ได้ดัดแปลง
หลอดรังสีแคโทดใหม่ โดยเลื่อน
cathode และ anode ที่เจาะรูมาไว้
ตรงกลาง และมีฉากเรืองแสงอยู่ที่ปลาย
ทั้งสองข้าง
Eugen Goldstein
การทดลอง ออยเกิน โกลด์ชไตน์
การค้นพบ
โปรตอน

ภาพ : หลอดรังสีแคโทดที่ปรับปรุงโดยออยเกิน โกลด์ชไตน์


ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
การทดลอง ออยเกิน โกลด์ชไตน์

จากการทดลองของโกลด์สไตน์ สรุปได้ว่า
- รังสีบวกหรืออนุภาคบวกเกิดจากก๊าซที่บรรจุภายในหลอดรังสีแคโทดซึ่ง
สามารถเบี่ยงเบนได้ทั้งในสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก

- รังสีบวกมีค่าอัตราส่วนประจุต่อมวลไม่คงที่ ขึ้นอยูก่ ับชนิดของก๊าซที่บรรจุ


อยู่ภายในหลอดรังสีแคโทด
รังสี จากแอโนดเบนออกจากขั้วบวก เข้ า
หาขั้วลบ เรียกว่ า โปรตอน (p)
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน

ทอมสั น เสนอมโนภาพ
ของแบบจาลองอะตอมว่า
“อะตอมมีลั กษณะเป็ นทรงกลม
ซึ่งประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุ
ไฟฟ้าบวก (โปรตอน) และอนุภาค
ที่มีประจุไฟฟ้าลบ (อิเล็กตรอน)
กระจายอยู่ทั่วไปอะตอมในสภาพ ภาพ: ลักษณะแบบ
จาลองอะตอมของสอมสัน
ที่เ ป็ น กลางทางไฟฟ้ า จะมี ป ระจุ ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
บวกเท่ากับประจุลบ”
รอเบิร์ต แอนดรูส์ มิลลิแกน

ในปี ค.ศ. 1908


รอเบิร์ต แอนดรูส์ มิลลิแกน
(Robert Andrews Millikan)
นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ช าวอเมริ ก า
ได้ทาการทดลองชื่อว่า
“การทดลองหยดน้ามันของมิลลิแกน”
(Millikan oil–drops experiment)
Robert Andrews Millikan
การทดลองของมิลลิแกน
การหาค่า
ประจุและมวล
ของอิเล็กตรอน

ภาพ : การทดลองหยดน้ามันของมิลลิแกน
ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
การทดลองการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟา
ค.ศ. 1911
- ลอร์ดเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด
(Lord Ernest Ruthertford)
- ฮันส์ ไกเกอร์ (Hans Geiger)
- เออร์เนสต์ มาร์สเดน
(Ernest Marsden)
ร่วมกันทดลองเกี่ยวกับทิศทาง ในการทดลอง Rutherford ได้ใช้
การเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟาที่ อนุภาคแอลฟายิงไปยังแผ่นโลหะ
ประเทศอังกฤษ ทองคาบาง ๆ และใช้ฉากเรืองแสง
ZnS เป็นฉากรับ
ที่มาภาพ : https://goo.gl/DMtZte
การทดลองการเคลื่อนที่ของอนุภาคแอลฟา

ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4


แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด

รัทเทอร์ฟอร์ด เสนอมโนภาพ
ของแบบจาลองอะตอมว่า
“อะตอมประกอบด้วยโปรตอนที่มี
ประจุเป็นบวก มีมวลมาก รวมกัน
อยู่ ต รงกลาง เรี ย กว่ า นิ ว เคลี ย ส
และนิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก ส่วน
ภาพ: ลักษณะแบบ
อิเล็กตรอนที่มีประจุลบมี มวลน้อย จาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
จะเคลื่อนที่อยู่รอบๆนิวเคลียสเป็น ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4

บริเวณกว้าง”
เจมส์ แชดวิก
ต่อมาในปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก
(James Chadwick) นักวิทยาศาสตร์
อังกฤษได้เสนอว่ารังสีที่ชนแผ่นพาราฟิน
จนได้โปรตอนออกมาแสดงว่าอะตอม
จะต้องประกอบไปด้วยอนุภาคมากกว่า
โปรตอนและอิเล็กตรอน และตั้งชื่อให้
อนุภาคใหม่ที่พบว่า นิวตรอน นอกจากนี้
James Chadwick แชดวิก ยังได้พิสูจน์ว่าอนุภาคนิวตรอนไม่
ทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไป มีประจุ และคานวณได้ว่า นิวตรอนมีมวล
ทีแ่ ผ่ นบางของเบริลเลียม ใกล้เคียงกับโปรตอน 1.674x10-24 กรัม
การค้นพบนิวตรอนของแชดวิค

