Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

ปฏิกริ ิยาเคมี

Learning contents
การเกิดปฏิกิรยิ าเคมี
ปฏิกิรยิ าเคมีรอบตัว
การจุดพลุเป็ นผลมาจากปฏิกิรยิ าเคมี โดยดินปื นผสมกับสารประกอบของธาตุตา่ ง ๆ ตอน
เผาไหม้จะทาให้เกิดสีตามชนิดของสารประกอบนัน้ นักเรียนคิดว่านอกจากปฏิกริ ิยาเคมีเกิดขึน้
ในการจุดพลุแล้วยังมีปฏิกริ ิยาเคมีรูปแบบอืน่ หรือไม่
ในนา้ ยาซักผ้ามีสารที่เป็ นองค์ประกอบ
สาคัญคือโซเดียมไฮโปรคลอไรต์ซง่ึ เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือเกิดปฏิกิรยิ าเคมี
กับคราปสกปรก ทาให้คราบสกปรกหลุด
ออก
นักเรียนคิดว่าการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
เกิดขึน้ ได้อย่างไร และรู้ได้อย่างไรว่า
เกิดปฏิกริ ิยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสาร
การเปลี่ยนแปลงของสารที่เกิดขึน้ จะทาให้สมบัติของสารเปลี่ยนแปลงไป อาจ
ทาให้มีสารใหม่เกิดขึน้ สามารถจาแนกประเภทของการเปลี่ยนแปลงได้ 2 ประเภท คือ
1) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2) การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ
การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ สมบัติทางกายภาพจะเปลี่ยนไป แต่
สมบัติทางเคมีและองค์ประกอบทางเคมีของสารจะยังคงเหมือนเดิม

การระเหิดของลูกเหม็น การละลายของไอติม ก้อนหินถูกค้อนทุบ


จนแตกเป็ นก้อนเล็ก ๆ
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
สมบัติทางเคมีและองค์ประกอบทางเคมีของสารเปลี่ยนไป คือ มีสารใหม่เกิดขึน้

การเกิดสนิมของตะปู การเกิดฟองแก๊ส
การติดไฟของกระดาษ
เมื่อหย่อนหินปูนลงในกรด
ตารางเปรียบเทียบการเปลี่ยนทางเคมีและทางกายภาพ
ตอบคาถามชิงคะแนน

นา้ อัญชัญผสมมะนาว
การจุดไม้ขีดไฟ
ต้มนา้ เดือด
การผสมสี
การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงของสารที่ภายหลังการเปลี่ยนแปลงจะมี
สารใหม่ เ กิ ด ขึ้น ซึ่ ง จะมีอ งค์ป ระกอบทางเคมี แ ละสมบั ติท างเคมี แ ตกต่ า งไปจาก
สารเดิม เช่น
• แก๊สไนโตรเจนทาปฏิกิริยากับแก๊สไฮโดรเจน ได้แก๊สแอมโมเนีย
• เหล็กทาปฏิกิริยาเคมีกับแก๊สออกซิเจนและนา้ ได้สนิมของเหล็ก
• เมือ่ แยกนา้ ด้วยไฟฟ้ า ได้แก๊สไฮโดรเจนและแก๊สออกซิเจน
•การสุ ก ของผลไม้ เป็ นการเปลี่ ย นแป้ งที่ ส ะสมในผลไม้ ใ ห้ เ ป็ นน้ า ตาล
จึงมีรสหวาน
ลักษณะของปฏิกิริยาเคมี

ปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction)


กระบวนการที่สารตัง้ ต้น (reactant) เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี แล้วส่งผลให้เกิดสารชนิด
ใหม่ขนึ ้ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ (product)
ปฏิกริ ิยาเคมีจะประกอบด้วยสาร 2 ชนิด

สารตัง้ ต้น ผลิตภัณฑ์

สารที่มีอยู่หรือสาร สารที่เกิดขึ้นหลังจาก
ที่นามาทาปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมีสิ้นสุดลง
สมการเคมี
สัญลักษณ์ท่ีใช้เขียนแทนปฏิกิรยิ าเคมี : จะทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึง่
สมการเคมีจะแสดงการเกิดปฏิกิรยิ าของสารได้
หลักการ/เขียนสมการเคมี/
ให้เขียนสารตัง้ ต้นไว้ทางด้านซ้ายมือของสมการ โดยมีลกู ศร เขียนไว้ระหว่างกลาง หัว
ลูกศรชี ้ ไปยังผลิตภัณฑ์ท่ี ได้จากปฏิกิรยิ า ซึง่ เขียนไว้ทางด้านขวามือของสมการ

สารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ให้เขียนแทนด้วยสูตรเคมี และควรมีสถานะของสารแต่ละชนิดที่แทนด้วยอักษรย่อเขียน


ไว้ดา้ นข้างด้วย ดังนี ้ สารที่อยูใ่ นสถานะของแข็ง (solid) แทนด้วย (s)
สารที่อยูใ่ นสถานะของเหลว (liquid) แทนด้วย (l)
สารที่อยูใ่ นสถานะแก๊ส (gas) แทนด้วย (g)
สารที่อยูใ่ นสถานะสารละลาย (aqueous) แทนด้วย (aq)

ดุลจานวนอะตอมของธาตุแต่ละธาตุของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์ให้มีจานวนเท่ากัน โดยการนาตัวเลขที่


เหมาะสมมาเติมด้านหน้าสูตรเคมีในสมการ และนับจานวนอะตอมของธาตุทงั้ 2 ด้านให้มีจานวนเท่ากัน
A และ B คือ สารตัง้ ต้น
C และ D คือ ผลิตภัณฑ์
ตัวอย่าง

ความหมาย สารตัง้ ต้น คือ แก๊สไฮโดรเจน (H ) และแก๊สออกซิเจน (O )


ผลิตภัณฑ์ คือ นา้ (H O) ถ้าใช้ H 2 โมเลกุล ทาปฏิกิริยาพอดีกับ O 1 โมเลกุล เกิด H O 2 โมเลกุล

อ่านว่า แก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกุล ทาปฏิกริ ิยาพอดีกับแก๊สออกซิเจน 1 โมเลกุล


เกิดเป็ นนา้ 2 โมเลกุล
สมการเคมีแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว คือ

นา้ 2 โมเลกุลถูกแยกสลายด้วยไฟฟ้ าเกิดเป็ นแก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกุลและแก๊สออกซิเจน 1 โมเลกุล


ตัวอย่าง
ปฏิกริ ิยาเคมี แสดงการเกิดนา้
การเกิดปฏิกริ ิยาเคมี อะตอมของสารตัง้ ต้นแยกตัวออกจากกัน แล้วจัดเรียงใหม่ โดย
อะตอมจะไม่สูญหายหรือเกิดขึน้ ใหม่ มีเพียงจัดเรียงตัวกันใหม่ ดังนั้นอะตอมแต่ละชนิดก่อนและ
หลังเกิดปฏิกริ ิยาเคมีจงึ มีจานวนเท่าเดิม

แก๊สไฮโดรเจน 2 โมเลกุล แก๊สออกซิเจน 1 โมเลกุล


(มี H = 4 อะตอม) (มี O = 2 อะตอม) นา้ 2 โมเลกุล
(มี H = 4 อะตอม
O = 2 อะตอม)
กิจกรรมปฏิกิริยาเคมี
เขียนจานวนโมเลกุลและจานวนอะตอมของสารประกอบ
เขียนสมการข้อความด้านล่าง

H Cl
O O
+ Ca C O Cl Ca Cl + H H + O C O
H Cl O
กรดไฮโดรคลอริก แคลเซียมคาร์บอเนต แคลเซียมคลอไรด์ นา้ คาร์บอนไดออกไซด์
การดุลสมการเคมี
การดุล
อะตอมสารตัง้ ต้น = อะตอมผลิตภัณฑ์