จากความรู้ในเรื่องของแบบจาลองอะตอม
ทาให้ทราบว่าอะตอมของธาตุ ประกอบด้วย
1. อิเล็กตรอน ค้นพบโดย ทอมสัน
2. โปรตอน ค้นพบโดย โกลด์ชไตน์
3. นิวตรอน ค้นพบโดย แชดวิก
โดยเรียกอนุภาคทั้ง 3 ชนิดนี้ว่า อนุภาคมูลฐานของอะตอม
ซึ่งสัญลักษณ์ มวล และประจุไฟฟ้าของอนุภาคมูลฐานของอะตอม
แสดงดังตาราง
อนุภาคมูลฐานของอะตอม
ตารางแสดง สมบัติอนุภาคมูลฐานของอะตอม ดังนี้

ที่มา : เอกสารโครงสร้างอะตอม โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์


จากผลงานของนักวิทยาศาสตร์ที่
ศึกษาเกี่ยวกับอะตอมทาให้ทราบว่า
อะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะมีจานวน
โปรตอนที่มีค่าเฉพาะตัว กล่าวคือ
อะตอมของ ธาตุชนิดเดียวกันจะมีจานวน
โปรตอนเท่ากัน
Niels Bohr (ค.ศ.1885 - 1962)

ศึกษาสเปกตรัมของธาตุ

สเปกตรั ม (spectrum) คื อ ผลที่ ไ ด้ รั บ จาก


พลังงานคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น
และความถี่ต่ างๆ เป็ นอนุ ก รมของแถบสี หรื อ
เส้ นที่ ไ ด้ จ ากการผ่ า นพลั ง งานรั ง สี เ ข้ า ไปใน
สเปกโตรสโคป ซึ่ ง ท าให้ พ ลั ง งานรั ง สี แ ยก
ออกเป็ นแถบ หรื อเป็ นเส้ นที่ มีค วามยาวคลื่ น
ต่ างๆ
แบบจาลองอะตอมของโบร์

1 อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสอยู่
ตรงกลางของอะตอม โดยมีอิเล็กตรอน
เคลื่อนที่อยู่โดยรอบอะตอม
2.
2 แต่ละระดับชั้นพลังงานจะมีพลังงาน
ไม่เท่ากัน โดยระดับชั้นพลังงานที่อยู่
ใกล้นิวเคลียสที่สุดจะมีพลังงานต่าที่สุด ภาพ: ลักษณะแบบ
จาลองอะตอมของโบร์
คือ ชั้น n = 1 และชั้นถัด ๆ ไปเป็น
n = 2, 3, 4, … ซึ่งจะมีพลังงานสูงขึ้น
เรื่อย ๆ ตามลาดับ ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
สรุปแบบจาลองอะตอมของโบร์

“ อะตอมประกอบด้ ว ยโปรตอนและนิ ว ตรอน อยู่ ภ ายใน


นิวเคลียส ส่ วนอิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็ นชั้ น ๆ ใน
แต่ ละชั้นมีระดับพลังงานเฉพาะค่ าหนึ่ง ลักษณะคล้ ายวงโคจร
ของดาวเคราะห์ รอบดวงอาทิตย์ ซึ่ งพลังงานระดับต่าสุ ดจะอยู่
ใกล้ นิ ว เคลี ย สมากที่ สุ ด และอิ เ ล็ ก ตรอนที่ ว งนอกสุ ด จะมี
พลังงานมากที่สุด”
ต่อมานักวิทยาศาสตร์จึงศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของอิเล็กตรอน
พบว่า อิเล็กตรอนสามารถเป็นได้ทั้งคลื่นและอนุภาค

ซึ่งการค้นพบนี้ทาให้นักวิทยาศาสตร์เลิกศึกษา
เกี่ยวกับตาแหน่งของอิเล็กตรอน แต่กลับหันมา
ศึกษาเกี่ยวกับโอกาสหรือความเป็นไปได้ที่จะ
พบอิเล็กตรอนในบริเวณรอบ ๆ นิวเคลียส
การศึกษาโอกาสในการพบอิเล็กตรอน
การศึกษาเกี่ยวกับโอกาสหรือความเป็นไปได้ที่จะพบ
อิเล็กตรอนในบริเวณรอบ ๆ นิวเคลียส ซึ่งจากการศึกษาดังกล่าว
ทาให้พบว่า
• บริเวณที่มีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณอื่น ๆ ได้แก่
บริเวณใกล้นิวเคลียส
• และโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระยะห่างออกไปจะค่อย ๆ
น้อยลงตามลาดับ
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