เติมเลขข้างหน้าของสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์

ดูอะตอมเดีย่ วเป็ นหลัก


ตัวอย่าง

C3H8(g) + O2(g) CO2 + H2O


กิจกรรมดุลสมการเคมี

1. CH4 + O2 CO2 + H2O

2. S8 + O3 SO2 + H2O
กิจกรรมมวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิรยิ าเคมีเป็ นอย่างไร

จุดประสงค์ เพื่อสังเกตและเปรียบเทียบมวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

บันทึกผลของกิจกรรม
มวลรวมของสารก่อน มวลรวมของสารก่อน
เกิดปฏิกริ ิยาเคมี (กรัม) เกิดปฏิกริ ิยาเคมี (กรัม)

https://www.youtube.com/watch?v=UFOBdXyDfZM
คาถามท้ายกิจกรรม
- เมื่อรินสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ลงในสารละลายแคลเซียมคาร์บอเนต
มีปฏิกิรยิ าเกิดขึน้ หรือไม่ ทราบได้อย่างไร
- มวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิรยิ าเคมีมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
- มวลรวมของสารก่อนและหลังเกิดปฏิกิรยิ าเคมีหาได้อย่างไร
- จากกิจกรรมสรุปได้วา่ อย่างไร
- เมื่อผลิตภัณฑ์ท่ีได้เป็ นแก๊ส จะมีวิธีการหามวลรวมอย่างไร
สรุปกฎทรงมวล (Law of conservation of mass)

มวลรวมของสารก่อนเกิดปฏิกิริยาเท่ากับมวลรวมของสาร
หลังเกิดปฏิกิริยา
กิจกรรมเสริมความเข้าใจ
การเผาแคลเซี ย มคาร์บ อเนตที่ อุณ ภูมิ สูง จะได้ข องแข็ ง สี ข าวและมี แ ก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์ เมื่ อเผาแคลเซียมคาร์บอเนตปริมาณ 10 กรัมจนหมด จะได้
ของแข็งสีขาว 5.6 กรัม ปฏิกิริยานีม้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึน้ กี่ กรัม ทราบได้
อย่างไร
พลังงานกับการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงของสารโดยทั่วไปจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบด้วยเสมอ
การศึกษาการถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิรยิ าเคมีตอ้ งกาหนดขอบเขตที่
ต้องการศึกษา
ระบบ
ส่วนที่อยู่ภายในขอบเขตศึกษา เช่นสารตัง้ ต้นและผลิตภัณฑ์
ในการเกิดปฏิกิรยิ า

ระบบ
สิง่ แวดล้อม
สิ่งแวดล้อม ส่วนที่อยู่นอกระบบเช่น ภาชนะ เทอร์มอมิเตอร์ อุปกรณ์ อื่น ๆ
อะไรคือระบบ………………….…………
อะไรคือสิ่งแวดล้อม………………………
ปฏิกริ ิยาดดู ความร้อน
ปฏิกริ ิยาคายความร้อน
ปฏิกริ ยิ าดูดความร้อน (Endothermic reaction)

ปฏิกริ ยิ าดูดความร้อน เป็ นปฏิกริ ยิ าทีด่ ูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่


คายออกมาเพือ่ สร้างพันธะ โดยในปฏิกริ ยิ าดูดความร้อนนี้สารตัง้ ต้นจะมี
พลังงานตา่ กว่าผลิตภัณฑ์ จึงทาให้สง่ิ แวดล ้อมเย็นลง อุณหภูมลิ ดลง เมือ่ เอา
มือสัมผัสภาชนะจะรูส้ กึ เย็น
ปฏิกริ ิยาคายความร้อน ( Exothermic reaction)
ปฏิกริ ยิ าคายความร้อน เป็ นปฏิกริ ยิ าทีด่ ูดพลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าทีค่ าย
ออกมาเพือ่ สร้างพันธะ โดยในปฏิกริ ยิ าคายความร้อนนี้สารตัง้ ต้นจะมีพลังงานสูงกว่า
ผลิตภัณฑ์ จึงให้พลังงานความร้อนออกมาสู่สง่ิ แวดล้อม ทาให้อณ ุ หภูมสิ ูงขึ้น เมือ่ เอา
มือสัมผัสภาชนะจะรูส้ กึ ร้อน
การถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

ถ่ายโอนความร้อนจากสิ่งแวดล้อมไปยังระบบ หรือปฏิกิรยิ าดูดความร้อน


สารตัง้ ต้น + ความร้อน ผลิตภัณฑ์

ถ่ายโอนความร้อนจากระบบไปยังสิ่งแวดล้อม หรือปฏิกิรยิ าคายความร้อน

สารตัง้ ต้น ผลิตภัณฑ์ + ความร้อน


กิจกรรมถ่ายโอนความร้อนของปฏิกริ ิยาเคมี
เมื่อใช้มือสัมผัสภาชนะที่มีแอมโมเนียมคลอไรด์ผสมกับปูนขาวจะรูส้ กึ
เย็น นักเรียนคิดว่าปฏิกิรยิ าที่เกิดขึน้ เป็ นปฏิกิรยิ าดูดหรือคายความร้อน
เพราะเหตุใด

นักเรียนคิดว่าการถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิรยิ าเคมีสามารถนามาใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจาได้อย่างไรบ้าง ยกตัวอย่าง
กิจกรรมถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

ให้นกั เรียนระบุวา่ ปฏิกิรยิ าข้างต้นเป็ นปฏิกิรยิ าดูดหรือคายความร้อน

1. สารตัง้ ต้น 2 ชนิด มีอณ ุ หภูมิ 27องศา เท่ากัน เมื่อวัดอุณหภูมิภายหลังได้ 13 องศา


.....................................................................................
2. เมื่อใส่ผงซักฟอกในนา้ แล้วพบว่านา้ ร้อนขึน้
.....................................................................................
3. ผสมสารเคมี 2 ชนิดในบีกเกอร์ เมื่อเวลาผ่านไป สังเกตว่า มีหยดนา้ เกาะรอบ ๆ บีกเกอร์
.....................................................................................
กิจกรรมถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

4. ใส่โลหะโซเดียมลงในนา้ จะเกิดการระเบิดและมีแก๊สพุง่ ออกมา


…………………………………………………………………..
5. การทาปฏิกิรยิ าระหว่าสาร A และสาร B เมื่อสิน้ สุด ระบบมีพลังงานลดลง
………………………………………………………………....
6. พลังงานรวมของสารตัง้ ต้นมี 500 จูล พลังงานของสารผลิตภัณฑ์มีคา่ 300 จูล
..........................................................................................
กิจกรรมถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

7. CH4 (g) + 1,600 kJ C (g) + 4H (g)


……………………………………………………..

8. PCl3 (g) + Cl (g) PCl5 (g) + 413 kJ


............................................................................
กิจกรรมถ่ายโอนความร้อนของปฏิกิริยาเคมี

9. NaCl (s) Na+ (g) + Cl- (g) H = +776 J


……………………………………………………………………………………………..

10. 2CO (g) + O2 (g) 2CO2 (g) H = -558J


…………………………………………………………………………………………
รูป ก รูป ข
………………….. ...........................
ปฏิกริ ิยาเคมีในชีวิตประจาวัน
• ปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบคาร์บอเนตกับกรด
จะให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ ปฏิกิรยิ าที่พบในชีวิตประจาวัน คือ ปฏิกิรยิ าระหว่างหินปูนหรือ
แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3 ) กับกรดกามะถันหรือกรดซัลฟิ วริก (H2 SO4 ) ที่มีอยูใ่ นฝนกรด เกิด
เป็ นแคลเซียมซัลเฟต (CaSO4 ) และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2 )
ดังสมการ
H2 SO4 CaCO3 CaSO4 CO2 H2 O