1 อิเล็กตรอนไม่ สามารถวิ่งรอบ
นิ ว เคลี ย สด้ ว ยรั ศ มี ที่ แ น่ น อน
จึ ง ไม่ ส ามารถบอกตาแหน่ ง ที่
แน่ น อนได้ บอกได้ เ พียงที่ พ บ
อิ เ ล็ ก ตรอนต าแหน่ ง ต่ า ง ๆ
ภายในอะตอมและอิเล็กตรอน ภาพ: ลักษณะแบบ
จาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
เคลื่อนที่เร็วมากจนเหมือนกับ
อิเล็กตรอนอยู่ทั่วไปในอะตอม
ลักษณะนี้เรียกว่า"กลุ่มหมอก" ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

2 กลุ่มหมอกที่มีอิเล็กตรอนระดับ
พลังงานต่าจะอยู่ใกล้นิวเคลียส
ส่วนอิเล็กตรอนที่มีระดับ
“ อ ะ พลั
ต อ งมงานสู
ป ร ะ กงจะอยู
อ บ ด้ ว่ไยกลนิ
ก ลุ่ มวเคลี
ห ม อยกสข อ ง
อิ3เ ล็ ก ตรอนรอบนิ ว เคลี ย ส บริ เ วณใดหนาทึ บ
อิ เ ล็ ก ตรอนแต่ ล ะตั ว ไม่ ไ ด้ อ
แสดงว่ า มี โ อกาสพบอิ เ ล็ ก ตรอนได้ ม ากกว่ า
ยู ใ
่ น
ภาพ: ลักษณะแบบ
บริเวณทีระดั่มบีกลุพลั งงานใดพลังงานหนึ่งคงที่ จาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
่ มหมอกจาง”
4 อะตอมมีอิเล็กตรอนหลาย ๆ ระดับ
พลังงาน
ที่มาภาพ : เอกสารแนวทางการจัดการ เคมี ม.4
แบบจาลองอะตอมแบบต่าง ๆ นั้น ถูกสร้างขึ้นมาตาม
จินตนาการบนพื้นฐานของความรู้ตามแต่ละยุคสมัย
นั้น ๆ และเมื่อนักวิทยาศาสตร์ค้นพบข้อบกพร่อง
หรือมีความรู้ใหม่ ๆ เกิดขึ้นก็จะนาไปสู่กเปลี่ยนแปลง
แบบจาลองอะตอม เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและ
ถูกต้องต่อไป
เลขมวล เลขอะตอม ไอโซโทป
เลขอะตอม (Atomic number) ใช้สัญลักษณ์เป็น Z
หมายถึง ตัวเลขที่แสดงจานวนโปรตอนที่มีอยู่ในนิวเคลียสของธาตุ ใน
อะตอมที่เป็นกลาง จานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน
เลขมวล (Mass number) ใช้สัญลักษณ์เป็น A หมายถึง
ผลรวมของจานวนโปรตอน และนิวตรอนในนิวเคลียส
ชื่อธาตุ ใช้สัญลักษณ์ X
จะสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างเลขอะตอม เลขมวล
และจานวนนิวตรอน ได้โดยการเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์
สัญลักษณ์นวิ เคลียร์
การเขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เพื่อแสดง
รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับอนุภาคที่อยู่ภายใน
นิวเคลียสของอะตอมมีวิธีการเขียน ดังนี้
เลขมวล
เลขมวล(p+n)

ชื่อธาตุ
เลขอะตอม
เลขอะตอม(p)
สัญลักษณ์นวิ เคลียร์

ตัวอย่ าง

ดังนั้น อะตอมของธาตุลิเทียม ( Li )
มีจานวนโปรตอน = 3 ตัว
อิเล็กตรอน = 3 ตัว
และนิวตรอน = 4 ตัว

จานวนนิวตรอน = เลขมวล - จานวนโปรตอน


หรือ = เลขมวล - เลขอะตอม
ตัวอย่ างคานวณ

จงหาจานวนอนุภาคมูลฐานของธาตุต่อไปนี้

เลขมวล(A)เท่ ากับ 11

11 เลขอะตอม (Z) เท่ ากับ 5

5 B จานวนโปรตอน (p) เท่ ากับ 5

จานวนอิเล็กตรอน (e) เท่ ากับ 5

จานวนนิวตรอน (n) เท่ ากับ 6


สัญลักษณ์ p+ e- n
A
Z X

12
6 C 6 6 6
23
11
Na 11 11 12
39
19
K 19 19 20
40
20
Ca 20 20 20
สัญลักษณ์นวิ เคลียร์