ปฏิกริ ิยานีเ้ ป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้รูปแกะสลัก รู ปปั้ น ตึกและสิ่งก่อสร้างทีท่ าด้วยหินปูน หรือหินอ่อนเกิดการสึกกร่อน


• ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
จะได้ผลิตภัณฑ์เป็ นเกลือกับนา้ ซึง่ ปฏิกิรยิ าในลักษณะนีเ้ รียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิกิรยิ าสะเทิน (neutralization reaction)
โดยหลังจากเกิดปฏิกิรยิ าแล้วจะทาให้สารละลายมีความเป็ นกรดและเบสลดลง จึงสามารถนามาใช้ในการปรับความ
เป็ นกรด-เบสของสารได้

H กรด CI Na เกลือ CI

Na OH H น ้า
OH
เบส
สลับที่กัน
• ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับกรด

จะได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแก๊สไฮโดรเจน ตัวอย่างเช่น ปฏิกิรยิ าระหว่างโลหะสังกะสี (Zn) กับกรดไฮโดร


คลอริก (HCI) จะได้ ซิงค์คลอไรด์ (ZnCI2 ) และแก๊สไฮโดรเจน (H2 ) เป็ นผลิตภัณฑ์

ดังสมการ
Zn 2HCI ZnCI2 H2

• กรดไฮโดรคลอริกจะทาให้โลหะผุกร่อน ดังนัน้ จึงควรระมัดระวังการใช้อปุ กรณ์โลหะกับสารละลายที่


อาจจะมีฤทธิ์เป็ นกรด เพราะจะทาให้อปุ กรณ์โลหะเหล่านัน้ เสียหายได้
• นอกจากนีเ้ ครื่องปรุงรสบางชนิด เช่น มะนาว นา้ ส้มสายชู เป็ นสารที่มีฤทธิ์เป็ นกรด จึงควรระวังไม่
บรรจุเครื่องปรุงเหล่านีใ้ นภาชนะที่เป็ นโลหะหรือกระเบือ้ ง เนื่องจากกรดจากเครื่องปรุงเหล่านีอ้ าจจะ
กัดกร่อนภาชนะทาให้เกิดสารปนเปื ้อนในเครื่องปรุงได้
• ปฏิกริ ิยาระหว่างโลหะกับนา้
จะได้ผลิตภัณฑ์เป็ นสารละลายเบสและแก๊สไฮโดรเจน โดยโลหะบางชนิดเมื่อใช้ในปริมาณมากจะทาปฏิกิรยิ ากับ
นา้ อย่างรุนแรง เช่น โลหะโซเดียม ซึง่ เมื่อโลหะโซเดียมปริมาณมากๆ ทาปฏิกิรยิ ากับนา้ จะเกิดปฏิกิรยิ าอย่าง
รุนแรงจนอาจเกิด การระเบิดได้ ดังนัน้ การเก็บโลหะโซเดียมจะเก็บไว้ในนา้ มัน เพื่อป้องกันการทาปฏิกิรยิ า
ระหว่างโลหะโซเดียมกับความชืน้ ในอากาศ
H
O O H
H
Ca Ca
H H
H
O O H
H
• ปฏิกริ ิยาระหว่างโลหะกับออกซิเจน
หรือการเกิดสนิม เช่น การที่วสั ดุท่มี ีเหล็กเป็ นส่วนผสมสัมผัสกับความชืน้ ในอากาศ ทาให้เกิดสนิมเหล็กและ
ผุกร่อน โดยการเกิดสนิมเหล็กเป็ นปฏิกิรยิ าเคมีท่เี กิดขึน้ ได้ชา้ มาก อาจใช้เวลาในการเกิดเป็ นเดือนหรือเป็ นปี
การเกิดสนิมของโลหะบางชนิด เช่น เหล็ก จะมีผลทาให้เกิดการสึกกร่อน ผุพงั ได้ แต่ในโลหะบางชนิด เช่น ทองแดง
สังกะสี เมื่อเกิดสนิมแล้วจะไม่ทาให้เกิดการผุกร่อน โดยสนิมจะเคลือบอยู่บริเวณผิวหน้าของโลหะเท่านัน้

ตัวอย่างสมการการเกิดสนิมเหล็ก

4Fe 3O2 2Fe2 O3

เหล็ก แก๊สออกซิเจน สนิม


• ปฏิกริ ิยาการเผาไหม้
เป็ นปฏิกิรยิ าระหว่างเชือ้ เพลิงที่มีธาตุคาร์บอน (C) เป็ นองค์ประกอบกับแก๊สออกซิเจน
ซึง่ ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้
ปฏิกริ ิยาการเผาไหม้แบบสมบูรณ์ เกิดขึน้ เมื่อการเผาไหม้มีปริมาณออกซิเจน (O2 ) มากเพียงพอ

เชือ้ เพลิง O2 CO2 H2 O พลังงาน


แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ นา้ (ความร้อน,แสงสว่าง)

อาจจะเกิดขึน้ เมื่อการเผาไหม้มีปริมาณออกซิเจนที่เข้าทาปฏิกิรยิ า ไม่เพียงพอ


ปฏิกริ ิยาการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์ โดยผลที่ได้จะต่างจากการเผาไหม้สมบูรณ์ คือ จะเกิดเขม่า และยังเกิดแก๊ส
คาร์บอนมอนอกไซด์(CO)

เชือ้ เพลิง O2 CO H2 O พลังงาน


แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนมอนออกไซด์ นา้ (ความร้อน,แสงสว่าง)
กิจกรรมปฏิกิริยาในชีวิตประจาวัน

CH4 HCl NaOH CO H 2O CO2 O2

C3H8 Zn Fe ZnCl2 H2 SO2

CaCO3 Fe2O3•H2O NaCl Na2ZnO2 CaCl2

C6H12O6 SO2 H2SO4


1. ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้แบบสมบูรณ์
……………………………………………………………………………………………….

2. ปฏิกิรยิ าการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์
……………………………………………………………………………………………….

3. ปฏิกิรยิ าการเกิดสนิมของเหล็ก
……………………………………………………………………………………………….

4. ปฏิกิรยิ ากรดกับเบสหรือปฏิกิรยิ าสะเทิน


……………………………………………………………………………………………….
5. ปฏิกิรยิ ากรดกับโลหะ
……………………………………………………………………………………………….

6. ปฏิกิรยิ าเบสกับโลหะ
……………………………………………………………………………………………….

7. ปฏิกิรยิ ากรดกับสารประกอบคาร์บอเนต
……………………………………………………………………………………………….

8. การเกิดฝนกรด
……………………………………………………………………………………………….

9. การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช
……………………………………………………………………………………………….
ผลกระทบที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งแวดล้อม
ฝนกรด (acid rain)
เกิดจากแก๊สบางชนิดในบรรยากาศ เช่น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจนออกไซด์ เป็ นต้น รวมกับ
ละอองนา้ ในอากาศ ซึง่ จะทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีสมบัติเป็ นกรด โดยถ้ากรดที่เกิดขึน้ มีปริมาณมาก เมื่อ
ฝนตกกรดก็จะปนลงมากับนา้ ฝน
ฝนกรดเป็ นนา้ ฝนทีม่ คี ่า pH ต่ากว่า 5.6
การควบคุมการเกิดฝนกรด • เลือกใช้เชือ้ เพลิงที่มีสารประกอบของซัลเฟอร์ปนเปื ้อนน้อย
• เลือกใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติแทนเชือ้ เพลิงฟอสซิล
• ติดตัง้ อุปกรณ์เพื่อกาจัดมลพิษก่อนระบายออกสู่บรรยากาศ
ปรากฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect)
▪ เป็ นปรากฏการณ์ท่เี กิดจากแก๊สต่างๆ ลอยขึน้ ไปสะสมอยู่บนชัน้ บรรยากาศเหนือพืน้ ผิวโลก เมื่อดวงอาทิตย์สอ่ งแสง
มายังโลก พืน้ ผิวโลกจะดูดซับความร้อนส่วนหนึ่ง อีกส่วนหนึ่งซึง่ เป็ นรังสีคลื่นสัน้ จะสะท้อนกลับขึน้ ไปได้เพียงเล็กน้อย
เนื่องจากถูกแก๊ส เรือนกระจกกักเก็บเอาไว้ ส่งผลให้พนื ้ ผิวโลกมีอณ ุ หภูมิสงู ขึน้ ซึง่ จะเกิดผลกระทบไปทั่วโลก