ถ้าอะตอมเป็นกลาง จานวนอิเล็กตรอนเท่ากับจานวนโปรตอน
∴ เลขอะตอม = จานวนโปรตอน = จานวนอิเล็กตรอน
แต่ถ้าอะตอมไม่เป็นกลาง จานวนอิเล็กตรอนจะไม่เท่ากับโปรตอน
เช่น ไอออนบวก จะมีโปรตอน > อิเล็กตรอน
ไอออนลบ จะมีโปรตอน < อิเล็กตรอน
∴ เลขอะตอม = จานวนโปรตอน ≠ จานวนอิเล็กตรอน
สัญลักษณ์นวิ เคลียร์
อะตอมไม่เป็นกลาง
เฉลย
ธาตุ Q มีเลขมวลเท่ากับ 35 และมีเลขอะตอมเท่ากับ 17 จงระบุ
จานวนอนุภาคมูลฐาน และ เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ Q
วิธีทา
ธาตุ Q มีเลขอะตอมเท่ากับ 17 หมายความว่า ธาตุ Q มีจานวน
โปรตอนเท่ากับ 17 ในสภาวะนี้อะตอมของธาตุ Q เป็นกลางทางไฟฟ้า
นั่นหมายความว่าธาตุ Q จะมีจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน
ธาตุ Q มีเลขมวลเท่ากับ 35 หมายความว่า ผลรวมของจานวน
โปรตอนและนิวตรอนภายในนิวเคลียสเท่ากับ 35 อนุภาค จะได้ว่า
สัญลักษณ์นวิ เคลียร์

วิธีทา(ต่อ)
เลขมวล = จานวนโปรตอน + จานวนนิวตรอน
35 = 17 + จานวนนิวตรอน
จานวนนิวตรอน = 18
ดังนั้น จานวนอนุภาคมูลฐานของธาตุ Q คือ โปรตอนเท่ากับ 17 นิวตรอน
เท่ากับ 18 และอิเล็กตรอนเท่ากับ 17 ดังนั้น ธาตุ Q มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์
คือ
35
17Q คือธาตุ Cl
ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์
การศึกษาเกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานของธาตุแต่ละชนิด พบว่า
ส่วนมากมวลอะตอมของธาตุแต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน นั่นหมายความว่า
แต่ละอะตอมของธาตุมีจานวนนิวตรอนไม่เท่ากัน จึงทาให้อะตอมของ
ธาตุชนิดเดียวกันมีเลขมวลต่างกัน แต่มจี านวนโปรตอนหรือเลขอะตอม
เท่ากัน ซึ่งเรียกอะตอมของธาตุเหล่านั้นว่า ไอโซโทป (Isotope)
ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์

ไอโซโทปของธาตุส่วนใหญ่อยู่ในธรรมชาติ แต่บาง
ไอโซโทปอาจได้มาจากการสังเคราะห์ เช่น ไฮโดรเจนมี 3
ไอโซโทปและมีชื่อเฉพาะดังนี้

𝟏
𝟏𝐇 เรียกว่า โปรเตรียม ใช้สัญลักษณ์ H
𝟐
𝟏𝐇 เรียกว่า ดิวทีเรียม ใช้สัญลักษณ์ D
𝟑
𝟏𝐇 เรียกว่า ตริเตรียม ใช้สัญลักษณ์ T
ไอโซโทป ไอโซโทน และไอโซบาร์
นอกจากนี้ยังพบว่าถ้าธาตุต่างชนิดกันที่มีจานวน
นิวตรอนเท่ากัน แต่มีเลขมวลและเลขอะตอมไม่เท่ากัน จะเรียกอะตอม
ของธาตุคู่นั้นว่า ไอโซโทน (Isotones)
ธาตุ เลขมวล เลขอะตอม นิวตรอน
18
8 O 18 8 10
19
9F 19 9 10
ธาตุต่างชนิดกันที่มี เลขมวลเท่ากัน แต่มีเลขอะตอมและจานวน
นิวตรอนไม่เท่ากัน จะเรียกอะตอมของธาตุคู่นั้นว่า ไอโซบาร์ (Isobar)
ธาตุ เลขมวล เลขอะตอม นิวตรอน
30
15 P 30 15 15
30
14 Si 30 14 16
ไอโซอิเล็กทรอนิก( Isoelectronics) หมายถึง อะตอมหรือไอออนที่มี
จานวนอิเล็กตรอนเท่ากัน และมีการจัดเรียงอิเล็กตรอนเหมือนกัน

10Ne
3- - 2-
7N 9F 8O
Chemistry in real life

การใช้ไอโซโทปรังสีในการถนอม
อาหาร (การฉายรังสีอาหาร) เพื่อลด
ปริมาณจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค เพื่อ
ยืดอายุการเก็บรักษา เพื่อชะลอการ
สุกของผลไม้

You might also like