แก๊สเรือนกระจกทีส่ าคัญ การลดปรากฏการณ์เรือนกระจก


• ลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก รวมทัง้ ลดการใช้สินค้าที่มีกระบวนการผลิตที่
• แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ทาให้เกิดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกมากขึน้
• แก๊สมีเทน
• ลดการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล
• แก๊สไนตรัสออกไซด์ • ปลูกต้นไม้เพื่อช่วยลดอุณหภูมิโลก และยังช่วยดูดซับแก๊คาร์บอนไดออกไซด์
กิจกรรมท้ายบท (2 คะแนน)
คาถามท้ายกิจกรรม
ปั ญหาในสถานการณ์นีค้ ืออะไร และเกี่ยวข้องกับปฏิกิรยิ าเคมีใดบ้าง
ความรูเ้ กี่ยวกับปฏิกิรยิ าเคมีสามารถนาไปแก้ปัญหาในสถานการณ์นีไ้ ด้อย่างไร
วิธีการแก้ปัญหาที่ออกแบบไว้มีขอ้ ดีและข้อเสียอย่างไร
สม็อก (smog)
เกิดจากการใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิลในปริมาณมาก โดยเฉพาะในเขตอุตสาหกรรมและเมืองใหญ่ๆ ที่มี
การจราจรหนาแน่น รวมทัง้ ควันไฟ ที่เกิดจากไฟป่ าซึง่ จะมีแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์
คาร์บอนไดออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ สารไฮโดรคาร์บอนตลอดจนฝุ่ นละอองขนาดเล็กๆ ปะปนอยู่ในปริมาณ
มาก ซึง่ ในวันที่มีความกดอากาศสูง สารเหล่านีจ้ ะลอยปะปนในอากาศที่ความสูง ไม่มากนัก
สัญลักษณ์แสดงประเภทของอันตรายจากสารเคมี
วัตถุมีพิษ ห้ามรับประทาน การสูดดมหรือดูดซึมผ่านผิวหนังแม้ในปริมาณเพียงเล็กน้อยจะก่อให้เกิดอันตราย ต่อ
สุขภาพหรืออาจถึงแก่ชีวิตได้
สารกัดกร่อน เช่น กรด เบส เป็ นต้น สารเหล่านีส้ ามารถทาลายเนือ้ เยื่อของสิ่งมีชีวิตและกัดกร่อนอุปกรณ์ การทดลองได้

อันตรายจากกัมมันตรังสี ควรหลีกเลี่ยง ซึง่ หากได้รบั กัมมันตรังสีในปริมาณมากและเฉียบพลันจะทาให้เสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมง


แต่หากได้รบั ในปริมาณน้อยอย่างต่อเนื่องจะทาให้เกิดโรคมะเร็งได้

สารที่ทาปฏิกิรยิ าแล้วให้ความร้อนอย่างรวดเร็ว หรือเมื่อได้รบั ความร้อนในสภาวะจากัดจะเกิดการระเบิด หรือเผาไหม้ได้อย่าง


รวดเร็ว

วัตถุไวไฟ ของเหลว และแก๊สที่ไวไฟในอากาศที่อณ


ุ หภูมิและความดันปกติ

You might also like